SlideShare a Scribd company logo
การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเกิดเมล็ด
แนะนาครูผู้สอน
ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครู ค.ศ. 2 สาขาวิชาชีววิทยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
แนะนาสมาชิกกลุ่ม
น.ส. ธันยพร เกียรติสิริไพโรจน์ เลขที่ 10
น.ส. นวินดา ชาคริตฐากูร เลขที่ 12
น.ส.ปาลินี พงศ์รวีวรรณ เลขที่ 14
น.ส.อาทิตยา บารุงจิต เลขที่ 24
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง334
คานา
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 4 [ว30244] ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ห้อง 334 ภาคเรียนที่ 2 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โดยมีจุดประสงค์เพื่อการศึกษา
เรื่องการสืบพันธุ์ของพืชดอก และเพื่อนาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างและการเกิด
เมล็ดของพืชดอก ผู้จัดทาหวังว่ารายงานและโปสเตอร์ที่ได้จัดทาขึ้นนี้จะเป็นประโยชน์
ต่อผู้ที่ได้นามาศึกษา หากมีข้อผิดพลาดประการใดผู้จัดทาต้องขออภัย มา ณ ที่นี้ด้วย
คณะผู้จัดทา
กลุ่มที่ 5
สารบัญ
หัวข้อ หน้า
โครงสร้างเมล็ด 6-8
ลักษณะการเกิดเมล็ด 9-17
ภาพสรุปเนื้อหา 18
บรรณานุกรม 19
กิตติกรรมประกาศ 20
ภาคผนวก 21
โครงสร้างเมล็ด
เมล็ดประกอบด้วยส่วนสาคัญ คือ เปลือกหุ้มเมล็ด
ต้นอ่อน และอาหารสาหรับเลี้ยงต้นอ่อน ส่วนที่
คล้ายต้นและใบเล็ก ๆ อยู่ภายในเมล็ด คือ ต้นอ่อน
และ ส่วนที่มีสีขาวหนา แยกออกได้เป็น 2 ซีก คือ
อาหารสาหรับเลี้ยงต้นอ่อน
1. Seed coat (เปลือกหุ้มเมล็ด) เกิดมาจากเยื่อที่หุ้ม
ไข่ ทาหน้าที่ป้องกันอันตรายให้กับเอมบริโอ ป้องกัน
การสูญเสียน้า เปลือกหุ้มเมล็ดมี 2 ชั้น เปลือก
ชั้นนอกหนา เหนียว และแข็ง เรียกว่า เทสตา
(testa) ส่วนเปลือกชั้นในมักเป็นเยื่อบาง ๆ เรียกว่า
เทกเมน (tegmen)
2. Endosperm (เอมโดสเปิร์ม)
เป็นโครงสร้างที่ทาหน้าที่ให้อาหารพวกแป้ง ไขมัน โปรตีน และน้าตาล แก่ เอมบริโอ(ต้นอ่อน) มี
โครงสร้างประกอบด้วยเซลล์สร้างอาหารเรียงกันเป็นชั้นติดต่อกัน โครงสร้างนี้เกิดขึ้นจากการ
ปฏิสนธิซ้อน (Double fertilization) ในขั้นที่สอง คือ สเปิร์มของพืชเข้าไปผสมกับโพลาร์นิวคลีไอ
(Polar nuclei) ซึ่งมีโครโมโซม 2n เกิดเป็นเซลล์ที่มีโครโมโซม 3n ที่แบ่งตัวอย่างต่อเนื่องเป็นชั้นๆ
แตกต่างกันไปในพืชแต่ละชนิด
โครงสร้างเมล็ด
3. Embryo เจริญจากไซโกต มี
ส่วนประกอบที่สาคัญ คือ
- Cotyledon (ใบเลี้ยง) มีหน้าที่เก็บสะสม
อาหารให้แก่เอมบริโอ และป้องกันการบุบ
สลายของเอมบริโอขณะที่มีการงอก
- Caulicle (ลาต้นอ่อน) ประกอบ 2 ส่วนคือ
ลาต้นอ่อนเหนือใบเลี้ยง เรียกว่า เอปิคอติล
(epicotyl) มีส่วนปลายสุดเรียกว่า ยอด
อ่อน ซึ่งเจริญเป็นลาต้น กิ่ง ก้าน ใบ และ
