SlideShare a Scribd company logo
ระบบปฏิบัติการ และ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
  ระบบปฏิบัติการ หรือที่เรียกย่อ ๆ ว่า โอเอส  ( Operating System : OS)   เป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุก เครื่องจะต้องมีซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบัติการนี้ ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดีเช่น
DOS  เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้คำสั่งเป็นตัวอักษร เป็นซอฟต์แวร์ที่รู้จักกันดีในหมู่ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์     Windows  ระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส  เพื่อเน้นการใช้งานที่ง่ายขึ้น  สามารถทำงานหลายงานพร้อม กันได้  การใช้งานเน้นรูปแบบกราฟิก หน่วยที่ปรากฏบนจอภาพ ทำให้ใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ง่าย วินโดวส์จึงได้รับความนิยมในปัจจุบัน
OS/2  เป็นระบบปฏิบัติการแบบเดียวกับวินโดวส์ แต่บริษัทผู้พัฒนาคือ บริษัทไอบีเอ็ม เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้ทำงานได้หลายงานพร้อมกัน และใช้งานแบบกราฟิกเช่นเดียวกับวินโดวส์ ปัจจุบันไม่มีการใช้งานกันแล้ว     Unix  ระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับ เครื่องมินิคอมพิวเตอร์  ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์เป็น ระบบปฏิบัติการที่สามารถใช้งานได้หลายงานพร้อมกัน ยูนิกซ์จึงใช้ได้กับเครื่องที่เชื่อมโยงและต่อกับเครื่องปลายทางได้หลายเครื่องพร้อมกัน
ส่วนประกอบต่างๆของ  Windows หน้าต่างเริ่มแรกในการเข้าทำงานของ   Windows  เราเรียกว่า  Desktop  ซึ่งประกอบด้วยหลายๆ ส่วน แต่ละส่วนจะทำหน้าที่ต่างกัน การสั่งงานจะใช้เมาส์ ซึ่งเป็นอุปกรณ์สำหรับนอกเหนือจาก แป้นพิมพ์หรือคีย์บอร์ดในการสั่งงาน เราสามารถใช้เมาส์คลิก  ( กด )  คำสั่งต่าง ๆ ใน  Windows  ซึ่งจะมีรูปภาพเล็กๆ  ( ไอคอน )  ประกอบ
คำสั่งพิเศษ  :  เราสามารถคลิกเมาส์ปุ่มด้านขวา จะมีเมนูพิเศษของ   Windows  ซ่อนอยู่ เพื่อใช้สำหรับเรียกใช้คำสั่งที่มักมีการเรียกใช้งาน บ่อยๆ
ส่วนประกอบของ  Windows  1.Start -  คลิกปุ่มนี้ จะมีเมนูแสดงขึ้นมา   2.Desktop -  บริเวณ พื้นที่ของ  Windows  เพื่อแสดง   ไอคอน หรือ โปรแกรมที่เราเรียกใช้งาน   3.Task Bar -  บริเวณที่แสดงว่ามีโปรแกรมใดทำงานค้างอยู่
4. Icons  -  รูปภาพแทนคำสั่ง สำหรับไอคอนพื้นฐาน ได้แก่  ( บางไอคอนมีเฉพาะใน  Windows 98)  - My Computer  ไอคอนแสดงดิสก์ไดร์ฟในเครื่องคอมฯของคุณ   - My Document  เก็บตำแหน่งของเอกสารที่มีการเปิดใช้งาน - Internet Explorer  เว็บ บราวเซอร์สำหรับเล่น  WWW - Recycle Bin  ถังขยะสำหรับ เก็บไฟล์ที่มีการลบ สามารถ กู้  คืนกลับมาได้ - Outlook Express  โปรแกรมสำหรับรับ - ส่ง อีเมล์   - Network Neighborhood  ไอคอนแสดงระบบเครือข่าย หรือกลุ่มคอมพิวเตอร์ของคุณ
การเปิด - ปิด  Windows  Open Windows -  เปิดคอมพิวเตอร์ โปรแกรมจะเข้า  Windows  อัตโนมัติ   Close Windows -  ใช้เมาส์คลิกปุ่ม  Start  เลือกคำสั่ง  Shut  down  เลือกคำสั่ง   Shut  down  อีกครั้ง
