SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการ หรือที่เรียกย่อ ๆ ว่า โอเอสเป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการนี้ ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดีเช่น DOS, Windows,โอเอสทู (OS/2) ,ยูนิกซ์ (UNIX)
DOS เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้คำสั่งเป็นตัวอักษร ดอสเป็นซอฟต์แวร์ที่รู้จักกันดีในหมู่ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ Windows ระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส เพื่อเน้นการใช้งานที่ง่ายขึ้น สามารถทำงานหลายงานพร้อมกันได้ วินโดวส์จึงได้รับความนิยมในปัจจุบัน OS/2 เป็นระบบปฏิบัติการแบบเดียวกับวินโดวส์ แต่บริษัทผู้พัฒนาคือ บริษัทไอบีเอ็ม ปัจจุบันไม่มีการใช้งานกันแล้ว Unix ระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งานได้หลายงานพร้อมกัน และทำงานได้หลาย ๆ งานในเวลาเดียวกัน ยูนิกซ์จึงใช้ได้กับเครื่องที่เชื่อมโยงและต่อกับเครื่องปลายทางได้หลายเครื่องพร้อมกัน
ส่วนประกอบของ Windows 1.Start - คลิกปุ่มนี้ จะมีเมนูแสดงขึ้นมา 2.Desktop - บริเวณพื้นที่ของ Windows เพื่อแสดงไอคอน หรือโปรแกรมที่เราเรียกใช้งาน 3.Task Bar - บริเวณที่แสดงว่ามีโปรแกรมใดทำงานค้างอยู่ 4.Icons - รูปภาพแทนคำสั่ง สำหรับไอคอนพื้นฐาน ได้แก่ - My Computer ไอคอนแสดงดิสก์ไดร์ฟในเครื่องคอมฯของคุณ- My Document เก็บตำแหน่งของเอกสารที่มีการเปิดใช้งาน- Internet Explorer เว็บบราวเซอร์สำหรับเล่น WWW- Recycle Bin ถังขยะสำหรับเก็บไฟล์ที่มีการลบ สามารถกู้คืนกลับมาได้- Outlook Express โปรแกรมสำหรับรับ-ส่ง อีเมล์- Network Neighborhood ไอคอนแสดงระบบเครือข่าย หรือกลุ่มคอมพิวเตอร์ของคุณ
ขั้นตอนการเปิด-ปิด Windows  1.คลิกปุ่ม Start เลือก Shutdown จะมีปุ่ม ให้คลิกเลือก สำหรับความหมายแต่คำสั่งมีดังนี้- Shutdown : ปิดเครื่องทันที- Restart : ให้เริ่มเข้า windows ใหม่ (ใช้กรณีมีปัญหาการใช้ windows) - Stand by : ให้เข้าระบบพักเครื่อง 2.หลังจากเลือกหัวข้อที่ต้องการแล้ว ให้คลิกปุ่ม OK  3.รอจนกระทั่ง Windows ถูกปิดไป (บางรุ่นเวลา Shutdown เครื่องระบบ power ของเครื่องจะปิดให้อัตโนมัติ ส่วน Monitor อาจยังไม่ปิด ดังนั้นให้ปิดสวิทซ์ Monitor ด้วย) 4.ห้ามปิดเครื่องโดยไม่ Shutdown Windows อาจะทำให้ไม่สามารถเข้า Windows ได้อีก 5.ยกเว้นกรณีเครื่อง Hank หรือ กดปุ่มใด ๆ ไม่ได้ ให้กดปุ่ม Power เพื่อทำการปิดได้ (คอมพิวเตอร์บางรุ่น จะต้องกดแช่ ค้างไว้ สักครู่)
การปรับแต่งหน้าตาของ Windows เราสามารถปรับแต่งหน้าตาของ Windows ในรูปแบบของเราได้ โดยการเข้าคลิกขวา บริเวณหน้าจอ (Desktop) จากนั้นเลือกคำสั่ง Properties รายละเอียดแต่ละคำสั่งบนแท็ป - Background - สำหรับปรับแต่ง Wallpaper ของหน้าจอภาพ หรือ Desktop  	- Screen Saver - สำหรับปรับเปลี่ยนโปรแกรมพักหน้าจอ สามารถกำหนดระยะเวลาให้  แสดง Screen Saver ได้ 	- Appearance - แสดงรูปแบบ ขนาดตัวอักษร (ไม่มีความเข้าใจ ไม่ควรเข้าไปปรับเปลี่ยน) 	- Effects - สำหรับปรับขนาดไอคอน รูปแบบการแสดงเมนู 	- Web - สำหรับแสดงหน้า Desktop ในรูปแบบของ Web  	- Settings - สำหรับกำหนดขนาดของหน้าจอ และจำนวนสีที่แสดง
การปรับเปลี่ยน Background  1.คลิกแท็ป Background  	2.บริเวณ Select a background picture เลือกรูปแบบที่เราต้องการ หรือ 	3.คลิกคำสั่ง Browse เพื่อกำหนดตำแหน่งของไฟล์ภาพอื่นๆ ที่เราต้องการนำมาแสดงเป็น Wallpaper  การปรับเปลี่ยน Settings  1.คลิกแท็ป Settings 2.คลิกเลือกจำนวนสีที่ต้องการ ถ้าทำได้ควรกำหนดสีอย่างน้อย 256 สีขึ้นไป 3.Screen Area สำหรับกำหนดขนาดของหน้าจอ ขนาดมาตรฐานที่นิยมใช้คือ 800 by 600
ทำความรู้จัก Control Panel   	Control Panel ที่เป็นที่เก็บโปรแกรมสำคัญๆ ของ Windows เป็นโปรแกรมที่เกี่ยวกับการควบคุมการทำงานของ Windows ทั้งหมด แต่อย่างไรก็ตาม บางโปรแกรมอาจสามารถเรียกโดยไม่ต้องผ่าน Control Panel ก็ได้ ตัวอย่างเช่น หน้าต่าง Display Properties สามารถเรียกโดย คลิกขวา เลือก Properties ผ่านทางหน้า Desktop ได้ทันที โดยไม่จำเป็นต้องผ่านหน้าต่าง Control Panel ในส่วนของ Display เป็นต้น การเรียกใช้ Control Panel 1.คลิกปุ่ม Start  	2.คลิกเมนู Settings  	3.คลิกเลือก Control Panel
การจัดการไฟล์ ด้วย Windows Explorer การเรียนใช้ Windows Explorer 1.เรียกจากเมนู Start  2.คลิกเมนู Programs 3.คลิกเลือก Accessoriesเลือก Windows Explorer (สำหรับ Windows ME)  	หรือสามารถเรียกได้จาก คลิกไอคอนที่ My Computer 5.คลิกขวา เลือก Explore  6.กรณีต้องการปรับเปลี่ยนการดูรายชื่อ ไฟล์และโฟลเดอร์ ให้คลิกเมนู View เลือก Large Icons, Small Icons, List, Details การใช้งาน Windows Explorer นี้ สามารถ copy, delete หรือ move ทั้งไฟล์และโฟลเดอร์ไปยังไดร์ฟต่างๆ ภายในเครื่องคอมฯ ของเราได้ แต่อย่างไรก็ตาม ก็ควรระวัง ถ้ามีการย้ายผิด อาจทำให้มีปัญหาเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมของเราได้ด้วย
การปรับแต่งไอคอน บน Desktop   รูปภาพเล็ก ๆ บนหน้าจอ หรือที่เราเรียกว่า ไอคอน "Icon"เป็นตัวช่วยในการเรียกใช้โปรแกรมให้สะดวกขึ้น วิธีการปรับแต่งไอคอน 1.เปลี่ยนชื่อไอคอน 	ให้คลิกเลือกไอคอน จากนั้นกดปุ่ม F2 พิมพ์ชื่อใหม่ตามต้องการ สามารถพิมพ์ชื่อภาษาไทยได้ด้วย 2.ลบไอคอนให้คลิกเลือกไอคอน จากนั้นกดปุ่ม Del