ดอก ส่วนลาต้นอ่อนใต้ใบเลี้ยง เรียกว่า ไฮ
โปคอติล (hypocotyl) มีส่วนปลายสุด
เรียกว่า รากอ่อน จะเจริญเป็นรากแก้ว
โครงสร้างเมล็ด
แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ
1. การงอกที่ชูใบเลี้ยงขึ้นมาเหนือดิน
(Epigeal germination) รากอ่อนงอกโผล่
พ้นเมล็ดออกทางรู ไมโครโพล์(micropyle)
เจริญสู่พื้นดินจากนั้น ไฮโปคอติล
(hypocotyl) จะงอกและเจริญยึดยาวตาม
อย่างรวดเร็ว ดึงส่วนของใบเลี้ยง(cotyldon)
กับ เอปิคอติล(epicotyl) ขึ้นมาเหนือดิน เช่น
การงอกของพืชในเลี้ยงคู่ต่าง ๆ
ลักษณะการงอกของเมล็ด
2. การงอกที่ฝังใบเลี้ยงไว้ใต้ดิน
(Hypogeal germination) พบใน พืชใบ
เลี้ยงเดี่ยว พืชพวกนี้มีไฮโปคอติล
(hypocotyl) สั้น เจริญช้า ส่วนเอปิคอติล
(epicotyl) และยอดอ่อน (plumule)
เจริญยืดยาวได้อย่างรวดเร็ว เช่น เมล็ด
ข้าว ข้าวโพด หญ้า ฯลฯ การพักตัวของ
เมล็ด (Dormancy) หมายถึง สภาพที่
เอมบริโอในเมล็ดสามารถคงสภาพและมี
ชีวิตอยู่ได้โดยไม่เกิดการงอก
ลักษณะการงอกของเมล็ด
การเกิดเมล็ด
ภายหลังการปฏิสนธิของพืชมีดอก ซึ่งเกิดขึ้นภายในรังไข่ ทาให้เกิดไซ
โกตและเอนโดสเปิร์ม ทั้งไซโกตและเอนโดสเปิร์มจะเจริญเติบโตอยู่ภายใน
เมล็ด โดยที่ไซโกตจะมีการแบ่งเซลล์เพิ่มจานวนเซลล์เจริญพัฒนาเป็น
เอ็มบริโอ หลังจากนั้นเอ็มบริโอก็จะมีการเปลี่ยนแปลงทาให้เกิดการพัฒนา
เป็นอวัยวะต่างๆ ได้แก่ ราก ลาต้น กิ่ง ก้าน และใบ
การพัฒนาของ Embryo มีทั้งหมด 6ระยะ คือ
1.zygote stage : มี 1 cell เริ่มต้น 2.Proembryo stage เป็นกลุ่มcell ก่อนพัฒนาเป็น Embryo(tissue)
3.Globular stage : Embryo มีลักษณะเป็นก้อนกลม
หลังจากการปฏิสนธิของพืชดอก ไซโกตมีการแบ่งเซลล์ และเอ็นโดสเปิร์มเจริญต่อ Embryo
มีการเปลี่ยนแปลงไปดังนี้
4.Heart stage : Embryoมีลักษณะเป็นรูป
หัวใจ
5.Torpedo stage embryoเห็นโครงสร้าง
ยอด /ราก/ใบเลี้ยง ชัดเจน
6. Mature embryo stage
Embryo จะเจริญกลายเป็น
Cotyledon-ใบเลี้ยง
Caulicle-ลาต้นอ่อน
Radicle-รากแรกเกิด
การพัฒนาของ Embryo
การจาแนกประเภทของเมล็ดโดยอาศัย Endosperm แบ่งได้ 2 ประเภท
1. Exalbuminous seed เป็นเมล็ดที่เปลือกเมล็ดทั้งสองชั้นรวมกันไม่สามารถแยก
เป็นสองชั้นได้ ด้านหนึ่งของเปลือกเมล็ดเว้าเข้า มีรอยแผลเป็นเล็ก ๆ ติดอยู่
รอยนี้เป็นบริเวณที่เกิดจากก้านของออวุล (funiculus) ซึ่งเชื่อมต่อระหว่างรังไข่
กับออวุลที่หลุดออกไป เรียกรอยนี้ว่า ขั้วเมล็ด (hilum) ใกล้ ๆ กับขั้วเมล็ดมีรู
เล็ก ๆ ที่เรียกว่า ไมโครไพล์ (micropyle) ซึ่งรูไมโครไพล์นี้เป็นทางให้น้าผ่านเข้า
ไปภายในเมล็ด และเป็นช่องให้รากแรกเกิด (radicle) งอกออกมาจากเมล็ดและ
เจริญเป็นรากของพืชต่อไป ด้านตรงข้ามกับด้านนี้มีขั้วเมล็ด (hilum) อยู่จะมี