ขั้นตอนการเปิด - ปิด  Windows ขั้นตอนการปิดเครื่องในลักษณะต่าง ๆ 1. คลิกปุ่ม  Start  เลือก  Shutdown  2. ถ้าเป็น  95, 98  จะมีปุ่ม ให้คลิกเลือก สำหรับความหมายแต่คำสั่งมีดังนี้   - Shutdown :  ปิด เครื่องทันที   - Restart :  ให้เริ่มเข้า  windows  ใหม่  ( ใช้กรณีมีปัญหาการใช้  windows)  - Stand by :  ให้เข้าระบบพักเครื่อง   3. หลังจากเลือกหัวข้อที่ ต้องการแล้ว ให้คลิกปุ่ม  OK
4. รอจนกระทั่ง  Windows  ถูกปิดไป  5. คำแนะนำ  ::  ห้ามปิดเครื่อง โดยไม่  Shutdown Windows  ทั้งนี้อาจะทำให้ไม่สามารถเข้า  Windows  ได้อีก   6. ยกเว้นกรณีเครื่อง  Hank  หรือ กดปุ่มใด ๆ ไม่ได้ ให้ กดปุ่ม  Power  เพื่อทำการปิดได้
การปรับแต่งหน้าตาของ  Windows   เราสามารถปรับแต่งหน้าตาของ  Windows  ในรูปแบบของเราได้ ไม่ว่าจะเป็น  Wallpaper, Screen Saver,  และแม้แต่ รูปแบบตัวอักษร ตลอดจนขนาดของ หน้าตา และอื่น ๆ อีกมากมาย โดยการเข้าคลิกขวา บริเวณหน้าจอ  ( Desktop)  จากนั้นเลือกคำสั่ง  Properties
รายละเอียดแต่ละคำสั่งบนแท็ป   1.Background -  สำหรับปรับแต่ง  Wallpaper  ของหน้าจอภาพ หรือ  Desktop  2.Screen Saver -  สำหรับปรับเปลี่ยนโปรแกรมพักหน้าจอ สามารถกำหนดระยะเวลา ให้แสดง   Screen Saver  ได้   3.Appearance -  แสดง รูปแบบ ขนาดตัวอักษร  4.Effects -  สำหรับปรับขนาดไอคอน รูปแบบการแสดงเมนู   5.Web -  สำหรับแสดงหน้า  Desktop  ในรูปแบบของ  Web  6.Settings -  สำหรับกำหนดขนาดของหน้าจอ และจำนวนสีที่แสดง
การปรับเปลี่ยน  Background  1. คลิกแท็ป  Background  2. บริเวณ  Select a background picture  เลือกรูปแบบที่เราต้องการ หรือ   3. คลิกคำสั่ง  Browse  เพื่อกำหนดตำแหน่งของไฟล์ภาพอื่นๆ ที่เราต้องการนำมาแสดงเป็น   Wallpaper  การปรับเปลี่ยน  Settings  1. คลิกแท็ป  Settings   2. คลิกเลือกจำนวนสีที่ต้องการ ถ้าทำได้ควรกำหนดสีอย่างน้อย  256  สีขึ้นไป   3.Screen Area  สำหรับกำหนด ขนาดของหน้าจอ ขนาด มาตรฐานที่นิยมใช้คือ  800 by 600
ทำความรู้จัก  Control Panel   Control Panel  ที่เป็นที่เก็บโปรแกรมสำคัญๆ ของ  Windows  เป็น โปรแกรมที่เกี่ยวกับการควบคุมการ ทำงานของ  Windows  ทั้งหมด  ถ้าต้องการเปลี่ยนแปลง เพิ่มเติม อุปกรณ์หรือจัดการอะไรเกี่ยวกับ   Windows  ต้องใช้บริการในส่วนของ  Control Panel  เสมอ
การเรียกใช้  Control Panel  1. คลิกปุ่ม  Start  2. คลิกเมนู  Settings    คลิกเลือก  Control Panel   จะเห็นว่า มีไอคอน ต่างๆ มากมายที่อยู่ภายใต้  Control Panel  นี้
การจัดการไฟล์ ด้วย  Windows Explorer   Windows Explorer  เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการเข้าถึงไฟล์ โฟลเดอร์ และไดร์ฟต่างๆ ภายในเครื่องคอมฯ ของเรา โดยหน้าต่างทางซ้ายมือ จะแสดงรายชื่อ ไดร์ฟ และโฟลเดอร์  ส่วนหน้าต่างทางขวามือจะแสดงรายชื่อโฟลเดอร์ และรายละเอียดของชื่อไฟล์แต่ละไฟล์ นอกจากนี้เรายังสามารถกำหนดให้แสดงรายละเอียดในรูปแบบต่างๆ กันได้
การเรียกใช้  Windows Explorer  1, เรียกจากเมนู  Start  2. คลิกเมนู  Programs  3. คลิกเลือก  Accessories  เลือก  Windows Explorer ( สำหรับ  Windows ME)  4. หรือสามารถเรียกได้จาก  คลิกไอคอนที่  My Computer   5. คลิกขวา เลือก  Explore  6. กรณีต้องการปรับเปลี่ยนการดูรายชื่อ ไฟล์และโฟลเดอร์ ให้คลิกเมนู  View  เลือก  Large  Icons, Small  Icons, List, Details