3.จัดเรียงไอคอน-ให้คลิกขวาบริเวณว่าง ๆ บนหน้าจอ เลือก Arrange Icons-จากนั้นเลือกว่าจะให้เรียงตามอะไร เช่น Name, Type, Size, Dateแต่ถ้าต้องการให้เรียงอัตโนมัติให้คลิก Auto Arrange 4.เปลี่ยนไอคอนให้คลิกเลือกไอคอนนั้นๆ จากนั้นคลิกขวา เลือก Propertiesเลือก Change Iconเลือกรูปแบบที่ต้องการ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความสำคัญของเครือข่ายคอมพิวเตอร์           ธรรมชาติมนุษย์ต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม มีการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน ในการดำเนินชีวิตประจำวัน  เมื่อมนุษย์มีความจำเป็นที่จะติดต่อสื่อสารระหว่างกัน  ทางด้านคอมพิวเตอร์จึงต้องตอบสนองเพื่อให้ใช้งานได้ตามความต้องการ  การใช้งานคอมพิวเตอร์จึงแพร่หลายอย่างรวดเร็ว  เพราะการใช้งานง่าย  ราคาไม่สูงมาก สามารถจัดหามาใช้ได้ไม่ยาก เมื่อมีการใช้งานกันมาก บริษัทผู้ผลิตคอมพิวเตอร์ ก็ปรับปรุงและพัฒนาเทคโนโลยีให้ตอบสนองความต้องการที่จะทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มในรูปแบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์  จึงเป็นวิธีการหนึ่ง  และกำลังได้รับความนิยมสูงมาก 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์มีบทบาทที่สำคัญต่อหน่วยงานต่างๆ ดังนี้1.ทำให้เกิดการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม และสามารถทำงานพร้อมกัน2.ให้สามารถใช้ข้อมูลต่างๆ ร่วมกัน ซึ่งทำให้องค์การได้รับประโยชน์มากขึ้น3.ทำให้สามารถใช้ทรัพยากรได้คุ้มค่า เช่น ใช้เครื่องประมวลผลร่วมกัน แบ่งกันใช้แฟ้มข้อมูล  ใช้เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์ที่มีราคาแพงร่วมกัน4.ทำให้ลดต้นทุน เพราะการลงทุนสามารถลงทุนให้เหมาะสมกับหน่วยงานได้
ชนิดของเครือข่าย เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งแยกตามสภาพการเชื่อมโยงได้ 2 ชนิด 1.เครือข่ายแลน (Local Area Network : LAN) 	การสื่อสารในระยะใกล้ หรือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท้องถิ่นเช่น ภายในอาคาร  หรือภายในองค์การที่มีระยะทางไม่ไกล ลักษณะสำคัญของเครือข่ายแลน  คืออุปกรณ์ที่ประกอบภายในเครือข่ายสามารถรับส่งสัญญาณกันด้วยความเร็วสูงมาก การรับส่งข้อมูลมีความผิดพลาดน้อยและสามารถรับส่งข้อมูลจำนวนมากในเวลาจำกัดได้ 2.เครือข่ายแวน (Wide Area Network : WAN) 	เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ในระยะไกล  เช่น  เชื่อมโยงระหว่างจังหวัด  ระหว่างประเทศ  ความเร็วในการสื่อสารไม่สูง เนื่องจากมีสัญญาณรบกวนในสาย และการเชื่อมโยงระยะไกลจำเป็นต้องใช้เทคนิคพิเศษในการลดปัญหาข้อผิดพลาดของการรับส่งข้อมูล     
เทคโนโลยีเครือข่ายแลน      เครือข่ายแลนที่น่าสนใจ เช่น   	1.อีเทอร์เน็ต (Ethernet)   	2.โทเก็นริง (Token Ring)   	3.สวิตชิง (Switching)          
1.อีเทอร์เน็ต (Ethernet) อีเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่พัฒนามาจากโครงสร้างการเชื่อมต่อแบบสายสัญญาณร่วมที่เรียกว่า บัส  โดยใช้สายสัญญาณแบบแกนร่วม คือ สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) เป็นตัวเชื่อม  สำหรับระบบบัส เป็นระบบ เทคโนโลยีที่คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องเชื่อมโยงเข้ากับสายสัญญาณเส้นเดียวกัน คือ เมื่อมีผู้ต้องการส่งข้อมูล  ก็ส่งข้อมูลได้เลย  แต่เนื่องจากไม่มีวิธีการค้นหาเส้นทางที่ส่งว่างหรือเปล่า  จึงไม่ทราบว่ามีอุปกรณ์ใดหรือคอมพิวเตอร์ เครื่องใดที่ส่งข้อมูลมาในช่วงเวลาเดียวกัน     จะทำให้เกิดการชนกันขึ้นและเกิดการสูญหายของข้อมูล  ผู้ส่งต้องส่งข้อมูล ไปยังปลายทางอีกครั้งหนึ่ง  ทำให้เสียเวลามาก จึงมีการพัฒนาระบบการรับส่งข้อมูลผ่านอุปกรณ์กลางที่เรียกว่า ฮับ (Hub)   และเรียกระบบใหม่นี้ว่า เทนเบสที (10 base t)  โดยใช้สายสัญญาณที่มีขนาดเล็กลงและราคาถูกซึ่งเรียกว่า  สายคู่บิตเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน (Unshielded twisted    pair : UTP) ทำให้การเชื่อมต่อนี้ มีลักษณะแบบดาว  	 วิธีการเชื่อมแบบนี้จะมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่ฮับ    จุดเด่นของดาวตัวนี้ เมื่อมีการส่งข้อมูล จะมีการตรวจสอบความผิดพลาดว่า อุปกรณ์ใดจะส่งข้อมูลมาบ้างและจะมีการสับสวิตซ์ให้ส่ง ได้หรือไม่  แต่ ถ้าฮับเกิดเป็นอะไรขึ้นมาอุปกรณ์ต่อพ่วงอื่น ๆ  หรือคอมพิวเตอร์  ก็ไม่สามารถเชื่อมต่อกันได้อีก      
2.โทเก็นริง (Token Ring)    โทเก็นริง เป็นเครือข่ายที่บริษัท ไอบีเอ็ม พัฒนาขึ้น  รูปแบบการเชื่อมโยงจะเป็น วงแหวน  โดยด้านหนึ่งเป็นตัวรับสัญญาณและอีกด้านหนึ่งเป็นตัวส่งสัญญาณ  การเชื่อมต่อแบบนี้ทำให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องสามารถส่งข้อมูลถึงกันได้  โดยผ่านเส้นทางวงแหวนนี้    การติดต่อสื่อสารแบบนี้จะมีการจัดลำดับให้ผลัดกันส่งเพื่อว่าจะได้ไม่สับสน โทเก็นริงที่ใช้กันอยู่ในขณะนี้มีความเร็วในการรับส่งสัญญาณได้ 16 ล้านบิตต่อวินาที  ข้อมูลแต่ละชุดจะมี การกำหนดตำแหน่งแน่นอนว่ามาจากสถานีใด และจะส่งไปที่สถานีใด