ลักษณะเป็นสันซึ่งเกิดจากก้านออวุล (funiculus) ทาบไปตามออวุล ก่อนที่
ออวุลจะเจริญเป็นเมล็ด เรียกสันนี้ว่าสันขั้ว (raphe) เมื่อลอกเปลือกเมล็ดออก
จะพบใบเลี้ยงขนาดใหญ่สองใบประกบยอดแรกเกิด (pumule) ไว้ ใต้ตาแหน่ง
ใบเลี้ยงพบต้นอ่อนใต้ใบเลี้ยง (hypotyl) และรากแรกเกิด (radiele) แต่ไม่พบ
เอ็นโดสเปิร์ม (endosperm) เมล็ดพืชชนิดนี้ได้แก่ เมล็ดถั่วชนิดต่าง ๆ มะม่วง
ทานตะวัน เมล็ดมะขาม เป็นต้น
เมล็ดมะขาม
เมล็ดถั่วเขียว
2. Albuminous seed เป็นเมล็ดที่เปลือกเมล็ดแยกเป็นเปลือกเมล็ด
ชั้นนอก (testa) และเปลือกเมล็ดชั้นใน (tegment) ได้ชัดเจน ด้านหนึ่งของ
เมล็ดมีสันเมล็ด (raphe) ตลอดแนว ที่ปลายสันเมล็ด (raphe) ด้านล่างของ
เมล็ดมีลักษณะเป็นเนื้อเยื่อ ฟ่าม ๆ อวบและแข็ง เรียก (caruncle) ปิดอยู่ มี
หน้าที่อุ้มน้าเพื่อช่วยให้เมล็ดงอกได้ ด้านนี้จะพบขั้วเมล็ด (hilum) และรูไม
โครไพล์ (micropyle) เมื่อลอกเปลือกทั้งสองชั้นออกจะพบเอนโดสเปิร์ม มี
ลักษณะหนาใหญ่ สีขาว มีสองซีกประกบกันอยู่ภายในมีใบเลี้ยงอยู่ 2 ใบ มี
ลักษณะแบนและบางมาก เอมบริโอส่วนที่เหลือจะมีลักษณะเป็นก้อนรูปไข่
โดยเหนือตาแหน่งใบเลี้ยงเป็นส่วนของยอดแรกเกิด (plumule) และต้นเหนือ
ใบเลี้ยง(epicotyl) อยู่ ส่วนตาแหน่งที่อยู่ใต้ใบเลี้ยง คือ ต้นใต้ใบเลี้ยง
(hypocotyl) และ รากแรกเกิด (radicle) ตัวอย่างเมล็ดชนิดนี้ ได้แก่ เมล็ด
ละหุ่ง มะค่าแต้ เมล็ดน้อยหน่า เป็นต้น
การจาแนกประเภทของเมล็ดโดยอาศัย Endosperm แบ่งได้ 2 ประเภท
เมล็ดน้อยหน่า เมล็ดละหุ่ง
เมล็ดมะค่าแต้
รูปภาพสรุปโครงสร้างและการเกิดเมล็ดในพืชดอก
บรรณานุกรม
- https://sites.google.com/site/khorngsrangphuch1/meld
- http://seedgenenetwork.net/arabidopsis
- https://www.macmillanhighered.com/BrainHoney/Resource/6716/digital_first
_content/trunk/test/hillis2e/hillis2e_ch24_2.html
- https://www.shutterstock.com/search/plant+embryo
- https://km.nssc.ac.th/external_newsblog.php?links=280
กิตติกรรมประกาศ
รายงานเรื่อง โครงสร้างและการเกิดเมล็ดนี้สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความ
กรุณาของ อาจาย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์ อาจารย์ผู้สอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 30244)
ที่ได้ให้คาแนะนา และความรู้ ตลอดจนวิธีแก้ไขปัญหาต่างๆ ตลอดระยะเวลาที่
ได้จัดทารายงานขึ้นมา ผู้ศึกษาจึงขอกราบขอบคุณผู้ปกครอง คุณครูและ
เพื่อนๆ คณะผู้จัดทาที่ช่วยกัน หาข้อมูล ปฏิบัติการทดลอง และจัดทารายงาน
นี้ได้อย่างเสร็จสมบูรณ์ด้วยดี
คณะผู้จัดทา
ภาคผนวก
ภาพถ่ายระหว่างการประชุมงานกลุ่ม เพื่อจัดทารายงาน
ภาคผนวก
ภาพระหว่างค้นคว้าข้อมูล แะเรียบเรียงลงรายงาน เพื่อให้งานเสร็จสมบูรณ์ เรียบร้อย
Thank You