การปรับแต่งไอคอน บน  Desktop   1. เปลี่ยนชื่อไอคอน   2. ลบไอคอน   3. จัดเรียงไอคอน     4. เปลี่ยนไอคอน  ความสำคัญของ เครือข่ายคอมพิวเตอร์   เครือข่ายคอมพิวเตอร์มี บทบาทที่สำคัญต่อหน่วยงานต่างๆ   ดังนี้ 1.   ทำให้เกิดการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม และสามารถทำงานพร้อมกัน 2.   ให้สามารถใช้ข้อมูลต่างๆ ร่วมกัน ทำให้องค์การได้รับประโยชน์มากขึ้น 3.   ทำให้สามารถใช้ทรัพยากรได้คุ้มค่า   4.   ทำให้ลดต้นทุน เพราะการลงทุน สามารถลงทุนให้เหมาะสม กับหน่วยงานได้
ชนิดของเครือข่าย                เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งแยกตามสภาพการเชื่อมโยงได้  2  ชนิด         -   เครือข่ายแลน  ( Local Area Network : LAN)   หรือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท้องถิ่นเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ สื่อสารที่อยู่ในท้องที่ บริเวณเดียวกันเข้า ด้วยกัน          -   เครือข่ายแวน  ( Wide Area Network : WAN   เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ในระยะไกล    เช่น    เชื่อมโยงระหว่างจังหวัด    ระหว่างประเทศ    การสร้างเครือข่ายระยะไกล จึงต้อง อาศัยระบบบริการ ข่ายสายสาธารณะ  
เทคโนโลยีเครือข่ายแลน   เทคโนโลยีเครือข่ายแลนจึงมีหลากหลาย เครือข่ายแลนที่น่าสนใจ เช่น    อีเทอร์เน็ต  ( Ethernet)   พัฒนามาจากโครงสร้างการเชื่อมต่อแบบสายสัญญาณร่วมที่เรียกว่า บัส  ( Bus)     โดยใช้สายสัญญาณแบบแกนร่วม คือ สายโคแอกเชียล   มีลักษณะแบบดาว     โทเก็นริง   (Token Ring)   โทเก็นริง เป็นเครือข่ายที่บริษัท ไอบีเอ็ม  พัฒนาขึ้น    รูปแบบการ เชื่อมโยงจะเป็น  วง แหวน     และ สวิตชิง  ( Switching)  สวิตชิง เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนามาเพื่อให้สามารถรับส่งข้อมูลระหว่างสถานีทำได้เร็วยิ่งขึ้น    รูปแบบของเครือข่ายแบบนี้ จะมีลักษณะ เป็นแบบ ดาว     ข้อมูลแต่ละชุดเรียกว่า    เซล    มีขนาดจำกัด                    
การใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์   เครือข่ายแลนหนึ่งเครือข่ายจะมีการทำงานกันเป็นกลุ่ม เรียกว่า กลุ่มงาน   (Workgroup)   แต่เมื่อเชื่อมโยงหลาย ๆ    กลุ่มงานเข้าด้วยกันก็ จะเป็นเครือข่ายขององค์กร    ตัวอย่าง การใช้งานเครือข่าย   1. การใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน   2.   การติดต่อสื่อสารระหว่างกันบนเครือข่าย 3.   สำนักงานอัตโนมัติ     
ตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์  1. อินเทอร์เน็ต ตัวอย่างการใช้งานบนอินเทอร์เน็ต   -   การรับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิคส์  - การโอนย้ายแฟ้มข้อมูลระหว่างกัน  - การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ในที่ห่างไกล  - การเรียกค้นข้อมูล ข่าวสาร  - การอ่านจากกลุ่มข่าว  - การสนทนาบนเครือข่าย  - การบริการสถานีวิทยุและโทรทัศน์บนเครือข่าย 2.   อินทราเน็ต   นำวิธีการในอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้กับเครือข่ายของตนเอง เครือข่ายที่ใช้งาน เฉพาะในองค์การนี้จึง เรียกว่า    เครือข่ายอินทราเน็ต   
โดย นางสาว วนัสนันท์  เทศขำ ชั้น ม .6/2  เลขที่   36