3.สวิตชิง (Switching) สวิตชิง เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนามาเพื่อให้สามารถรับส่งข้อมูลระหว่างสถานีทำได้เร็วยิ่งขึ้น  การคัดเลือกข้อมูลที่ส่งมาและส่งไปยังสถานีปลายทางจะกระทำที่ชุมสายกลางที่เรียกว่า  สวิตชิง  รูปแบบของเครือข่ายจะมีลักษณะเป็นแบบดาว ซึ่งโครงสร้างนี้จะเหมือนกับแบบอีเทอร์เน็ตที่มีฮับเป็นศูนย์กลาง  แต่แตกต่างกันที่ฮับเป็นจุดร่วมของสายสัญญาณที่จะต่อกระจายไปยังทุกสาย  สวิตชิงจะเลือกการสลับสัญญาณไปยังตำแหน่งที่ต้องการเท่านั้น  ทำให้รับส่งสัญญาณไม่มีปัญหาเรื่องการชนกันของข้อมูล  อุปกรณ์ที่ใช้ในการสวิตชิง มีหลายแบบ เช่น อีเทอร์เน็ตสวิตซ์ และเอทีเอ็มสวิตซ์             เอทีเอ็มสวิตซ์เป็นอุปกรณ์การสลับสายสัญญาณในการรับส่งข้อมูลที่มีการรับส่งกันเป็นชุด ๆ  ข้อมูลแต่ละชุดเรียกว่า  เซล  มีขนาดจำกัด  การสวิตชิงแบบเอทีเอ็มทำให้ข้อมูลจากสถานีหนึ่งไปยังอีกสถานีหนึ่งดำเนินไปอย่างรวดเร็ว  ซึ่งกำลังได้รับความสนใจและมีแนวโน้มจะได้รับความนิยมมากขึ้น 
การใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างการใช้งานเครือข่าย 1.การใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน        งานขององค์กรบางอย่างมีความจำเป็นต้องใช้ข้อมูลชุดเดียวกัน  ถ้าแต่ละฝ่ายทำการหาหรือรวบรวมข้อมูลเอง  ข้อมูลอาจ จะมีความคลาดเคลื่อนไม่ตรงกันก็ได้  และยังทำให้สิ้นเปลืองทรัพยากรบุคคลและวัสดุอุปกรณ์สิ้นเปลืองเวลาอีกด้วย  แต่ถ้ามีการจัดเก็บข้อมูลที่ดี  มีสถานีให้บริการเก็บข้อมูล  แล้วให้ผู้ใช้บริการในองค์กร นั้นดึงข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายไปใช้  ก็จะประหยัดค่าใช้จ่ายด้านต่าง ๆ ได้  นอกจากนั้นยังสามารถใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ เช่น  เครื่องพิมพ์  เครื่องสแกน  กล้องดิจิตอล  ฯลฯ 
2.การติดต่อสื่อสารระหว่างกันบนเครือข่าย      เมื่อมีการเชื่อมโยงอุปกรณ์เข้าด้วยกัน  ผู้ใช้ ทุกคนที่อยู่บนเครือข่าย จะสามารถ ติดต่อสื่อสารระหว่างกันสามารถส่ง ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิคส์ระหว่างกัน  ตลอดจนสามารถโอนย้ายข้อมูลระหว่างกันได้ 3.สำนักงานอัตโนมัติ     แนวคิดของสำนักงานสมัยใหม่  ก็คือ  ลดการใช้กระดาษ  หันมาใช้ระบบการทำงาน ด้วยคอมพิวเตอร์ที่สามารถ แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ทันทีทันใด  ระบบสำนักงานอัตโนมัติ    จึงเป็นระบบการทำงานที่เปรียบเสมือน โต๊ะทำงาน  ทำให้เกิดความคล่องตัว  และรวดเร็ว
ตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เมื่อเทคโนโลยีเครือข่ายได้รับการพัฒนาโดยเฉพาะมีการประยุกต์ใช้งานบนเครือข่ายอย่างกว้างขวาง  ทำให้เครือข่าย คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายเดียวกัน  เรียกว่า  อินเทอร์เน็ต   ขณะเดียวกันในองค์กรแต่ละองค์กร ก็มีการพัฒนาเครือข่ายของตนเองและประยุกต์ใช้กับงานเฉพาะในองค์กร เรียกว่าอินทราเน็ต  ดังนั้น  อินเทอร์เน็ตจึง แตกต่างจากอินทราเน็ตตรงที่ขอบเขตของการเชื่อมโยง  ส่วนมาตรฐานและวิธีการเชื่อมโยงยังคงเป็นมาตรฐานเดียวกัน     
อินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตพัฒนามาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512  โดยกระทรวงกลาโหมประเทศสหรัฐอเมริกาให้ทุนกับมหาวิทยาลัย  สมัยแรกใช้ชื่อว่า  อาร์ปาเน็ต  และจึงมีการเปลี่ยนชื่อเป็น อินเทอร์เน็ตในภายหลัง  เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนาให้เป็นมาตรฐาน  โดยมาตรฐานการรับส่งข้อมูลมีชื่อว่า   ทีซีพี/ไอพี (TCP/IP)  การกำหนดตำแหน่งอุปกรณ์ด้วยรหัสหมายเลขที่เรียกว่า แอดเดรส  กำหนดรหัสแอดเดรสเรียกว่า ไอพีแอดเดรส และถือเป็นรหัสสากลที่ไม่ซ้ำกันเลย  ไอพีแอดเดรสจะประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด โดยเน้นเป็นรหัสของเครือข่ายและรหัสของอุปกรณ์  เช่น  รหัสแทนเครือข่ายของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ใช้รหัส 158.108 
		ส่วนรหัสของเครื่องจะมีอีกสองพิกัดตามมา  เช่น  2.71  เมื่อเขียนรวมกันจะได้  158.108.2.71  เพื่อให้จดจำได้ง่ายจึงมีการตั้งชื่อคู่กับหมายเลข  เราเรียกชื่อนี้ว่า โดเมน  เช่น ku.ac.th  โดย thหมายถึงประเทศไทย ac หมายถึงสถาบันการศึกษาและ ku  หมายถึง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์   และถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ในเครือข่ายหลายเครื่อง  ก็ให้มีการตั้งชื่อเครื่องด้วย  เช่น  nontri เมื่อมีการเรียกรวมกันก็จะเป็นnontri.ku.ac.th การใช้ชื่อนี้ทำให้ใช้งานง่ายกว่าตัวเลข  เมื่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงกันได้ทั่วโลก  ทำให้โลกไร้พรมแดน ข้อมูล ข่าวสารต่าง ๆ สามารถสื่อถึงได้อย่าง รวดเร็ว 
ตัวอย่างการใช้งานบนอินเทอร์เน็ต 1.การรับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิคส์ 2.การโอนย้ายแฟ้มข้อมูลระหว่างกัน 3.การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในที่ห่างไกล 4.การเรียกค้นข้อมูลข่าวสาร 5.การอ่านจากกลุ่มข่าว  6.การสนทนาบนเครือข่าย 7.การบริการสถานีวิทยุและโทรทัศน์บนเครือข่าย    
อินทราเน็ต     เมื่ออินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนามาจนเป็นที่ยอมรับและแพร่หลาย  จึงมีผู้ต้องการสร้างเครือข่ายใช้งานเฉพาะในองค์กร   โดยนำวิธีการในอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้กับเครือข่ายของตนเอง เครือข่ายที่ใช้งานเฉพาะในองค์การนี้จึงเรียกว่า  เครือข่ายอินทราเน็ต      การประยุกต์ใช้บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตใช้หลักการที่มีสถานีให้บริการ และสถานีผู้ใช้บริการ  สถานีผู้ใช้บริการมีโปรแกรมเชื่อมต่อที่ทำให้ใช้งานระบบฐานข้อมูลได้ง่าย อินทราเน็ตจึงใช้วิธีการเดียวกันนี้   เพราะทำให้ผู้ใช้ไม่ต้องเสียเวลาในการเรียนรู้การพัฒนาขึ้น และพร้อมที่จะเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต        