More Related Content

What's hot

พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๙
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๙พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๙
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๙Rose Banioki
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑Rose Banioki
 
Ps cs6 ch06-layer
Ps cs6 ch06-layerPs cs6 ch06-layer
Ps cs6 ch06-layer
Chompooh Cyp
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
Jitna Buddeepak
 
งานนำเสนอส่วนประกอบของดอก กลุ่มที่8 ห้อง332 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
งานนำเสนอส่วนประกอบของดอก กลุ่มที่8 ห้อง332 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษางานนำเสนอส่วนประกอบของดอก กลุ่มที่8 ห้อง332 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
งานนำเสนอส่วนประกอบของดอก กลุ่มที่8 ห้อง332 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
MatthanapornThongdan
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔Rose Banioki
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘Rose Banioki
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๗
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๗พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๗
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๗Rose Banioki
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๔
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๔พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๔
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๔Rose Banioki
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๒
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๒พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๒
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๒Rose Banioki
 
Global warming
Global warmingGlobal warming
Global warming
Boonlert Aroonpiboon
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๘
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๘พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๘
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๘Rose Banioki
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๙
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๙พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๙
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๙Rose Banioki
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๔
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๔พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๔
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๔Rose Banioki
 

What's hot (14)

พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๙
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๙พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๙
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๙
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
 
Ps cs6 ch06-layer
Ps cs6 ch06-layerPs cs6 ch06-layer
Ps cs6 ch06-layer
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอส่วนประกอบของดอก กลุ่มที่8 ห้อง332 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
งานนำเสนอส่วนประกอบของดอก กลุ่มที่8 ห้อง332 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษางานนำเสนอส่วนประกอบของดอก กลุ่มที่8 ห้อง332 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
งานนำเสนอส่วนประกอบของดอก กลุ่มที่8 ห้อง332 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๗
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๗พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๗
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๗
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๔
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๔พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๔
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๔
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๒
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๒พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๒
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๒
 
Global warming
Global warmingGlobal warming
Global warming
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๘
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๘พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๘
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๘
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๙
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๙พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๙
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๙
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๔
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๔พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๔
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๔
 

More from ThanyapornK1

Autonomic movement 9-155
Autonomic movement 9-155Autonomic movement 9-155
Autonomic movement 9-155
ThanyapornK1
 
Autonomic movement 9-155-
Autonomic movement 9-155-Autonomic movement 9-155-
Autonomic movement 9-155-
ThanyapornK1
 
Poster9-155
Poster9-155Poster9-155
Poster9-155
ThanyapornK1
 
Poster 9-155
Poster 9-155Poster 9-155
Poster 9-155
ThanyapornK1
 
Structure and Development of plant seed-group5/334
Structure and Development of plant seed-group5/334Structure and Development of plant seed-group5/334
Structure and Development of plant seed-group5/334
ThanyapornK1
 
Structure and development of plant seed-group 5/334
Structure and development of plant seed-group 5/334Structure and development of plant seed-group 5/334
Structure and development of plant seed-group 5/334
ThanyapornK1
 
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ThanyapornK1
 
Ixora group 5/334
Ixora group 5/334Ixora group 5/334
Ixora group 5/334
ThanyapornK1
 

More from ThanyapornK1 (8)

Autonomic movement 9-155
Autonomic movement 9-155Autonomic movement 9-155
Autonomic movement 9-155
 
Autonomic movement 9-155-
Autonomic movement 9-155-Autonomic movement 9-155-
Autonomic movement 9-155-
 
Poster9-155
Poster9-155Poster9-155
Poster9-155
 
Poster 9-155
Poster 9-155Poster 9-155
Poster 9-155
 
Structure and Development of plant seed-group5/334
Structure and Development of plant seed-group5/334Structure and Development of plant seed-group5/334
Structure and Development of plant seed-group5/334
 
Structure and development of plant seed-group 5/334
Structure and development of plant seed-group 5/334Structure and development of plant seed-group 5/334
Structure and development of plant seed-group 5/334
 
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
 
Ixora group 5/334
Ixora group 5/334Ixora group 5/334
Ixora group 5/334
 

Structure and development of plant seed-group5/334

  • 2. แนะนาครูผู้สอน ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู ค.ศ. 2 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
  • 3. แนะนาสมาชิกกลุ่ม น.ส. ธันยพร เกียรติสิริไพโรจน์ เลขที่ 10 น.ส. นวินดา ชาคริตฐากูร เลขที่ 12 น.ส.ปาลินี พงศ์รวีวรรณ เลขที่ 14 น.ส.อาทิตยา บารุงจิต เลขที่ 24 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง334
  • 4. คานา รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 4 [ว30244] ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 334 ภาคเรียนที่ 2 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โดยมีจุดประสงค์เพื่อการศึกษา เรื่องการสืบพันธุ์ของพืชดอก และเพื่อนาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างและการเกิด เมล็ดของพืชดอก ผู้จัดทาหวังว่ารายงานและโปสเตอร์ที่ได้จัดทาขึ้นนี้จะเป็นประโยชน์ ต่อผู้ที่ได้นามาศึกษา หากมีข้อผิดพลาดประการใดผู้จัดทาต้องขออภัย มา ณ ที่นี้ด้วย คณะผู้จัดทา กลุ่มที่ 5
  • 5. สารบัญ หัวข้อ หน้า โครงสร้างเมล็ด 6-8 ลักษณะการเกิดเมล็ด 9-17 ภาพสรุปเนื้อหา 18 บรรณานุกรม 19 กิตติกรรมประกาศ 20 ภาคผนวก 21
  • 6. โครงสร้างเมล็ด เมล็ดประกอบด้วยส่วนสาคัญ คือ เปลือกหุ้มเมล็ด ต้นอ่อน และอาหารสาหรับเลี้ยงต้นอ่อน ส่วนที่ คล้ายต้นและใบเล็ก ๆ อยู่ภายในเมล็ด คือ ต้นอ่อน และ ส่วนที่มีสีขาวหนา แยกออกได้เป็น 2 ซีก คือ อาหารสาหรับเลี้ยงต้นอ่อน 1. Seed coat (เปลือกหุ้มเมล็ด) เกิดมาจากเยื่อที่หุ้ม ไข่ ทาหน้าที่ป้องกันอันตรายให้กับเอมบริโอ ป้องกัน การสูญเสียน้า เปลือกหุ้มเมล็ดมี 2 ชั้น เปลือก ชั้นนอกหนา เหนียว และแข็ง เรียกว่า เทสตา (testa) ส่วนเปลือกชั้นในมักเป็นเยื่อบาง ๆ เรียกว่า เทกเมน (tegmen)
  • 7. 2. Endosperm (เอมโดสเปิร์ม) เป็นโครงสร้างที่ทาหน้าที่ให้อาหารพวกแป้ง ไขมัน โปรตีน และน้าตาล แก่ เอมบริโอ(ต้นอ่อน) มี โครงสร้างประกอบด้วยเซลล์สร้างอาหารเรียงกันเป็นชั้นติดต่อกัน โครงสร้างนี้เกิดขึ้นจากการ ปฏิสนธิซ้อน (Double fertilization) ในขั้นที่สอง คือ สเปิร์มของพืชเข้าไปผสมกับโพลาร์นิวคลีไอ (Polar nuclei) ซึ่งมีโครโมโซม 2n เกิดเป็นเซลล์ที่มีโครโมโซม 3n ที่แบ่งตัวอย่างต่อเนื่องเป็นชั้นๆ แตกต่างกันไปในพืชแต่ละชนิด โครงสร้างเมล็ด
  • 8. 3. Embryo เจริญจากไซโกต มี ส่วนประกอบที่สาคัญ คือ - Cotyledon (ใบเลี้ยง) มีหน้าที่เก็บสะสม อาหารให้แก่เอมบริโอ และป้องกันการบุบ สลายของเอมบริโอขณะที่มีการงอก - Caulicle (ลาต้นอ่อน) ประกอบ 2 ส่วนคือ ลาต้นอ่อนเหนือใบเลี้ยง เรียกว่า เอปิคอติล (epicotyl) มีส่วนปลายสุดเรียกว่า ยอด อ่อน ซึ่งเจริญเป็นลาต้น กิ่ง ก้าน ใบ และ ดอก ส่วนลาต้นอ่อนใต้ใบเลี้ยง เรียกว่า ไฮ โปคอติล (hypocotyl) มีส่วนปลายสุด เรียกว่า รากอ่อน จะเจริญเป็นรากแก้ว โครงสร้างเมล็ด
  • 9. แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ 1. การงอกที่ชูใบเลี้ยงขึ้นมาเหนือดิน (Epigeal germination) รากอ่อนงอกโผล่ พ้นเมล็ดออกทางรู ไมโครโพล์(micropyle) เจริญสู่พื้นดินจากนั้น ไฮโปคอติล (hypocotyl) จะงอกและเจริญยึดยาวตาม อย่างรวดเร็ว ดึงส่วนของใบเลี้ยง(cotyldon) กับ เอปิคอติล(epicotyl) ขึ้นมาเหนือดิน เช่น การงอกของพืชในเลี้ยงคู่ต่าง ๆ ลักษณะการงอกของเมล็ด
  • 10. 2. การงอกที่ฝังใบเลี้ยงไว้ใต้ดิน (Hypogeal germination) พบใน พืชใบ เลี้ยงเดี่ยว พืชพวกนี้มีไฮโปคอติล (hypocotyl) สั้น เจริญช้า ส่วนเอปิคอติล (epicotyl) และยอดอ่อน (plumule) เจริญยืดยาวได้อย่างรวดเร็ว เช่น เมล็ด ข้าว ข้าวโพด หญ้า ฯลฯ การพักตัวของ เมล็ด (Dormancy) หมายถึง สภาพที่ เอมบริโอในเมล็ดสามารถคงสภาพและมี ชีวิตอยู่ได้โดยไม่เกิดการงอก ลักษณะการงอกของเมล็ด
  • 11. การเกิดเมล็ด ภายหลังการปฏิสนธิของพืชมีดอก ซึ่งเกิดขึ้นภายในรังไข่ ทาให้เกิดไซ โกตและเอนโดสเปิร์ม ทั้งไซโกตและเอนโดสเปิร์มจะเจริญเติบโตอยู่ภายใน เมล็ด โดยที่ไซโกตจะมีการแบ่งเซลล์เพิ่มจานวนเซลล์เจริญพัฒนาเป็น เอ็มบริโอ หลังจากนั้นเอ็มบริโอก็จะมีการเปลี่ยนแปลงทาให้เกิดการพัฒนา เป็นอวัยวะต่างๆ ได้แก่ ราก ลาต้น กิ่ง ก้าน และใบ
  • 12. การพัฒนาของ Embryo มีทั้งหมด 6ระยะ คือ 1.zygote stage : มี 1 cell เริ่มต้น 2.Proembryo stage เป็นกลุ่มcell ก่อนพัฒนาเป็น Embryo(tissue) 3.Globular stage : Embryo มีลักษณะเป็นก้อนกลม หลังจากการปฏิสนธิของพืชดอก ไซโกตมีการแบ่งเซลล์ และเอ็นโดสเปิร์มเจริญต่อ Embryo มีการเปลี่ยนแปลงไปดังนี้
  • 13. 4.Heart stage : Embryoมีลักษณะเป็นรูป หัวใจ 5.Torpedo stage embryoเห็นโครงสร้าง ยอด /ราก/ใบเลี้ยง ชัดเจน 6. Mature embryo stage Embryo จะเจริญกลายเป็น Cotyledon-ใบเลี้ยง Caulicle-ลาต้นอ่อน Radicle-รากแรกเกิด การพัฒนาของ Embryo
  • 14. การจาแนกประเภทของเมล็ดโดยอาศัย Endosperm แบ่งได้ 2 ประเภท 1. Exalbuminous seed เป็นเมล็ดที่เปลือกเมล็ดทั้งสองชั้นรวมกันไม่สามารถแยก เป็นสองชั้นได้ ด้านหนึ่งของเปลือกเมล็ดเว้าเข้า มีรอยแผลเป็นเล็ก ๆ ติดอยู่ รอยนี้เป็นบริเวณที่เกิดจากก้านของออวุล (funiculus) ซึ่งเชื่อมต่อระหว่างรังไข่ กับออวุลที่หลุดออกไป เรียกรอยนี้ว่า ขั้วเมล็ด (hilum) ใกล้ ๆ กับขั้วเมล็ดมีรู เล็ก ๆ ที่เรียกว่า ไมโครไพล์ (micropyle) ซึ่งรูไมโครไพล์นี้เป็นทางให้น้าผ่านเข้า ไปภายในเมล็ด และเป็นช่องให้รากแรกเกิด (radicle) งอกออกมาจากเมล็ดและ เจริญเป็นรากของพืชต่อไป ด้านตรงข้ามกับด้านนี้มีขั้วเมล็ด (hilum) อยู่จะมี ลักษณะเป็นสันซึ่งเกิดจากก้านออวุล (funiculus) ทาบไปตามออวุล ก่อนที่ ออวุลจะเจริญเป็นเมล็ด เรียกสันนี้ว่าสันขั้ว (raphe) เมื่อลอกเปลือกเมล็ดออก จะพบใบเลี้ยงขนาดใหญ่สองใบประกบยอดแรกเกิด (pumule) ไว้ ใต้ตาแหน่ง ใบเลี้ยงพบต้นอ่อนใต้ใบเลี้ยง (hypotyl) และรากแรกเกิด (radiele) แต่ไม่พบ เอ็นโดสเปิร์ม (endosperm) เมล็ดพืชชนิดนี้ได้แก่ เมล็ดถั่วชนิดต่าง ๆ มะม่วง ทานตะวัน เมล็ดมะขาม เป็นต้น
  • 16. 2. Albuminous seed เป็นเมล็ดที่เปลือกเมล็ดแยกเป็นเปลือกเมล็ด ชั้นนอก (testa) และเปลือกเมล็ดชั้นใน (tegment) ได้ชัดเจน ด้านหนึ่งของ เมล็ดมีสันเมล็ด (raphe) ตลอดแนว ที่ปลายสันเมล็ด (raphe) ด้านล่างของ เมล็ดมีลักษณะเป็นเนื้อเยื่อ ฟ่าม ๆ อวบและแข็ง เรียก (caruncle) ปิดอยู่ มี หน้าที่อุ้มน้าเพื่อช่วยให้เมล็ดงอกได้ ด้านนี้จะพบขั้วเมล็ด (hilum) และรูไม โครไพล์ (micropyle) เมื่อลอกเปลือกทั้งสองชั้นออกจะพบเอนโดสเปิร์ม มี ลักษณะหนาใหญ่ สีขาว มีสองซีกประกบกันอยู่ภายในมีใบเลี้ยงอยู่ 2 ใบ มี ลักษณะแบนและบางมาก เอมบริโอส่วนที่เหลือจะมีลักษณะเป็นก้อนรูปไข่ โดยเหนือตาแหน่งใบเลี้ยงเป็นส่วนของยอดแรกเกิด (plumule) และต้นเหนือ ใบเลี้ยง(epicotyl) อยู่ ส่วนตาแหน่งที่อยู่ใต้ใบเลี้ยง คือ ต้นใต้ใบเลี้ยง (hypocotyl) และ รากแรกเกิด (radicle) ตัวอย่างเมล็ดชนิดนี้ ได้แก่ เมล็ด ละหุ่ง มะค่าแต้ เมล็ดน้อยหน่า เป็นต้น การจาแนกประเภทของเมล็ดโดยอาศัย Endosperm แบ่งได้ 2 ประเภท
  • 19. บรรณานุกรม - https://sites.google.com/site/khorngsrangphuch1/meld - http://seedgenenetwork.net/arabidopsis - https://www.macmillanhighered.com/BrainHoney/Resource/6716/digital_first _content/trunk/test/hillis2e/hillis2e_ch24_2.html - https://www.shutterstock.com/search/plant+embryo - https://km.nssc.ac.th/external_newsblog.php?links=280
  • 20. กิตติกรรมประกาศ รายงานเรื่อง โครงสร้างและการเกิดเมล็ดนี้สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความ กรุณาของ อาจาย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์ อาจารย์ผู้สอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 30244) ที่ได้ให้คาแนะนา และความรู้ ตลอดจนวิธีแก้ไขปัญหาต่างๆ ตลอดระยะเวลาที่ ได้จัดทารายงานขึ้นมา ผู้ศึกษาจึงขอกราบขอบคุณผู้ปกครอง คุณครูและ เพื่อนๆ คณะผู้จัดทาที่ช่วยกัน หาข้อมูล ปฏิบัติการทดลอง และจัดทารายงาน นี้ได้อย่างเสร็จสมบูรณ์ด้วยดี คณะผู้จัดทา