More Related Content

What's hot

ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์Aphison Pukon
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอมระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอมLookked2122
 
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 ระบบปฏิบัติการ.Ppt  ระบบปฏิบัติการ.Ppt
ระบบปฏิบัติการ.Ppt onthicha1993
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการnattarikaii
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการnattarikaii
 
ระบบปฏิบั..[1] แมว
ระบบปฏิบั..[1] แมวระบบปฏิบั..[1] แมว
ระบบปฏิบั..[1] แมวPheeranan Thetkham
 
ระบบปฏิบั..[1]
ระบบปฏิบั..[1]ระบบปฏิบั..[1]
ระบบปฏิบั..[1]Pheeranan Thetkham
 
ระบบปฏิบั..[1] ขาว
ระบบปฏิบั..[1] ขาวระบบปฏิบั..[1] ขาว
ระบบปฏิบั..[1] ขาวMilkSick
 
ระบบปฏิบั..[1] ขาว
ระบบปฏิบั..[1] ขาวระบบปฏิบั..[1] ขาว
ระบบปฏิบั..[1] ขาวMilkSick
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการWirot Chantharoek
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการNart-Anong Srinak
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯkachornchit_maprang
 
กัน
กันกัน
กันsastraa
 
กัน
กันกัน
กันsastraa
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการRawiwan Kashornchan
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการNart-Anong Srinak
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯkachornchit_maprang
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการwannuka24
 

What's hot (18)

ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอมระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
 
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 ระบบปฏิบัติการ.Ppt  ระบบปฏิบัติการ.Ppt
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบั..[1] แมว
ระบบปฏิบั..[1] แมวระบบปฏิบั..[1] แมว
ระบบปฏิบั..[1] แมว
 
ระบบปฏิบั..[1]
ระบบปฏิบั..[1]ระบบปฏิบั..[1]
ระบบปฏิบั..[1]
 
ระบบปฏิบั..[1] ขาว
ระบบปฏิบั..[1] ขาวระบบปฏิบั..[1] ขาว
ระบบปฏิบั..[1] ขาว
 
ระบบปฏิบั..[1] ขาว
ระบบปฏิบั..[1] ขาวระบบปฏิบั..[1] ขาว
ระบบปฏิบั..[1] ขาว
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
 
กัน
กันกัน
กัน
 
กัน
กันกัน
กัน
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 

Viewers also liked

Musique et image en bibliothèque
Musique et image en bibliothèqueMusique et image en bibliothèque
Musique et image en bibliothèqueKing Khraü
 
Les plateformes de streaming musique en France
Les plateformes de streaming musique en FranceLes plateformes de streaming musique en France
Les plateformes de streaming musique en France
christophe Neny
 
Musique et médias sociaux en bibliothèque
Musique et médias sociaux en bibliothèqueMusique et médias sociaux en bibliothèque
Musique et médias sociaux en bibliothèque
Nicolas Blondeau
 
Panorama du numérique en bibliotheque
Panorama du numérique en bibliothequePanorama du numérique en bibliotheque
Panorama du numérique en bibliotheque
Flora Gousset
 
Musique en bibliothèque, de nouvelles formes de vie ?
Musique en bibliothèque, de nouvelles formes de vie ?Musique en bibliothèque, de nouvelles formes de vie ?
Musique en bibliothèque, de nouvelles formes de vie ?
Nicolas Blondeau
 
1 panorama 2015 lecture numérique & terminaux mobiles en bibliothèques
1 panorama 2015 lecture numérique & terminaux mobiles en bibliothèques1 panorama 2015 lecture numérique & terminaux mobiles en bibliothèques
1 panorama 2015 lecture numérique & terminaux mobiles en bibliothèques
catherine muller
 
Utilisation de nouveaux supports numériques en médiathèque
Utilisation de nouveaux supports numériques en médiathèqueUtilisation de nouveaux supports numériques en médiathèque
Utilisation de nouveaux supports numériques en médiathèque
cspirin
 
Soutenance mémoire de fin d'études
Soutenance mémoire de fin d'étudesSoutenance mémoire de fin d'études
Soutenance mémoire de fin d'études
Fabrice HAUHOUOT
 

Viewers also liked (8)

Musique et image en bibliothèque
Musique et image en bibliothèqueMusique et image en bibliothèque
Musique et image en bibliothèque
 
Les plateformes de streaming musique en France
Les plateformes de streaming musique en FranceLes plateformes de streaming musique en France
Les plateformes de streaming musique en France
 
Musique et médias sociaux en bibliothèque
Musique et médias sociaux en bibliothèqueMusique et médias sociaux en bibliothèque
Musique et médias sociaux en bibliothèque
 
Panorama du numérique en bibliotheque
Panorama du numérique en bibliothequePanorama du numérique en bibliotheque
Panorama du numérique en bibliotheque
 
Musique en bibliothèque, de nouvelles formes de vie ?
Musique en bibliothèque, de nouvelles formes de vie ?Musique en bibliothèque, de nouvelles formes de vie ?
Musique en bibliothèque, de nouvelles formes de vie ?
 