More Related Content

What's hot

ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
Random 110909052835-phpapp01
Random 110909052835-phpapp01Random 110909052835-phpapp01
Random 110909052835-phpapp01nantakit
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯkachornchit_maprang
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์อยู่ไหน เหงา
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์อยู่ไหน เหงา
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์อยู่ไหน เหงา
 

What's hot (11)

ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
Random 110909052835-phpapp01
Random 110909052835-phpapp01Random 110909052835-phpapp01
Random 110909052835-phpapp01
 
Learnning 04
Learnning 04Learnning 04
Learnning 04
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
 

Similar to ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์Aphison Pukon
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการvgame_emagv
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์Aphison Pukon
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1wachee_4
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์Aphison Pukon
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอมระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอมLookked2122
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอมระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอมLookked2122
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการnum19
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการwannuka24
 

Similar to ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (20)

ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอมระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอมระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
T
TT
T
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 

More from Suphattra

หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลSuphattra
 
หน่วยประมวลผล11
หน่วยประมวลผล11หน่วยประมวลผล11
หน่วยประมวลผล11Suphattra
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลSuphattra
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลSuphattra
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลSuphattra
 
ระบบปฎิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์1
ระบบปฎิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์1ระบบปฎิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์1
ระบบปฎิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์1Suphattra
 
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Suphattra
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการSuphattra
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Suphattra
 
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Suphattra
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์Suphattra
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์Suphattra
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์Suphattra
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์Suphattra
 
ประวัติส่วนตัวของ
ประวัติส่วนตัวของประวัติส่วนตัวของ
ประวัติส่วนตัวของSuphattra
 
ประวัติส่วนตัวของ
ประวัติส่วนตัวของประวัติส่วนตัวของ
ประวัติส่วนตัวของSuphattra
 

More from Suphattra (20)

หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผล
 
หน่วยประมวลผล11
หน่วยประมวลผล11หน่วยประมวลผล11
หน่วยประมวลผล11
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผล
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผล
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผล
 
ระบบปฎิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์1
ระบบปฎิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์1ระบบปฎิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์1
ระบบปฎิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์1
 
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
สุ
สุสุ
สุ
 
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ประวัติส่วนตัวของ
ประวัติส่วนตัวของประวัติส่วนตัวของ
ประวัติส่วนตัวของ
 
ประวัติส่วนตัวของ
ประวัติส่วนตัวของประวัติส่วนตัวของ
ประวัติส่วนตัวของ
 

ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

  • 2. ระบบปฏิบัติการ หรือที่เรียกย่อ ๆ ว่า โอเอสเป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการนี้ ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดีเช่น DOS, Windows,โอเอสทู (OS/2) ,ยูนิกซ์ (UNIX)
  • 3. DOS เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้คำสั่งเป็นตัวอักษร ดอสเป็นซอฟต์แวร์ที่รู้จักกันดีในหมู่ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ Windows ระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส เพื่อเน้นการใช้งานที่ง่ายขึ้น สามารถทำงานหลายงานพร้อมกันได้ วินโดวส์จึงได้รับความนิยมในปัจจุบัน OS/2 เป็นระบบปฏิบัติการแบบเดียวกับวินโดวส์ แต่บริษัทผู้พัฒนาคือ บริษัทไอบีเอ็ม ปัจจุบันไม่มีการใช้งานกันแล้ว Unix ระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งานได้หลายงานพร้อมกัน และทำงานได้หลาย ๆ งานในเวลาเดียวกัน ยูนิกซ์จึงใช้ได้กับเครื่องที่เชื่อมโยงและต่อกับเครื่องปลายทางได้หลายเครื่องพร้อมกัน
  • 4. ส่วนประกอบของ Windows 1.Start - คลิกปุ่มนี้ จะมีเมนูแสดงขึ้นมา 2.Desktop - บริเวณพื้นที่ของ Windows เพื่อแสดงไอคอน หรือโปรแกรมที่เราเรียกใช้งาน 3.Task Bar - บริเวณที่แสดงว่ามีโปรแกรมใดทำงานค้างอยู่ 4.Icons - รูปภาพแทนคำสั่ง สำหรับไอคอนพื้นฐาน ได้แก่ - My Computer ไอคอนแสดงดิสก์ไดร์ฟในเครื่องคอมฯของคุณ- My Document เก็บตำแหน่งของเอกสารที่มีการเปิดใช้งาน- Internet Explorer เว็บบราวเซอร์สำหรับเล่น WWW- Recycle Bin ถังขยะสำหรับเก็บไฟล์ที่มีการลบ สามารถกู้คืนกลับมาได้- Outlook Express โปรแกรมสำหรับรับ-ส่ง อีเมล์- Network Neighborhood ไอคอนแสดงระบบเครือข่าย หรือกลุ่มคอมพิวเตอร์ของคุณ
  • 5. ขั้นตอนการเปิด-ปิด Windows  1.คลิกปุ่ม Start เลือก Shutdown จะมีปุ่ม ให้คลิกเลือก สำหรับความหมายแต่คำสั่งมีดังนี้- Shutdown : ปิดเครื่องทันที- Restart : ให้เริ่มเข้า windows ใหม่ (ใช้กรณีมีปัญหาการใช้ windows) - Stand by : ให้เข้าระบบพักเครื่อง 2.หลังจากเลือกหัวข้อที่ต้องการแล้ว ให้คลิกปุ่ม OK 3.รอจนกระทั่ง Windows ถูกปิดไป (บางรุ่นเวลา Shutdown เครื่องระบบ power ของเครื่องจะปิดให้อัตโนมัติ ส่วน Monitor อาจยังไม่ปิด ดังนั้นให้ปิดสวิทซ์ Monitor ด้วย) 4.ห้ามปิดเครื่องโดยไม่ Shutdown Windows อาจะทำให้ไม่สามารถเข้า Windows ได้อีก 5.ยกเว้นกรณีเครื่อง Hank หรือ กดปุ่มใด ๆ ไม่ได้ ให้กดปุ่ม Power เพื่อทำการปิดได้ (คอมพิวเตอร์บางรุ่น จะต้องกดแช่ ค้างไว้ สักครู่)