1 panorama 2015 lecture numérique & terminaux mobiles en bibliothèques
1 panorama 2015 lecture numérique & terminaux mobiles en bibliothèques1 panorama 2015 lecture numérique & terminaux mobiles en bibliothèques
1 panorama 2015 lecture numérique & terminaux mobiles en bibliothèques
 
Utilisation de nouveaux supports numériques en médiathèque
Utilisation de nouveaux supports numériques en médiathèqueUtilisation de nouveaux supports numériques en médiathèque
Utilisation de nouveaux supports numériques en médiathèque
 
Soutenance mémoire de fin d'études
Soutenance mémoire de fin d'étudesSoutenance mémoire de fin d'études
Soutenance mémoire de fin d'études
 

Similar to ระบบปฏิบัติการ เตย

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1wachee_4
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯkachornchit_maprang
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯkachornchit_maprang
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการNart-Anong Srinak
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการNart-Anong Srinak
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการwannuka24
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการwannuka24
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการNart-Anong Srinak
 
ระบบปฎิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์0200มิ้ม
ระบบปฎิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์0200มิ้มระบบปฎิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์0200มิ้ม
ระบบปฎิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์0200มิ้มnoooom
 
ระบบปฎิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์0200มิ้ม
ระบบปฎิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์0200มิ้มระบบปฎิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์0200มิ้ม
ระบบปฎิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์0200มิ้มnoooom
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการrunjaun
 
ดาวรรณ
ดาวรรณดาวรรณ
ดาวรรณpanida21
 
ของกชกร
ของกชกรของกชกร
ของกชกรgotchagon
 
ของอารีรัตน์
ของอารีรัตน์ของอารีรัตน์
ของอารีรัตน์Ammarirat
 
ของอารีรัตน์
ของอารีรัตน์ของอารีรัตน์
ของอารีรัตน์Ammarirat
 
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 ระบบปฏิบัติการ.Ppt  ระบบปฏิบัติการ.Ppt
ระบบปฏิบัติการ.Ppt onthicha1993
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการvgame_emagv
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการSakonwan947
 

Similar to ระบบปฏิบัติการ เตย (19)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฎิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์0200มิ้ม
ระบบปฎิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์0200มิ้มระบบปฎิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์0200มิ้ม
ระบบปฎิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์0200มิ้ม
 
ระบบปฎิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์0200มิ้ม
ระบบปฎิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์0200มิ้มระบบปฎิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์0200มิ้ม
ระบบปฎิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์0200มิ้ม
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ดาวรรณ
ดาวรรณดาวรรณ
ดาวรรณ
 
ของกชกร
ของกชกรของกชกร
ของกชกร
 
ของอารีรัตน์
ของอารีรัตน์ของอารีรัตน์
ของอารีรัตน์
 
ของอารีรัตน์
ของอารีรัตน์ของอารีรัตน์
ของอารีรัตน์
 
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 ระบบปฏิบัติการ.Ppt  ระบบปฏิบัติการ.Ppt
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 

More from Toey_Wanatsanan

ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1Toey_Wanatsanan
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการToey_Wanatsanan
 
แนะนำตัว
แนะนำตัวแนะนำตัว
แนะนำตัวToey_Wanatsanan
 
แนะนำตัว
แนะนำตัวแนะนำตัว
แนะนำตัวToey_Wanatsanan
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2Toey_Wanatsanan
 
แนะนำตัว เตย
แนะนำตัว เตยแนะนำตัว เตย
แนะนำตัว เตยToey_Wanatsanan
 
แนะนำตัว เตย
แนะนำตัว เตยแนะนำตัว เตย
แนะนำตัว เตยToey_Wanatsanan
 

More from Toey_Wanatsanan (8)

ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
แนะนำตัว
แนะนำตัวแนะนำตัว
แนะนำตัว
 
แนะนำตัว
แนะนำตัวแนะนำตัว
แนะนำตัว
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
แนะนำตัว เตย
แนะนำตัว เตยแนะนำตัว เตย
แนะนำตัว เตย
 
แนะนำตัว เตย
แนะนำตัว เตยแนะนำตัว เตย
แนะนำตัว เตย
 
ชื่อ น
ชื่อ นชื่อ น
ชื่อ น
 

ระบบปฏิบัติการ เตย

  • 2. ระบบปฏิบัติการ หรือที่เรียกย่อ ๆ ว่า โอเอส ( Operating System : OS) เป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุก เครื่องจะต้องมีซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบัติการนี้ ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดีเช่น
  • 3. DOS เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้คำสั่งเป็นตัวอักษร เป็นซอฟต์แวร์ที่รู้จักกันดีในหมู่ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ Windows ระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส เพื่อเน้นการใช้งานที่ง่ายขึ้น สามารถทำงานหลายงานพร้อม กันได้ การใช้งานเน้นรูปแบบกราฟิก หน่วยที่ปรากฏบนจอภาพ ทำให้ใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ง่าย วินโดวส์จึงได้รับความนิยมในปัจจุบัน
  • 4. OS/2 เป็นระบบปฏิบัติการแบบเดียวกับวินโดวส์ แต่บริษัทผู้พัฒนาคือ บริษัทไอบีเอ็ม เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้ทำงานได้หลายงานพร้อมกัน และใช้งานแบบกราฟิกเช่นเดียวกับวินโดวส์ ปัจจุบันไม่มีการใช้งานกันแล้ว Unix ระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับ เครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์เป็น ระบบปฏิบัติการที่สามารถใช้งานได้หลายงานพร้อมกัน ยูนิกซ์จึงใช้ได้กับเครื่องที่เชื่อมโยงและต่อกับเครื่องปลายทางได้หลายเครื่องพร้อมกัน
  • 5. ส่วนประกอบต่างๆของ Windows หน้าต่างเริ่มแรกในการเข้าทำงานของ Windows เราเรียกว่า Desktop ซึ่งประกอบด้วยหลายๆ ส่วน แต่ละส่วนจะทำหน้าที่ต่างกัน การสั่งงานจะใช้เมาส์ ซึ่งเป็นอุปกรณ์สำหรับนอกเหนือจาก แป้นพิมพ์หรือคีย์บอร์ดในการสั่งงาน เราสามารถใช้เมาส์คลิก ( กด ) คำสั่งต่าง ๆ ใน Windows ซึ่งจะมีรูปภาพเล็กๆ ( ไอคอน ) ประกอบ
  • 6. คำสั่งพิเศษ : เราสามารถคลิกเมาส์ปุ่มด้านขวา จะมีเมนูพิเศษของ Windows ซ่อนอยู่ เพื่อใช้สำหรับเรียกใช้คำสั่งที่มักมีการเรียกใช้งาน บ่อยๆ
  • 7. ส่วนประกอบของ Windows 1.Start - คลิกปุ่มนี้ จะมีเมนูแสดงขึ้นมา 2.Desktop - บริเวณ พื้นที่ของ Windows เพื่อแสดง ไอคอน หรือ โปรแกรมที่เราเรียกใช้งาน 3.Task Bar - บริเวณที่แสดงว่ามีโปรแกรมใดทำงานค้างอยู่
  • 8. 4. Icons - รูปภาพแทนคำสั่ง สำหรับไอคอนพื้นฐาน ได้แก่ ( บางไอคอนมีเฉพาะใน Windows 98) - My Computer ไอคอนแสดงดิสก์ไดร์ฟในเครื่องคอมฯของคุณ - My Document เก็บตำแหน่งของเอกสารที่มีการเปิดใช้งาน - Internet Explorer เว็บ บราวเซอร์สำหรับเล่น WWW - Recycle Bin ถังขยะสำหรับ เก็บไฟล์ที่มีการลบ สามารถ กู้ คืนกลับมาได้ - Outlook Express โปรแกรมสำหรับรับ - ส่ง อีเมล์ - Network Neighborhood ไอคอนแสดงระบบเครือข่าย หรือกลุ่มคอมพิวเตอร์ของคุณ
  • 9. การเปิด - ปิด Windows Open Windows - เปิดคอมพิวเตอร์ โปรแกรมจะเข้า Windows อัตโนมัติ Close Windows - ใช้เมาส์คลิกปุ่ม Start เลือกคำสั่ง Shut down เลือกคำสั่ง Shut down อีกครั้ง