  • 6. การปรับแต่งหน้าตาของ Windows เราสามารถปรับแต่งหน้าตาของ Windows ในรูปแบบของเราได้ โดยการเข้าคลิกขวา บริเวณหน้าจอ (Desktop) จากนั้นเลือกคำสั่ง Properties รายละเอียดแต่ละคำสั่งบนแท็ป - Background - สำหรับปรับแต่ง Wallpaper ของหน้าจอภาพ หรือ Desktop - Screen Saver - สำหรับปรับเปลี่ยนโปรแกรมพักหน้าจอ สามารถกำหนดระยะเวลาให้ แสดง Screen Saver ได้ - Appearance - แสดงรูปแบบ ขนาดตัวอักษร (ไม่มีความเข้าใจ ไม่ควรเข้าไปปรับเปลี่ยน) - Effects - สำหรับปรับขนาดไอคอน รูปแบบการแสดงเมนู - Web - สำหรับแสดงหน้า Desktop ในรูปแบบของ Web - Settings - สำหรับกำหนดขนาดของหน้าจอ และจำนวนสีที่แสดง
  • 7. การปรับเปลี่ยน Background 1.คลิกแท็ป Background 2.บริเวณ Select a background picture เลือกรูปแบบที่เราต้องการ หรือ 3.คลิกคำสั่ง Browse เพื่อกำหนดตำแหน่งของไฟล์ภาพอื่นๆ ที่เราต้องการนำมาแสดงเป็น Wallpaper การปรับเปลี่ยน Settings 1.คลิกแท็ป Settings 2.คลิกเลือกจำนวนสีที่ต้องการ ถ้าทำได้ควรกำหนดสีอย่างน้อย 256 สีขึ้นไป 3.Screen Area สำหรับกำหนดขนาดของหน้าจอ ขนาดมาตรฐานที่นิยมใช้คือ 800 by 600
  • 8. ทำความรู้จัก Control Panel   Control Panel ที่เป็นที่เก็บโปรแกรมสำคัญๆ ของ Windows เป็นโปรแกรมที่เกี่ยวกับการควบคุมการทำงานของ Windows ทั้งหมด แต่อย่างไรก็ตาม บางโปรแกรมอาจสามารถเรียกโดยไม่ต้องผ่าน Control Panel ก็ได้ ตัวอย่างเช่น หน้าต่าง Display Properties สามารถเรียกโดย คลิกขวา เลือก Properties ผ่านทางหน้า Desktop ได้ทันที โดยไม่จำเป็นต้องผ่านหน้าต่าง Control Panel ในส่วนของ Display เป็นต้น การเรียกใช้ Control Panel 1.คลิกปุ่ม Start 2.คลิกเมนู Settings 3.คลิกเลือก Control Panel
  • 9. การจัดการไฟล์ ด้วย Windows Explorer การเรียนใช้ Windows Explorer 1.เรียกจากเมนู Start 2.คลิกเมนู Programs 3.คลิกเลือก Accessoriesเลือก Windows Explorer (สำหรับ Windows ME) หรือสามารถเรียกได้จาก คลิกไอคอนที่ My Computer 5.คลิกขวา เลือก Explore 6.กรณีต้องการปรับเปลี่ยนการดูรายชื่อ ไฟล์และโฟลเดอร์ ให้คลิกเมนู View เลือก Large Icons, Small Icons, List, Details การใช้งาน Windows Explorer นี้ สามารถ copy, delete หรือ move ทั้งไฟล์และโฟลเดอร์ไปยังไดร์ฟต่างๆ ภายในเครื่องคอมฯ ของเราได้ แต่อย่างไรก็ตาม ก็ควรระวัง ถ้ามีการย้ายผิด อาจทำให้มีปัญหาเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมของเราได้ด้วย
  • 10. การปรับแต่งไอคอน บน Desktop   รูปภาพเล็ก ๆ บนหน้าจอ หรือที่เราเรียกว่า ไอคอน "Icon"เป็นตัวช่วยในการเรียกใช้โปรแกรมให้สะดวกขึ้น วิธีการปรับแต่งไอคอน 1.เปลี่ยนชื่อไอคอน ให้คลิกเลือกไอคอน จากนั้นกดปุ่ม F2 พิมพ์ชื่อใหม่ตามต้องการ สามารถพิมพ์ชื่อภาษาไทยได้ด้วย 2.ลบไอคอนให้คลิกเลือกไอคอน จากนั้นกดปุ่ม Del
  • 11. 3.จัดเรียงไอคอน-ให้คลิกขวาบริเวณว่าง ๆ บนหน้าจอ เลือก Arrange Icons-จากนั้นเลือกว่าจะให้เรียงตามอะไร เช่น Name, Type, Size, Dateแต่ถ้าต้องการให้เรียงอัตโนมัติให้คลิก Auto Arrange 4.เปลี่ยนไอคอนให้คลิกเลือกไอคอนนั้นๆ จากนั้นคลิกขวา เลือก Propertiesเลือก Change Iconเลือกรูปแบบที่ต้องการ
  • 13. ความสำคัญของเครือข่ายคอมพิวเตอร์   ธรรมชาติมนุษย์ต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม มีการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน ในการดำเนินชีวิตประจำวัน  เมื่อมนุษย์มีความจำเป็นที่จะติดต่อสื่อสารระหว่างกัน  ทางด้านคอมพิวเตอร์จึงต้องตอบสนองเพื่อให้ใช้งานได้ตามความต้องการ  การใช้งานคอมพิวเตอร์จึงแพร่หลายอย่างรวดเร็ว  เพราะการใช้งานง่าย ราคาไม่สูงมาก สามารถจัดหามาใช้ได้ไม่ยาก เมื่อมีการใช้งานกันมาก บริษัทผู้ผลิตคอมพิวเตอร์ ก็ปรับปรุงและพัฒนาเทคโนโลยีให้ตอบสนองความต้องการที่จะทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มในรูปแบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์  จึงเป็นวิธีการหนึ่ง  และกำลังได้รับความนิยมสูงมาก 
  • 14. เครือข่ายคอมพิวเตอร์มีบทบาทที่สำคัญต่อหน่วยงานต่างๆ ดังนี้1.ทำให้เกิดการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม และสามารถทำงานพร้อมกัน2.ให้สามารถใช้ข้อมูลต่างๆ ร่วมกัน ซึ่งทำให้องค์การได้รับประโยชน์มากขึ้น3.ทำให้สามารถใช้ทรัพยากรได้คุ้มค่า เช่น ใช้เครื่องประมวลผลร่วมกัน แบ่งกันใช้แฟ้มข้อมูล ใช้เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์ที่มีราคาแพงร่วมกัน4.ทำให้ลดต้นทุน เพราะการลงทุนสามารถลงทุนให้เหมาะสมกับหน่วยงานได้