  • 10. ขั้นตอนการเปิด - ปิด Windows ขั้นตอนการปิดเครื่องในลักษณะต่าง ๆ 1. คลิกปุ่ม Start เลือก Shutdown 2. ถ้าเป็น 95, 98 จะมีปุ่ม ให้คลิกเลือก สำหรับความหมายแต่คำสั่งมีดังนี้ - Shutdown : ปิด เครื่องทันที - Restart : ให้เริ่มเข้า windows ใหม่ ( ใช้กรณีมีปัญหาการใช้ windows) - Stand by : ให้เข้าระบบพักเครื่อง 3. หลังจากเลือกหัวข้อที่ ต้องการแล้ว ให้คลิกปุ่ม OK
  • 11. 4. รอจนกระทั่ง Windows ถูกปิดไป 5. คำแนะนำ :: ห้ามปิดเครื่อง โดยไม่ Shutdown Windows ทั้งนี้อาจะทำให้ไม่สามารถเข้า Windows ได้อีก 6. ยกเว้นกรณีเครื่อง Hank หรือ กดปุ่มใด ๆ ไม่ได้ ให้ กดปุ่ม Power เพื่อทำการปิดได้
  • 12. การปรับแต่งหน้าตาของ Windows เราสามารถปรับแต่งหน้าตาของ Windows ในรูปแบบของเราได้ ไม่ว่าจะเป็น Wallpaper, Screen Saver, และแม้แต่ รูปแบบตัวอักษร ตลอดจนขนาดของ หน้าตา และอื่น ๆ อีกมากมาย โดยการเข้าคลิกขวา บริเวณหน้าจอ ( Desktop) จากนั้นเลือกคำสั่ง Properties
  • 13. รายละเอียดแต่ละคำสั่งบนแท็ป 1.Background - สำหรับปรับแต่ง Wallpaper ของหน้าจอภาพ หรือ Desktop 2.Screen Saver - สำหรับปรับเปลี่ยนโปรแกรมพักหน้าจอ สามารถกำหนดระยะเวลา ให้แสดง Screen Saver ได้ 3.Appearance - แสดง รูปแบบ ขนาดตัวอักษร 4.Effects - สำหรับปรับขนาดไอคอน รูปแบบการแสดงเมนู 5.Web - สำหรับแสดงหน้า Desktop ในรูปแบบของ Web 6.Settings - สำหรับกำหนดขนาดของหน้าจอ และจำนวนสีที่แสดง
  • 14. การปรับเปลี่ยน Background 1. คลิกแท็ป Background 2. บริเวณ Select a background picture เลือกรูปแบบที่เราต้องการ หรือ 3. คลิกคำสั่ง Browse เพื่อกำหนดตำแหน่งของไฟล์ภาพอื่นๆ ที่เราต้องการนำมาแสดงเป็น Wallpaper การปรับเปลี่ยน Settings 1. คลิกแท็ป Settings 2. คลิกเลือกจำนวนสีที่ต้องการ ถ้าทำได้ควรกำหนดสีอย่างน้อย 256 สีขึ้นไป 3.Screen Area สำหรับกำหนด ขนาดของหน้าจอ ขนาด มาตรฐานที่นิยมใช้คือ 800 by 600
  • 15. ทำความรู้จัก Control Panel Control Panel ที่เป็นที่เก็บโปรแกรมสำคัญๆ ของ Windows เป็น โปรแกรมที่เกี่ยวกับการควบคุมการ ทำงานของ Windows ทั้งหมด ถ้าต้องการเปลี่ยนแปลง เพิ่มเติม อุปกรณ์หรือจัดการอะไรเกี่ยวกับ Windows ต้องใช้บริการในส่วนของ Control Panel เสมอ
  • 16. การเรียกใช้ Control Panel 1. คลิกปุ่ม Start 2. คลิกเมนู Settings คลิกเลือก Control Panel จะเห็นว่า มีไอคอน ต่างๆ มากมายที่อยู่ภายใต้ Control Panel นี้
  • 17. การจัดการไฟล์ ด้วย Windows Explorer Windows Explorer เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการเข้าถึงไฟล์ โฟลเดอร์ และไดร์ฟต่างๆ ภายในเครื่องคอมฯ ของเรา โดยหน้าต่างทางซ้ายมือ จะแสดงรายชื่อ ไดร์ฟ และโฟลเดอร์ ส่วนหน้าต่างทางขวามือจะแสดงรายชื่อโฟลเดอร์ และรายละเอียดของชื่อไฟล์แต่ละไฟล์ นอกจากนี้เรายังสามารถกำหนดให้แสดงรายละเอียดในรูปแบบต่างๆ กันได้
  • 18. การเรียกใช้ Windows Explorer 1, เรียกจากเมนู Start 2. คลิกเมนู Programs 3. คลิกเลือก Accessories เลือก Windows Explorer ( สำหรับ Windows ME) 4. หรือสามารถเรียกได้จาก คลิกไอคอนที่ My Computer 5. คลิกขวา เลือก Explore 6. กรณีต้องการปรับเปลี่ยนการดูรายชื่อ ไฟล์และโฟลเดอร์ ให้คลิกเมนู View เลือก Large Icons, Small Icons, List, Details
  • 19. การปรับแต่งไอคอน บน Desktop 1. เปลี่ยนชื่อไอคอน 2. ลบไอคอน 3. จัดเรียงไอคอน 4. เปลี่ยนไอคอน ความสำคัญของ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์มี บทบาทที่สำคัญต่อหน่วยงานต่างๆ ดังนี้ 1.  ทำให้เกิดการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม และสามารถทำงานพร้อมกัน 2.  ให้สามารถใช้ข้อมูลต่างๆ ร่วมกัน ทำให้องค์การได้รับประโยชน์มากขึ้น 3.  ทำให้สามารถใช้ทรัพยากรได้คุ้มค่า 4.  ทำให้ลดต้นทุน เพราะการลงทุน สามารถลงทุนให้เหมาะสม กับหน่วยงานได้
  • 20. ชนิดของเครือข่าย             เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งแยกตามสภาพการเชื่อมโยงได้ 2 ชนิด      -  เครือข่ายแลน ( Local Area Network : LAN)   หรือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท้องถิ่นเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ สื่อสารที่อยู่ในท้องที่ บริเวณเดียวกันเข้า ด้วยกัน        -  เครือข่ายแวน ( Wide Area Network : WAN เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ในระยะไกล   เช่น   เชื่อมโยงระหว่างจังหวัด   ระหว่างประเทศ   การสร้างเครือข่ายระยะไกล จึงต้อง อาศัยระบบบริการ ข่ายสายสาธารณะ  
  • 21. เทคโนโลยีเครือข่ายแลน เทคโนโลยีเครือข่ายแลนจึงมีหลากหลาย เครือข่ายแลนที่น่าสนใจ เช่น   อีเทอร์เน็ต ( Ethernet) พัฒนามาจากโครงสร้างการเชื่อมต่อแบบสายสัญญาณร่วมที่เรียกว่า บัส ( Bus)   โดยใช้สายสัญญาณแบบแกนร่วม คือ สายโคแอกเชียล มีลักษณะแบบดาว   โทเก็นริง (Token Ring) โทเก็นริง เป็นเครือข่ายที่บริษัท ไอบีเอ็ม พัฒนาขึ้น   รูปแบบการ เชื่อมโยงจะเป็น วง แหวน   และ สวิตชิง ( Switching) สวิตชิง เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนามาเพื่อให้สามารถรับส่งข้อมูลระหว่างสถานีทำได้เร็วยิ่งขึ้น   รูปแบบของเครือข่ายแบบนี้ จะมีลักษณะ เป็นแบบ ดาว   ข้อมูลแต่ละชุดเรียกว่า   เซล   มีขนาดจำกัด                 
  • 22. การใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายแลนหนึ่งเครือข่ายจะมีการทำงานกันเป็นกลุ่ม เรียกว่า กลุ่มงาน (Workgroup)  แต่เมื่อเชื่อมโยงหลาย ๆ   กลุ่มงานเข้าด้วยกันก็ จะเป็นเครือข่ายขององค์กร   ตัวอย่าง การใช้งานเครือข่าย 1. การใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน 2. การติดต่อสื่อสารระหว่างกันบนเครือข่าย 3. สำนักงานอัตโนมัติ  
  • 23. ตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1. อินเทอร์เน็ต ตัวอย่างการใช้งานบนอินเทอร์เน็ต -  การรับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิคส์ - การโอนย้ายแฟ้มข้อมูลระหว่างกัน - การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ในที่ห่างไกล - การเรียกค้นข้อมูล ข่าวสาร - การอ่านจากกลุ่มข่าว - การสนทนาบนเครือข่าย - การบริการสถานีวิทยุและโทรทัศน์บนเครือข่าย 2. อินทราเน็ต นำวิธีการในอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้กับเครือข่ายของตนเอง เครือข่ายที่ใช้งาน เฉพาะในองค์การนี้จึง เรียกว่า   เครือข่ายอินทราเน็ต  
  • 24. โดย นางสาว วนัสนันท์ เทศขำ ชั้น ม .6/2 เลขที่ 36