  • 15. ชนิดของเครือข่าย เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งแยกตามสภาพการเชื่อมโยงได้ 2 ชนิด 1.เครือข่ายแลน (Local Area Network : LAN) การสื่อสารในระยะใกล้ หรือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท้องถิ่นเช่น ภายในอาคาร  หรือภายในองค์การที่มีระยะทางไม่ไกล ลักษณะสำคัญของเครือข่ายแลน  คืออุปกรณ์ที่ประกอบภายในเครือข่ายสามารถรับส่งสัญญาณกันด้วยความเร็วสูงมาก การรับส่งข้อมูลมีความผิดพลาดน้อยและสามารถรับส่งข้อมูลจำนวนมากในเวลาจำกัดได้ 2.เครือข่ายแวน (Wide Area Network : WAN) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ในระยะไกล  เช่น  เชื่อมโยงระหว่างจังหวัด  ระหว่างประเทศ  ความเร็วในการสื่อสารไม่สูง เนื่องจากมีสัญญาณรบกวนในสาย และการเชื่อมโยงระยะไกลจำเป็นต้องใช้เทคนิคพิเศษในการลดปัญหาข้อผิดพลาดของการรับส่งข้อมูล     
  • 16. เทคโนโลยีเครือข่ายแลน     เครือข่ายแลนที่น่าสนใจ เช่น  1.อีเทอร์เน็ต (Ethernet)  2.โทเก็นริง (Token Ring)  3.สวิตชิง (Switching)         
  • 17. 1.อีเทอร์เน็ต (Ethernet) อีเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่พัฒนามาจากโครงสร้างการเชื่อมต่อแบบสายสัญญาณร่วมที่เรียกว่า บัส  โดยใช้สายสัญญาณแบบแกนร่วม คือ สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) เป็นตัวเชื่อม  สำหรับระบบบัส เป็นระบบ เทคโนโลยีที่คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องเชื่อมโยงเข้ากับสายสัญญาณเส้นเดียวกัน คือ เมื่อมีผู้ต้องการส่งข้อมูล  ก็ส่งข้อมูลได้เลย  แต่เนื่องจากไม่มีวิธีการค้นหาเส้นทางที่ส่งว่างหรือเปล่า  จึงไม่ทราบว่ามีอุปกรณ์ใดหรือคอมพิวเตอร์ เครื่องใดที่ส่งข้อมูลมาในช่วงเวลาเดียวกัน  จะทำให้เกิดการชนกันขึ้นและเกิดการสูญหายของข้อมูล  ผู้ส่งต้องส่งข้อมูล ไปยังปลายทางอีกครั้งหนึ่ง  ทำให้เสียเวลามาก จึงมีการพัฒนาระบบการรับส่งข้อมูลผ่านอุปกรณ์กลางที่เรียกว่า ฮับ (Hub)   และเรียกระบบใหม่นี้ว่า เทนเบสที (10 base t)  โดยใช้สายสัญญาณที่มีขนาดเล็กลงและราคาถูกซึ่งเรียกว่า  สายคู่บิตเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน (Unshielded twisted    pair : UTP) ทำให้การเชื่อมต่อนี้ มีลักษณะแบบดาว   วิธีการเชื่อมแบบนี้จะมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่ฮับ    จุดเด่นของดาวตัวนี้ เมื่อมีการส่งข้อมูล จะมีการตรวจสอบความผิดพลาดว่า อุปกรณ์ใดจะส่งข้อมูลมาบ้างและจะมีการสับสวิตซ์ให้ส่ง ได้หรือไม่  แต่ ถ้าฮับเกิดเป็นอะไรขึ้นมาอุปกรณ์ต่อพ่วงอื่น ๆ  หรือคอมพิวเตอร์ ก็ไม่สามารถเชื่อมต่อกันได้อีก      
  • 18. 2.โทเก็นริง (Token Ring)   โทเก็นริง เป็นเครือข่ายที่บริษัท ไอบีเอ็ม พัฒนาขึ้น  รูปแบบการเชื่อมโยงจะเป็น วงแหวน  โดยด้านหนึ่งเป็นตัวรับสัญญาณและอีกด้านหนึ่งเป็นตัวส่งสัญญาณ  การเชื่อมต่อแบบนี้ทำให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องสามารถส่งข้อมูลถึงกันได้  โดยผ่านเส้นทางวงแหวนนี้    การติดต่อสื่อสารแบบนี้จะมีการจัดลำดับให้ผลัดกันส่งเพื่อว่าจะได้ไม่สับสน โทเก็นริงที่ใช้กันอยู่ในขณะนี้มีความเร็วในการรับส่งสัญญาณได้ 16 ล้านบิตต่อวินาที  ข้อมูลแต่ละชุดจะมี การกำหนดตำแหน่งแน่นอนว่ามาจากสถานีใด และจะส่งไปที่สถานีใด
  • 19. 3.สวิตชิง (Switching) สวิตชิง เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนามาเพื่อให้สามารถรับส่งข้อมูลระหว่างสถานีทำได้เร็วยิ่งขึ้น  การคัดเลือกข้อมูลที่ส่งมาและส่งไปยังสถานีปลายทางจะกระทำที่ชุมสายกลางที่เรียกว่า  สวิตชิง  รูปแบบของเครือข่ายจะมีลักษณะเป็นแบบดาว ซึ่งโครงสร้างนี้จะเหมือนกับแบบอีเทอร์เน็ตที่มีฮับเป็นศูนย์กลาง  แต่แตกต่างกันที่ฮับเป็นจุดร่วมของสายสัญญาณที่จะต่อกระจายไปยังทุกสาย  สวิตชิงจะเลือกการสลับสัญญาณไปยังตำแหน่งที่ต้องการเท่านั้น  ทำให้รับส่งสัญญาณไม่มีปัญหาเรื่องการชนกันของข้อมูล  อุปกรณ์ที่ใช้ในการสวิตชิง มีหลายแบบ เช่น อีเทอร์เน็ตสวิตซ์ และเอทีเอ็มสวิตซ์             เอทีเอ็มสวิตซ์เป็นอุปกรณ์การสลับสายสัญญาณในการรับส่งข้อมูลที่มีการรับส่งกันเป็นชุด ๆ  ข้อมูลแต่ละชุดเรียกว่า  เซล  มีขนาดจำกัด  การสวิตชิงแบบเอทีเอ็มทำให้ข้อมูลจากสถานีหนึ่งไปยังอีกสถานีหนึ่งดำเนินไปอย่างรวดเร็ว  ซึ่งกำลังได้รับความสนใจและมีแนวโน้มจะได้รับความนิยมมากขึ้น 
  • 20. การใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างการใช้งานเครือข่าย 1.การใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน        งานขององค์กรบางอย่างมีความจำเป็นต้องใช้ข้อมูลชุดเดียวกัน  ถ้าแต่ละฝ่ายทำการหาหรือรวบรวมข้อมูลเอง  ข้อมูลอาจ จะมีความคลาดเคลื่อนไม่ตรงกันก็ได้  และยังทำให้สิ้นเปลืองทรัพยากรบุคคลและวัสดุอุปกรณ์สิ้นเปลืองเวลาอีกด้วย  แต่ถ้ามีการจัดเก็บข้อมูลที่ดี  มีสถานีให้บริการเก็บข้อมูล  แล้วให้ผู้ใช้บริการในองค์กร นั้นดึงข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายไปใช้  ก็จะประหยัดค่าใช้จ่ายด้านต่าง ๆ ได้  นอกจากนั้นยังสามารถใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ เช่น  เครื่องพิมพ์  เครื่องสแกน  กล้องดิจิตอล  ฯลฯ 
  • 21. 2.การติดต่อสื่อสารระหว่างกันบนเครือข่าย     เมื่อมีการเชื่อมโยงอุปกรณ์เข้าด้วยกัน  ผู้ใช้ ทุกคนที่อยู่บนเครือข่าย จะสามารถ ติดต่อสื่อสารระหว่างกันสามารถส่ง ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิคส์ระหว่างกัน  ตลอดจนสามารถโอนย้ายข้อมูลระหว่างกันได้ 3.สำนักงานอัตโนมัติ     แนวคิดของสำนักงานสมัยใหม่  ก็คือ  ลดการใช้กระดาษ  หันมาใช้ระบบการทำงาน ด้วยคอมพิวเตอร์ที่สามารถ แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ทันทีทันใด  ระบบสำนักงานอัตโนมัติ จึงเป็นระบบการทำงานที่เปรียบเสมือน โต๊ะทำงาน  ทำให้เกิดความคล่องตัว  และรวดเร็ว
  • 22. ตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เมื่อเทคโนโลยีเครือข่ายได้รับการพัฒนาโดยเฉพาะมีการประยุกต์ใช้งานบนเครือข่ายอย่างกว้างขวาง  ทำให้เครือข่าย คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายเดียวกัน  เรียกว่า  อินเทอร์เน็ต   ขณะเดียวกันในองค์กรแต่ละองค์กร ก็มีการพัฒนาเครือข่ายของตนเองและประยุกต์ใช้กับงานเฉพาะในองค์กร เรียกว่าอินทราเน็ต  ดังนั้น  อินเทอร์เน็ตจึง แตกต่างจากอินทราเน็ตตรงที่ขอบเขตของการเชื่อมโยง  ส่วนมาตรฐานและวิธีการเชื่อมโยงยังคงเป็นมาตรฐานเดียวกัน     
  • 23. อินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตพัฒนามาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512  โดยกระทรวงกลาโหมประเทศสหรัฐอเมริกาให้ทุนกับมหาวิทยาลัย สมัยแรกใช้ชื่อว่า  อาร์ปาเน็ต  และจึงมีการเปลี่ยนชื่อเป็น อินเทอร์เน็ตในภายหลัง  เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนาให้เป็นมาตรฐาน  โดยมาตรฐานการรับส่งข้อมูลมีชื่อว่า   ทีซีพี/ไอพี (TCP/IP)  การกำหนดตำแหน่งอุปกรณ์ด้วยรหัสหมายเลขที่เรียกว่า แอดเดรส  กำหนดรหัสแอดเดรสเรียกว่า ไอพีแอดเดรส และถือเป็นรหัสสากลที่ไม่ซ้ำกันเลย  ไอพีแอดเดรสจะประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด โดยเน้นเป็นรหัสของเครือข่ายและรหัสของอุปกรณ์  เช่น  รหัสแทนเครือข่ายของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ใช้รหัส 158.108 
  • 24. ส่วนรหัสของเครื่องจะมีอีกสองพิกัดตามมา  เช่น  2.71  เมื่อเขียนรวมกันจะได้  158.108.2.71  เพื่อให้จดจำได้ง่ายจึงมีการตั้งชื่อคู่กับหมายเลข  เราเรียกชื่อนี้ว่า โดเมน  เช่น ku.ac.th  โดย thหมายถึงประเทศไทย ac หมายถึงสถาบันการศึกษาและ ku  หมายถึง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์   และถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ในเครือข่ายหลายเครื่อง  ก็ให้มีการตั้งชื่อเครื่องด้วย  เช่น  nontri เมื่อมีการเรียกรวมกันก็จะเป็นnontri.ku.ac.th การใช้ชื่อนี้ทำให้ใช้งานง่ายกว่าตัวเลข  เมื่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงกันได้ทั่วโลก  ทำให้โลกไร้พรมแดน ข้อมูล ข่าวสารต่าง ๆ สามารถสื่อถึงได้อย่าง รวดเร็ว 
  • 25. ตัวอย่างการใช้งานบนอินเทอร์เน็ต 1.การรับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิคส์ 2.การโอนย้ายแฟ้มข้อมูลระหว่างกัน 3.การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในที่ห่างไกล 4.การเรียกค้นข้อมูลข่าวสาร 5.การอ่านจากกลุ่มข่าว 6.การสนทนาบนเครือข่าย 7.การบริการสถานีวิทยุและโทรทัศน์บนเครือข่าย    
  • 26. อินทราเน็ต     เมื่ออินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนามาจนเป็นที่ยอมรับและแพร่หลาย  จึงมีผู้ต้องการสร้างเครือข่ายใช้งานเฉพาะในองค์กร   โดยนำวิธีการในอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้กับเครือข่ายของตนเอง เครือข่ายที่ใช้งานเฉพาะในองค์การนี้จึงเรียกว่า  เครือข่ายอินทราเน็ต      การประยุกต์ใช้บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตใช้หลักการที่มีสถานีให้บริการ และสถานีผู้ใช้บริการ  สถานีผู้ใช้บริการมีโปรแกรมเชื่อมต่อที่ทำให้ใช้งานระบบฐานข้อมูลได้ง่าย อินทราเน็ตจึงใช้วิธีการเดียวกันนี้   เพราะทำให้ผู้ใช้ไม่ต้องเสียเวลาในการเรียนรู้การพัฒนาขึ้น และพร้อมที่จะเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต