SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
“อโรมาเธอราปี”บาบัดเครียด
อโรมาเทอราปี (Aromatherapy) แปลเป็นไทยว่า "สุวคนธบาบัด" ซึ่งหมายถึง การบาบัดโรคหรือ
อาการต่างๆ ของร่างกายโดยใช้กลิ่นจากนามันหอม (Essential oil) ที่สกัดมาจากส่วนต่างๆ ของพืช
Aromatherapyเป็นที่รู้จักกันมานานกว่า 6,000 ปี เริ่มต้นใช้ในอียิปต์ ชาวอียิปต์มักใช้การเผา ให้
ได้มาซี่งกลิ่นหอมเพื่อบูชาเทพเจ้า เช่น กลิ่น FRANKINCENSE บูชาพระอาทิตย์ กลิ่น RA และ MYRRH บูชา
พระจันทร์นอกจากนีชาวอียิปต์ยังใช้กลิ่นจากพืชธรรมชาติเพื่อความสดชื่น นิยมใช้กับนามันนวดและผสมลงใน
อ่างแช่ ต่อมาชาวกรีกได้นา Aromatic Oils (นามันหอมระเหย) เพื่อนามาใช้บาบัดรักษา แพทย์กรีกผู้หนึ่งชื่อ
PedactusDioscoridesได้เขียนหนังสือเกี่ยวกับพืชสมุนไพรกับการแพทย์ไว้ เมื่อประมาณ 1,200 ปีมาแล้ว
และหลักการนีก็ยังใช้อยู่จนปัจจุบันนี
ชาวโรมันได้รับความรู้ทางการแพทย์ด้วยการใช้กลิ่นบาบัดรักษามาจากชาวกรีกและได้พัฒนาหลัก
ความรู้นีผสมผสานกับศาสตร์อื่น เช่น การนวดและการอาบและถือได้ว่าชาวโรมันเป็นชาติแรกที่ทาการค้า
เกี่ยวกับอโรมา-เธอราปี คือ ได้นาเข้าผลิตภัณฑ์อโรมา จากอินเดียตะวันออกและจากอาราเบียความรู้
เกี่ยวกับอโรมาออยล์และนามันหอมแพร่กระจาย และได้รับความนิยมมากขึนหลังสงครามครูเสด ระหว่างปี
ค.ศ.980-1037 นายแพทย์ อวิเซนา ชาวอาหรับได้คิดวิธีกลั่นนามันหอมระเหยขึนเป็นครังแรก และการกลั่นนี
ก็ยังเป็นวิธีการสกัด กลิ่นหอมง่ายอีกวิธีหนึ่งจนถึงทุกวันนี
มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ยืนยันว่า ในทวีปเอเชียชาวจีนรู้จักวีธีใช้พืชสมุนไพรและกลิ่นหอมมานาน
พอๆ กับชาวอียิปต์ ในหนังสือสมุนไพรเล่มหนึ่งของจีนมีการจดบันทึกไว้เมื่อ 2,700 ปีก่อนคริสตกาล ชาวจีน
สามารถแยกสารหอมจากพืชธรรมชาติได้มากกว่า 300 ชนิด และเช่นเดียวกับชาวอียิปต์ ชาวจีนมีการใช้การ
เผาไม้หอมเพื่อบูชาเทพเจ้า
ในสังคมไทยหากจะกล่าวถึงพระมหากษัตริย์ผู้ทรงโปรดปรานเครื่องสุคนธรสแล้ว คงจะต้องกล่าวถึง
พระนามของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย สุนทรภู่ได้เขียนถึงพระองค์ไว้ในปราสาทภูเขาทองว่า
“เคยหมอบใกล้ได้กลิ่นสุคนธ์ตลบละอองอบรสรื่นชื่นนาสา
สินแผ่นดินสินรสสุคนธราวาสนาเราก็สินเหมือนกลิ่นสุคนธ์”
Aroma (อโรมา) แปลว่า กลิ่น กลิ่นหอม
Therapy (เธอราปี) แปลว่า การบาบัดรักษา
Aromatherapy(อะโรมา-เธอราปี) หมายถึง การบาบัดรักษาโรคโดยใช้กลิ่นหอม
การนากลิ่นหอมมาใช้กับการนวดนันมีมาแต่โบราณ ในการแพทย์สาขาอายุรเวทการแพทย์แผน
โบราณของอินเดีย การนากลิ่นหอมมาผสมกับนามันหรือไขมันสัตว์ต่างๆ จะเป็นที่รู้จักและใช้กันมานาน แต่
การใช้อโรมา (กลิ่นหอม) ในสมัยโบราณก็ยังไม่มีการค้นคว้าอย่างจริงจังถึงคุณสมบัติ และสรรพคุณของสาร
หอมที่มาแต่ละชนิด
ต่อมาจนกระทั่งเมื่อต้นศตวรรษที่ 19 นี่เองที่ได้การบัญญัติศัพท์ "Aromatherapy" โดยนักเคมีชาว
ฝรั่งเศสชื่อ Rene Maurice Gattefosseผู้ริเริ่มการวิจัยถึงพลังในการรักษาของนามันหอม หลังจากที่เขาถูกไฟ
ลวกที่มือแล้วจุ่มแผลลงในนามันลาเวนเดอร์ แล้วพบว่ารอยแผลนันหายเร็วกว่าปกติ เขาได้ตีพิมพ์หนังสือ
เกี่ยวกับผลการต่อต้านเชือโรคของนามันหอมในปี 1937 และบัญญัติศัพท์นีขึนมา ทังยังนามาใช้รักษาอาการ
บาดเจ็บของทหารระหว่างสงครามโลกครังที่สองด้วย เป็นจุดเริ่มต้นให้แพทย์และนักวิทยาศาสตร์อีกหลายชาติ
สนใจค้นคว้าเรื่องนีอย่างจริงจัง และพัฒนามาเป็นเทคนิควิธีการที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คนไทยก็นิยมใช้ยาหอม
ยาดม เพื่อบรรเทาอาการวิงเวียน หน้ามืด ตาลาย รวมถึงการอบสมุนไพรภายหลังการคลอดบุตรมานานแล้ว
Cr. http://f.lnwfile.com/_/f/_raw/76/lg/e5.jpg
สามารถแบ่งการใช้อโรมาเธอราพีได้ดังนี
1. จิตบาบัด หรือ ไซโคอโรมาเธอราพี เป็นการใช้นามันหอมระเหยเพื่อความสมดุลของจิตใจ ทาให้รู้สึกสงบ
ช่วยผ่อนคลาย หรือกระตุ้นการทางานของสมอง ช่วยบรรเทาจิตใจที่ปั่นป่วนหงุดหงิด ผ่อนคลายความเครียด
และความกังวล ให้พลัง รู้สึกสดชื่น กระปรีกระเปร่า อบอุ่น มั่นคง แก้โรคซึมเศร้า และอาการป่วยทางจิตต่างๆ
2. อโรมาเพื่อความสวยงาม เป็นการนานามันหอมระเหย มาใช้กับร่างกายภายนอกเช่นผิวหนัง เส้นผม และ
เป็นส่วนผสมในเครื่องสาอาง เพื่อความสวยงาม บารุงผิว ชะลอความเหี่ยวย่น ดูแลสุขภาพเส้นผม และขจัด
รังแค
3. บาบัดรักษาโรค หรือ เธอราพิวทิคอโรมาเธอราพี ใช้ใน นามันหอมระเหยหลายชนิด มีสารต้านเชือโรค แก้
ปวด แก้อักเสบ กระตุ้นระบบการไหลเวียนของเลือด รักษาโรคระบบทางเดินหายใจ และทางเดินอาหาร
การบาบัดด้วยกลิ่นนัน ที่มาแห่งความหอมมักจะ ได้แก่ นามันหอมระเหย ซึ่งได้จากนามันที่พืชผลิต
ขึนตามธรรมชาติแล้วเก็บตุนไว้ตามส่วนต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นกลีบดอก ใบ ผิวของผล เกสร ราก หรือเปลือกของ
ลาต้นแต่เน้นว่าต้องได้จากธรรมชาติเท่านัน เพราะในนามันหอมระเหย แต่ละชนิดมีองค์ประกอบทางเคมีของ
สารหลายชนิดรวมกันอยู่ในปริมาณต่างๆ กันไป และยังไม่มีสารสังเคราะห์ชนิดไหนที่สามารถผสม
ส่วนประกอบทางเคมีเลียนแบบธรรมชาติ เพื่อให้ได้สรรพคุณในการบาบัดอย่างแท้จริง และเมื่อเจ้านามันหอม
ระเหยเหล่านีได้รับความร้อนอันพอดี อนุภาคเล็กๆ ในนามันหอมก็จะระเหยออกมาเป็นกลุ่มไอ จะโชยกรุ่นมา
เข้าจมูกเราให้รู้สึกได้ถึงนานาสารพัดกลิ่นที่มีความแตกต่างกันออกไป
นามันหอมระเหย (ESSENTIAL OIL) คืออะไร
นามันหอมระเหยเป็นผลิตผลจากการสกัดพืชสมุนไพรนานาชนิด ซึ่งอาจสกัดมาจากส่วนใดส่วนหนึ่ง
ของพืชนันๆ เช่น สกัดมาจาก ผล ดอก ใบ เมล็ด เปลือก ก้าน ฯลฯ วิธีการสกัดที่นิยมใช้ในปัจจุบันคือ การ
กลั่นด้วยไอนา และการใช้สารเคมีเป็นตัวทาลายหลังจากการสกัดนามันหอมระเหยที่ได้จะถูกนามาสังเคราะห์
เพื่อกลั่นแยกหาสารต่างๆ ที่มีกลิ่นหอม สารเหล่านีเองที่จะถูกนามาคัดเลือก ผสมผสานและสร้างขึนมาใหม่ๆ
AROMA THERAPY กับการบาบัดรักษาโรคผ่านศาสตร์ของนามันหอมระเหย-และการนวด
นามันหอม (Essential Oil) จากธรรมชาติพืชพรรณที่มีกลิ่นหอม มักจะมีส่วนประกอบของนามันที่
ผลิตขึนมาตามธรรมชาติ เก็บไว้ในส่วนต่างๆ เช่น กลีบดอก ใบ ผิวของผล เกสร ราก หรือเปลือกของลาต้น ซึ่ง
พืชแต่ละชนิดก็จะมีกลิ่นเฉพาะตัวต่างกันไป นามันนีจะระเหยได้เร็วมาก โดยเฉพาะที่อุณหภูมิ 30-40 องศา
เซลเซียส เมื่อได้รับความร้อนจะระเหยออกมาให้กลิ่นหอมไปทั่ว นามันหอมหลายชนิดมีคุณสมบัติทางเคมีเป็น
ยาต่อต้านเชือโรค แบคทีเรีย หรือเชือรา ใช้บรรเทาอาการปวดบวมอักเสบ หรือทาให้จิตใจเบิกบาน ระงับ
ความกังวลได้ โดยขึนอยู่กับนามันหอมแต่ละชนิด
หลักการของอโรมาเธอราพี คือ มนุษย์มีประสาทรับกลิ่นอยู่ในโพรงจมูก เมื่อกลิ่นต่างๆ ผ่านเข้ามา
ประสาทรับกลิ่นจะส่งสัญญาณไปสู่สมองส่วนควบคุมอารมณ์และความทรงจา ในขณะที่อากาศจะผ่านไปยัง
ปอดและเข้าสู่กระแสเลือดไปตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย
หากหายใจเอาอากาศที่ไม่บริสุทธิ์ เช่น ไอเสียรถยนต์หรือควันบุหรี่เข้าไป จะทาให้สารพิษที่ปนอยู่ใน
อากาศเสียนันตกค้างอยู่ในระบบทางเดินหายใจ และมีผลกระทบต่อระบบประสาท ทังยังทาให้อารมณ์และ
ความทรงจาแปรปรวนไปด้วย ประสาทรับกลิ่นก็เช่นเดียวกันที่จะได้รับผลกระทบจากกลิ่นเสียของมลพิษและ
สารเคมีอันตราย หรือกลิ่นดีที่มาจากธรรมชาติ
ด้วยเหตุนีจึงได้มีการค้นคว้าวิจัยนามันหอมระเหยที่ถูกสกัดจากพืชสมุนไพรหลากหลายชนิดเพื่อหา
คุณสมบัติที่เหมาะสมสาหรับนามาบาบัดรักษาโรคต่างๆ ซึ่งบางชนิดก็สามารถกาจัดแบคทีเรียได้ บางชนิดก็
Cr : 
ช่วยแก้ภูมิแพ้ หรือช่วยกระชับผิวให้เต่งตึง ส่วนกลิ่นนันมีความสามารถในการผ่อนคลายความเครียดและทาให้
จิตใจสงบหรือรู้สึกกระปรีกระเปร่า
สาหรับนามันหอมระเหยที่ใช้ในการบาบัดแบบอโรมาเธอราพี จะต้องมีความบริสุทธิ์สูง ซึ่งความ
บริสุทธิ์ของนามันจะขึนอยู่กับหลายปัจจัยตังแต่ ภูมิอากาศของสถานที่ปลูก, วิธีการปลูก, การดูแลรักษาจนถึง
การเก็บเกี่ยวและกระบวนการสกัดเอานามันหอมระเหย
วิธีการนานามันหอมระเหยมาใช้เองก็มีหลายวิธี ทังการนวด, อาบ, ประคบ, การสูดดม, สูดไอนา, การ
เผาอบห้องรวมถึงการผสมกับเครื่องหอมนามันหอมและเครื่องสาอาง ซึ่งแต่ละวิธีต่างมีความเหมาะสมในการ
ใช้แตกต่างกัน
โดยการนวด เป็นวิธีนิยมและได้ผลดีที่สุดวิธีหนึ่ง เพราะสรรพคุณของนามันหอมระเหยหลายชนิดจะ
สามารถช่วยบาบัดรักษาโรคได้เมื่อยาจะซึมผ่านผิวหนังจากการนวด ส่วนกลิ่นหอมจะช่วยให้ประสาทสัมผัสรับ
กลิ่นปรับอารมณ์ให้รู้สึกสบายขึนไปพร้อมๆ กัน
อโรมาเธอราพีหอมบาบัดโรคอีกวิธีที่ได้รับความนิยมในวงกว้างคือ การสูดดม ซึ่งเป็นการใช้กลิ่นหอม
จากนามันหอมระเหยอย่างเดียวโดยไม่มีการสัมผัสทางผิวหนัง การสูดดมกลิ่นหอมนันสามารถทาได้ 2 วิธีคือ
ใส่นามันหอมระเหย 2-3 หยด ในชามที่เตรียมนาอุ่นไว้แล้วก้มลงสูดดมสัก 2-3 นาที หรือหยดนามันหอม
ระเหย 1-2 หยด ในผ้าเช็ดหน้าแล้วสูดดม อย่างไรก็ตามควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสนามันหอมระเหยโดยตรง
นอกจากนียังมีวิธีที่คล้ายกันคือ การสูดไอนา เนื่องจากนามันระเหยบางชนิดสามารถฆ่าเชือโรคได้เมื่อ
สูดดมไอนาของนามันหอมระเหยจะช่วยกาจัดเชือโรคในระบบทางเดินหายใจ โดยให้หยดนามันหอมระเหย 2-
4 หยด ลงในชามขนาดใหญ่ ซึ่งผสมนาร้อนไว้ จากนันใช้ผ้าคลุมและก้มหน้าลงเข้าไปอังและสูดไอนาร้อนผสม
นามันหอมระเหย พร้อมพักเป็นระยะๆ อนึ่งวิธีนีไม่เหมาะกับผู้ที่มีปัญหาเรื่องผิวบางและไม่เหมาะกับผู้ที่เป็น
โรคหอบหืด
ตัวนามันหอมระเหยที่ได้จากพืชแต่ละชนิดล้วนมีสรรพคุณในการบาบัดโรคต่างกัน เช่น นามันพิมเสน
มีสรรพคุณแก้สิว ลดการอักเสบและฆ่าเชือ แก้รังแคบารุงเส้นผม รวมถึงยังสามารถไล่แมลงและบรรเทา
ความเครียด
ส่วนนามันลาเวนเดอร์ สามารถใช้แก้นากัดเท้า บรรเทาอาการเมาค้าง บรรเทาอาการหลอดลมอักเสบ
และแก้หวัด นอกจากนียังช่วยให้นอนหลับง่าย สาหรับนามันตะไคร้หอมซึ่งมักนามาใช้ไล่ยุงนันยังช่วยบรรเทา
อาการหวัด, ปวดศีรษะ, ลดไข้และผ่อนคลายกล้ามเนือ เป็นต้น
ในการเลือกซือนามันหอมระเหยจะมีสิ่งสาคัญที่ต้องพิจารณาให้ดีเหมือนกับการซือสินค้าอื่นๆ ด้วย
การอ่านฉลากที่ติดภาชนะบรรจุ หรือสอบถามข้อมูลรายละเอียดจากบริษัทที่ขายในหัวข้อต่อไปนี เช่น
ประเทศผู้ผลิต ชื่อทางวิทยาศาสตร์ ส่วนของพืชที่ใช้กลั่นเอานามันและกระบวนการสกัด เนื่องจากบริษัทผู้ผลิต
นามันหอมระเหยที่มีคุณภาพและน่าเชื่อถือ จะแสดงข้อมูลของแหล่งผลิตและข้อมูลอื่นๆ ติดไว้ที่ฉลากเสมอ
กลิ่นหอมของนามันหอม แบ่งเป็นกลุ่มต่างๆ ได้ดังนี
กลิ่นส้ม ให้ความรู้สึกสดชื่นและสะอาด ได้จากพืชในตระกูลส้ม
Cr. http://www.of-md.com/wp-content/uploads/2015/01/346.jpg
กลิ่นเครื่องเทศ ให้ความรู้สึกหนัก หวาน และลึก ได้จากเครื่องเทศต่างๆ เช่น อบเชย กานพลู
Cr.https://meawyjung2541gamil.files.wordpress.com/2015/09/thaihealth_c_achjkltv13
59.jpg
กลิ่นดอกไม้ ให้ความรู้สึกอ่อนหวาน นุ่มนวล ได้จากดอกไม้ที่มีกลิ่นหอมต่างๆ เช่น กุหลาบ มะลิ พิกุล
แก้ว
Cr. http://b.lnwfile.com/_/b/_raw/2e/82/7n.jpg
กลิ่นป่า ให้ความรู้สึกแห้งและเบาสบาย ได้จากนามันจากเนือไม้ต่างๆ เช่น นามันสน
Cr. https://oyspace.files.wordpress.com/2016/05/copy-of-lady-under-trees-
600x398.jpg?w=490
กลิ่นสมุนไพร เป็นกลิ่นของเมนทอล และกลิ่นสีเขียวของใบไม้ ได้จากนามันโหระพา กระเพรา
สะระแหน่ ตะไคร้
Cr. http://download.4-designer.com/files/20121226/Kitchen-the-foodstuff-03-the-larger-HD-35583.jpg
กลิ่นหอมจากพืชพรรณเหล่านีมีผลต่อจิตใจ และอารมณ์ความรู้สึกของคนมาก เมื่อเราสัมผัสกับกลิ่น
ด้วยการสูดไอระเหย การนวดนามันบนผิวเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนือ การทาครีม เจล หรือแม้แต่การอาบนาหรือ
แช่นาที่ผสมนามันหอม หรือกิจกรรมใดๆ ก็ตาม โมเลกุลของกลิ่นหอมจะผ่านเข้าไปทางจมูก ไปกระตุ้นเซลล์
ประสาทรับความรู้สึกที่อยู่ในโพรงจมูก ทาให้เกิดกระแสประสาทวิ่งไปยังศูนย์รับรู้กลิ่นในสมอง แล้วผ่านไปยัง
ส่วนของสมองที่เรียกว่า ลิมบิกซิสเต็ม (limbic system) ซึ่งเป็นศูนย์ควบคุมการเรียนรู้ ความจา อารมณ์
ความหิว และอารมณ์ทางเพศ กลิ่นที่เข้ามากระตุ้นลิมบิกซิสเต็ม จะทาให้สมองปล่อยสารเอนดอร์ฟิน
(endorphins) เอนเซปฟาลีน (encephaline) และเซโรโทนิน (serotonin) ออกมา เอนดอร์ฟินจะช่วยลด
ความเจ็บปวด เอนเซปฟาลีนจะส่งเสริมให้มีอารมณ์ดี และเซโรโทนิน จะช่วยให้สงบเยือกเย็น และผ่อนคลาย
ดังนั้นอโรมาเทอราปี จึงถูกนามาใช้ในการคลายความเครียด เหนื่อยล้า และโรคนอนไม่หลับได้
กลิ่นต่างๆที่นิยมใช้ในสปา สาหรับนวดตัว หรือจุดให้หอมระเหยสร้างบรรยากาศ พบได้บ่อยๆ เช่น
กลิ่นลาเวนเดอร์ มาจอแรม คาโมไมลด์ และดอกส้ม จะช่วยทาให้ง่วง นอนหลับสบาย จึงนามาใช้บาบัดอาการ
เครียด นอนไม่หลับ โกรธ กังวล ราคาญ และความดันโลหิตสูง ทาให้ร่างกายผลิตเซโรโทนิน ทาให้ใจสงบ
Cr. http://2.bp.blogspot.com/-
vXg3tmPxkLM/VeR_TyEoojI/AAAAAAAADgw/e5qaK21Z6I8/s1600/04.jpg
Cr.https://www.chemipan.com/home/images/marjoram-essential-oil-health-benefits.jpg
Cr. http://fb1-cy.lnwfile.com/_/cy/_raw/46/ky/hc.png
กลิ่นกุหลาบ และคลารี่เสจ ไปกระตุ้นทาลามัส และการผลิตเอนเซปฟาลีน ช่วยผ่อนคลายอารมณ์ตึงเครียด
Cr. http://idofragrance.com/wp-content/uploads/2016/05/rose-perfume2.png
CR.http://www.healthandtrend.com/wp-content/uploads/2015/12/clarysage1.jpg
กลิ่นโรสแมรี่ ทาให้สดชื่นแจ่มใส มีสมาธิและมีกาลังใจ แก้ปวดศีรษะ ไมเกรน
Cr. http://www.aroka108.com
กลิ่นเปปเปอร์มินต์ ทาให้จิตใจสดชื่น แจ่มใส ปลอดโปร่ง กระตุ้นความคิดสร้างสรรค์
Cr.http://www.thaihometown.com/knowledge/4319
กลิ่นเจราเนียม จะช่วยปรับระดับฮอร์โมนในร่างกายให้เข้าสู่สมดุล ซึ่งจะทาให้จิตใจเป็นปกติ จึงมีประโยชน์กับ
สตรีวัยหมดประจาเดือนที่มักจะมีอารมณ์ปรวนแปร หดหู่ เศร้าหมอง
Cr. http://aroma.aromaandmore.com/essential-oil/essential-oil/geranium-bourbon-100.html
ยูคาลิปตัส (Eucalyptus) หรือ คาเจพุทธรักษา (Cajeput)สามารถใช้หยดบนผ้า สาลี หรือในอ่างนาร้อน แล้ว
สูดดมไอ แก้อาการหวัด หรือแพ้อากาศได้ จึงพบเสมอในยาดมที่ใช้กันแพร่หลาย
Cr. https://www.chemipan.com/home/index.php/
Cr.http://lanny.jp/6261/
เฟนเนล (Fennel) เกรปฟรุ้ต (Grapefruit)ใช้ทาผิวเพื่อลดไขมัน
Cr. http://www.mkexportsindia.com/fennel-seed-oil.htm
Cr. http://lanny.jp/6261/
บางชนิดเหมาะสาหรับการทาผิวเพื่อบารุงผิวพรรณ เช่น ทีทรี (Tea Tree) ลาเวนเดอร์ (Lavender)
เทอเมอริค (Turmeric) จึงนิยมนามาผสมกับครีม หรือเจลสาหรับการอาบนา
สาหรับนามันหอมจากพืชพรรณไม้ของไทยที่น่าจะผลิตใช้ได้เองในเมืองไทยได้แก่
นามันตะไคร้หอม (Citronella Oil)ใช้ทาผิวเพื่อกันยุง สามารถทาเป็นสเปรย์พ่นด้วยการนามาผสมกับนา
บริสุทธิ์
นามันดอกโหระพา (Sweet Basil Oil)ช่วยป้องกันการติดเชือ ไล่แมลง บรรเทาอาการปวดต่างๆ รวมทังโรค
เก๊าท์ และยังช่วยลดอาการเครียดกระวนกระวายทาให้อารมณ์สดชื่นขึนจากความเหนื่อยล้าการใช้ต้องระวัง
เพราะอาจระคายเคืองต่อผิวหนังได้ง่าย
กลิ่นพิมเสน แก้สิว ลดการอักเสบและฆ่าเชือ แก้รังแคบารุงเส้นผม ไล่แมลงและบรรเทาความเครียด
Cr: http://www.thaihealth.or.th/data/content/2013/03/3104/cms/3104_thaihealth_y4vi653u9hor.jpg
Cr: http://www.aroka108.com/%E0%B9%82%E0%B8% %9E%E0%B8%B2-
%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%9E%E
0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%
B8%B1%E0%B8%A7-
%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E
0%B8%B8%E0%B8%82%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E/
Cr: https://www.thaisecondhand.com/product/10982259
นามันมะกรูด (Bergamot Oil)ช่วยป้องกันการติดเชือ บาบัดอาการผื่นแดงของผิวหนัง และยังช่วยให้จิตใจ
สงบ สามารถควบคุมอารมณ์ได้ดี และหลับสบาย
นามันขิง (Zingiberofficinale) และนามันพริกไทยดา (Black Pepper Oil)ช่วยบรรเทาอาการปวดกล้ามเนือ
และรูมาติซั่ม โดยทาเป็นนามันนวดประคบ นอกจากนียังบรรเทาอาการเครียด กระวนกระวาย เหนื่อยล้า และ
ทาให้เกิดอาการตื่นตัว อบอุ่น อย่างไรก็ตาม การใช้นามันขิงต้องระวังให้ใช้ขนาดน้อยๆ เพราะจะระคายเคือง
ต่อผิวหนังได้ง่าย และห้ามใช้ในหญิงมีครรภ์
นามันจันทน์ (Sendalwood Oil)ให้ความชุ่มชื่นแก่ผิวหนังที่แห้ง และผมที่เสีย นอกจากนียังช่วยให้จิตใจผ่อน
คลาย สงบ สร้างความสดชื่นให้กับจิตใจที่กาลังหดหู่และช่วยทาให้นอนหลับสบายห้ามใช้ในหญิงมีครรภ์และ
อาจทาให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง
Cr: http://www.homeshop18.com/soulflower-sandalwood-aroma-massage-oil/health-beauty/skin-care
CR: http://www.google.co.th/url?sa=i&rct=j&q=ขิง+สรรพคุณ&source=images
Cr: Data:image/jpeg;base64,/9j/4AAQSkZJRgABAQAAAQABAAD/2wCEAAkGBxMSEhUTEhMWFh
นามันดอกมะลิ (Jasmine Oil)ช่วยทาให้จิตใจผ่อนคลาย ตื่นตัว ไม่หดหู่เศร้าหมอง
Cr.http://idofragrance.com/wp-content/uploads/2016/08/aroma-oil-6.jpg
นามันกระดังงาไทย (YlangYlang Oil)ช่วยเสริมการงอกงามของเส้นผม บาบัดอาการจากแมลงกัดต่อย และใช้
กับสิว ป้องกันการติดเชือและการกระจายตัวของเชือโรค ใช้กับผิวหนังได้ทุกชนิด ในทางจิตใจ ช่วยบรรเทา
อาการจิตใจหดหู่ เครียด และการนอนไม่หลับ รวมถึงอาการโกรธ กระวนกระวายใจ ทาให้สดชื่นและผ่อน
คลายมากขึน การใช้ต้องระวังไม่ใช้ในขนาดเข้มข้นกับคนที่ป่วยเป็นความดันโลหิตสูง เพราะจะทาให้คลื่นไส้
และปวดศีรษะได้
Cr.https://www.chemipan.com/home/index.php/635
กลิ่นเลมอน (มะนาว) ทาให้สดชื่น แจ่มใส มีสมาธิ ใช้นวดจะทาให้ระบบไหลเวียนโลหิตดีขึน
Cr.http://idofragrance.com
วิธีการในการสกัดนามันหอม มีหลายวิธี เช่น การกลั่น การสกัดด้วยนามัน การสกัดด้วยแอลกอฮอล์
การคันด้วยแรง และการสกัดด้วยคาร์บอนไดออกไซด์เหลว เป็นต้น โดยต้องใช้ดอกไม้ หรือใบไม้จานวนมาก
เพื่อให้ได้นามันไม่กี่หยด ทาให้หัวนามันหอมมีความเข้มข้นสูง และราคาค่อนข้างแพง เวลานามาใช้งานจึงต้อง
ทาให้เจือจางเสียก่อน หากนามานวดผ่อนคลายตัวมักจะต้องผสมกับนามันพืชบริสุทธิ์ (Base oil) อย่างเช่น
นามันถั่วเหลือง นามันทานตะวัน นามันโจโจ้บา นามันมะกอก นามันดอกคาฝอย เป็นต้น นอกจากนามันนวด
แล้ว ก็ยังสามารถใช้หัวนามันหอมเพียงไม่กี่หยดมาผสมกับนา หรือปรุงกับครีม แชมพู สบู่ เจลอาบนาหลาก
กลิ่น
ปัจจุบันนีมี8 วิธีในการสกัดนามันหอม
1. การนวด (MASSAGE)เป็นวิธีที่ได้ผลดีที่สุดวิธีหนึ่ง เพราะด้วยสรรพคุณของนามันหอมระเหยแต่ละ
ชนิดจะสามารถช่วยบาบัดรักษาโรคได้ ด้วยยาจะซึมผ่านผิวหนังด้วยการนวด ส่วนกลิ่นหอมจากนามันหอม
ระเหยจะช่วยให้ประสาทสัมผัสรับกลิ่นปรับอารมณ์ให้ รู้สึกสบายขึนไปพร้อม ๆ กัน ดังนันการใช้นามันหอม
ระเหยที่มีคุณภาพดี และเลือกใช้ให้เหมาะกับความต้องการในการบาบัดจะทาให้การนวดมีประสิทธิภาพขึน
2. การอาบ (BATHS)เป็นวิธีง่าย ๆ ที่สามารถทาเองได้ คือ ผสมนาอุ่นในอ่างนาสาหรับลงแช่ได้แล้ว
หยดนามันหอมระเหยประมาณ 6-8 หยด ลงในอ่างนาแล้วลงแช่ทังตัวสักประมาณ 20 นาที ไอระเหยจากอ่าง
นาอุ่นและการซึมทางผิวหนังด้วยการแช่จะช่วยให้รู้สึกสดชื่นขึน
3. การประคบ (COMPRESSES)ใช้ผ้าขนหนูสะอาด ๆ ชุบนาที่ผสมนามันหอมระเหยแล้วประคบตาม
บริเวณที่ต้องการ (ห้ามประคบบริเวณดวงตา) ส่วนผสมใช้นามันหอมระเหย 2-3 หยด ในชามที่เตรียมนาอุ่นไว้
แล้วก้มลงสูดดมสัก 2-3 นาที หยดนามันหอมระเหย 1-2 หยด ในผ้าเช็ดหน้าแล้วสูดดม (ต้องหลีกเลี่ยงการ
สัมผัสนามันหอมระเหยโดยตรง)
4. การสูดดม (INHALATIONS)เป็นการใช้กลิ่นหอมจากนามันหอมระเหยอย่างเดียวไม่มีการสัมผัสทาง
ผิวหนัง การสูดดมกลิ่นหอมทาได้ 2 วิธีคือ ใส่นามันหอมระเหย 2-3 หยด ในชามที่เตรียมนาอุ่นไว้แล้วก้มลงสูด
ดมสัก 2-3 นาที หยดนามันหอมระเหย 1-2 หยด ในผ้าเช็ดหน้าแล้วสูด ดม (ต้องหลีกเลี่ยงการสัมผัสนามัน
หอมระเหยโดยตรง)
5. การสูดไอนา (VAPORISATION)นามันระเหยบางชนิด เป็นแอนดีเซปติก (ANTISEPTIC) ฆ่าเชือโรค
ได้เมื่อสูดดมไอนาจากนามันหอมระเหยชนิดนีเข้าไปจะช่วยกาจัด เชือโรคในระบบทางเดินหายใจได้วิธีทาหยด
นามันหอมระเหย 2-4 หยด ลงในชามใหญ่ ซึ่งผสมนาร้อนไว้แล้ว ใช้ผ้าคลุมและก้มหน้าลงเข้าไปอังไอนา สูดไอ
นาร้อนผสมนามันหอมระเหย พักเป็นระยะ ๆ วิธีนีไม่เหมาะกับผู้ที่มีปัญหาเรื่องผิวบาง และไม่เหมาะกับผู้ที่
เป็นหอบหืด
6. การเผา-อบห้อง เป็นการอบห้องให้หอม หลักการอบห้องเพื่อฆ่าเชือโรคในโรงพยาบาลก็ใช้หลักการ
นี่เช่นกัน เพราะนามันหอมระเหยที่มีฤทธิ์ ฆ่าเชือถูกอบอวลในห้องที่ปิดมิดชิดสามารถฆ่าเชือโรคได้ในกรณีที่
ต้องการ ให้ห้องหอมตามกลิ่นที่ต้องการก็สามารถทาได้โดยหยดนามัน หอมระเหย 3-4 หยด ในนาที่เตรียมใส่
ในจานสาหรับเผา (AROMA JAR) แล้วจุดเทียนไว้ในห้อง ความร้อนจากเทียนจะทาให้กลิ่นหอมจากนา ผสม
นามันหอมระเหยส่งกลิ่นอบอวลไปทั่วห้อง ควรเผา-อบไม่นานกว่า 10 นาทีต่อครัง
7. ใช้ผสมกับเครื่องหอมและนามันหอม ส่วนมากเครื่องหอม เช่น บุหงา และนาหอมจะมีส่วนผสม
จากกลิ่นไม้หอม หรือกลิ่นจากดอกไม้นานาพันธุ์ ผสมอยู่ การใช้เครื่องหอมและนาหอม ส่วนมากจะมี
จุดประสงค์ให้เกิดความสบายใจ สะอาด สดชื่น และเป็นที่เราใจตราตรึงใจจากผู้คนที่อยู่ ใกล้
8. ใช้ผสมกับเครื่องสาอาง ครีม โลชั่น ความหลากหลายของคุณสมบัติเฉพาะจากนามันหอมระเหย
สามารถช่วยให้เครื่องสาอาง ครีมและโลชั่น ต่าง ๆ กลายเป็นผลิตภัณฑ์บารุงผิวกาย ผิวหน้า เส้นผมและสาร
สกัดบางชนิดยังช่วยในการทาความสะอาดผิวหนัง สร้างความสมดุลให้ผิวอีก ด้วย แต่การเลือกใช้นามันหอม
ระเหยแต่ละชนิด ต้องพิถีพิถัน และศึกษาให้รู้จริงว่า สารชนิดใด มีคุณสมบัติเช่นใด จึงจะก่อประโยชน์สูงสุด
ประโยชน์
คุณสมบัติในนามันระเหยนี สามารถนามาใช้โดยการนวด ให้ซึมผ่านผิวหนัง บางชนิดก็เป็นสารสกัดที่
กาจัดแบคทีเรียได้ บ้างก็ช่วยแก้ภูมิแพ้ ที่ผิวหนัง ช่วยกระชับผิวให้เต่งตึง ส่วนกลิ่นที่ได้จากสารสกัดสุมนไพรนี
จะช่วยกระตุ้นเปลี่ยนสภาพอารมณ์และจิต ใจ เช่น ช่วยให้สงบ ช่วยให้ผ่อนคลาย ช่วยให้กระปรีกระเปร่า ช่วย
คลายเครียด ช่วยลดความกระวนกระวายใจ
การจะนาหัวนามันหอมที่มีวางจาหน่ายอยู่ทั่วไปมาผสมใช้เอง ไม่ว่าจะเป็นนามันนวด ครีม แชมพู
หรืออื่นๆ ควรศึกษาวิธีการและได้รับคาแนะนาอย่างจริงจังจากผู้เชี่ยวชาญ เพราะการใช้ในปริมาณที่ไม่
เหมาะสมอาจเกิดผลเสียต่อร่างกายแทนที่จะเป็นผลดีได้ ต้องระวังไม่สัมผัส หรือสูดกลิ่นของหัวนามันนัน
โดยตรงเพราะมีความเข้มข้นสูง ทาให้อาจเป็นอันตรายต่อผิวหนังและเนือเยื่อจมูก จึงต้องนามาเจือจางก่อนใช้
เสมอ นอกจากนีนามันหอมจากพืชตระกูลส้มทุกชนิดหรือนามันมะกรูด อาจมีปฏิกิริยาต่อแสงแดดทาให้เกิด
การแพ้ได้ง่าย ใครที่คิดใช้นามันหอมในกลุ่มนีทาตัวทาผิวก็ไม่ควรออกไปเดินตากแดด อาจเกิดแพ้แดดขึนมาได้
โดยไม่รู้ตัว จึงควรระวังไว้ก่อน
ข้อห้ามเกี่ยวกับการใช้นามันระเหย
1.ใช้ภายนอกเท่านัน ห้ามกิน จะมีผลโดยตรง ต่อระบบย่อยอาหาร นามันหอมระเหยจะถูกดูดซึมใน
กระเพาะอาหาร ทาให้อวัยวะระคายเคือง กระตุ้นนาย่อย การหายใจ การไหลเวียนเลือด และการย่อยอาหาร
เป็นการออกฤทธิ์แบบเดียวกับเครื่องเทศ บางตัวมีเป็นพิษกับการทางานของตับ
ถ้ามีกลืนเข้าไป อย่าพยายามทาให้อาเจียนให้ดื่มนาหรือนมตามทันที แล้วรีบส่งให้แพทย์ดูแล
2. ห้ามสูดดมโดยตรง เว้นแต่ได้ทาให้เจือจางแล้ว
3. ห้ามสัมผัสผิวหนังโดยตรง ต้องเจือจางตามสัดส่วน เช่นผสมเพื่อเป็นนามันนวดตัวไม่ควรเกิน 3 %
กับผิวหน้าไม่ควรเกิน 1 % เป็นต้น
4. ผู้มีปํญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ โรคหอบหืด เพราะนามันหอมระเหยบางกลิ่นจะกระตุ้นให้
อาการ ของโรคกาเริบ เช่น rosemary
ห้ามใช้กับผู้มีปัญหาเกี่ยวกับ โรคลมชักหรือลมบ้าหมู ( epilepsy )เช่น rosemary, fennel,
sage, spike lavender, tansy, camphorผู้มีโรคความดันโลหิตสูง ควรศึกษากลิ่นที่มีผลต่อการ ผลกระตุ้นให้
ความดันโลหิตสูงขึนได้ เช่น Hyssop, Rosemary, sage, Thyme เป็นต้น ต้องการใช้กลุ่มนี
หลีกเลี่ยงการใช้นามันนวดผิวหลังการฉายรังสีจากมะเร็ง โดยเฉพาะมะเร็งผิวหนัง
5. หลีกเลี่ยงการใช้กับหญิงตังครรภ์หรือกาลังให้นมบุตร เพราะกลิ่นบางกลิ่นจะกระตุ้นให้ร่างกาย
เกิดการหลั่งฮอร์โมนเอสโตรเจน ซึ่งส่งผลให้มดลูกเกิดการหดตัว อาจส่งผลให้เกิดภาวะแท้งบุตรได้ เช่น
aniseed, basil, clary sage, atlas cedarwood, virginiancedarwood, cypress, sweet fennel,
jasmine, juniper, sweet majoram, myrrh, nutmeg, peppermint, rose, rosemary เป็นต้น
6. ห้ามใช้กับผู้ที่เพิ่งฝังเข็มมาใหม่ๆ ฤทธิ์จากนามันหอมระเหยอาจมีผลต่อต้านการทางานของระบบ
ภายในที่เกิดจากการรักษาโดยการฝังเข็มได้
7. นามันหอมระเหยต่อไปนี เมื่อใช้แล้วห้ามถูกแสงแดดอย่างน้อย 4 ชม. เพราะจะเกิดผื่นแพ้เกิดขึน
(photo-toxic) ส่วนใหญ่ในกลุ่ม Citrus เช่น Bergamot, Grapefruit, Orange Bitter , lemon, Kaffir,
lime, mandarin
ข้อควรระวังในการใช้นามันระเหย
1. ถ้ามีผิวที่แพ้ง่ายให้ทาการทดสอบบนผิวบริเวณที่แพ้ง่าย ( Patch test ) โดยผสมนามันหอม
ระเหย 1 หยดกับนามันเบส หรือเรียกว่า Carrier oil ( อาทิ grape seed, Sweet almond,
olive oils ) 1 ช้อนโต๊ะ ทาทิงไว้ ถ้าไม่มีอาการระคายเคือง อักเสบ ก็ถือว่าปลอดภัยสามารถใช้
นามันหอมระเหยตัวนันได้ กรณีเป็นนามันหอมระเหยสูตรผสมก็ให้นามาตัวที่ผสมแล้วมาทดสอบ
ในลักษณะเดียวกัน
2. ถ้าสัมผัส100% ให้ล้างมือให้สะอาดทันทีทุกครัง ไม่ขยีตา แคะจมูก หรือหยิบอาหารด้วยมือเข้า
ปากขณะที่มือสัมผัสนามันหอมระเหย
3. ข้อแนะนาในกรณีของผู้เริ่มต้นศึกษาเรื่องนี ไม่ควรเลือกผสมนามันหอมระเหยมากเกิน 4 ชนิด
และไม่ผสมนามัน หอมระเหยที่มีสรรพคุณตรงกันข้าม เช่น นามันหอมระเหยที่มีสรรพคุณกระตุ้น
กับนามันหอมระเหยที่มีผลระงับ
4. ถ้านามันหอมระเหย หกรดพืนไม้หรือเฟอร์นิเจอร์ ให้รีบเช็ดทาความสะอาดทันที เพราะนามัน
หอมระเหยหลายตัวมีความเข้มข้นสูงอาจทาลายผิวหน้าของวัสดุนันๆ ได้
5. มีนามันหอมระเหยบางตัวที่มีความปลอดภัยสูงสามารถใช้ตรงกับผิวหนังได้เลย เช่น lavender,
Chamomile, Tea Tree เช่น สามารถใช้ lavender ทาบริเวณแผลนาร้อนลวกได้
6. กรณีใช้จุดกับเตา ( burner ) ควรเปลี่ยนกลิ่นสลับทุก 3-4 วัน ถ้ามีนามันแห้งไหม้ติดก้นเตา ต้อง
ล้างยางออกให้สะอาดแล้วเติมของใหม่และดับเทียนทุกครังก่อนนอนหรือก่อนออกจากบ้าน
วิธีเก็บนามันหอมระเหย
1. เก็บให้พ้นมือเด็กและสัตว์เลียง ทังนีตัวขวดนามันหอมระเหยที่ดีต้องมีตัวควบคุมการหยดครอบปาก
ขวด โดยควบคุมการหยดทีละหยดซึ่งเป็นข้อกาหนดมาตรฐาน ซึ่งเป็นตัว safety อีกทางหนึ่ง ไม่
แนะนาชนิดชนิดแบบยางบีบ dropper เพราะนามันหอมระเหยบางชนิดมีความเข้มข้นสูง อาจมีฤทธิ์
กัดกร่อนตัวยางให้ละลาย ส่งผลต่อคุณภาพนามันหอมระเหยให้เสียไปได้
2. นามันหอมระเหยที่ดีต้องเก็บในขวดแก้วสีเข้มเท่านัน ปิดฝาให้แน่นเก็บให้พ้นแสงแดด ไม่แนะนาให้
เก็บในตู้เย็น เพราะกลิ่นอาจออกมาปนเปื้อนกับอาหารได้
3. อายุของนามันหอมระเหย มีตังแต่ 8 เดือนไปจน 8 หรือ 10 ปี ขึนอยู่กับประเภทของสมุนไพร
กระบวนการผลิต โดยกลุ่มส้มจะมีอายุสันที่สุด Citronella, Tea tree, Black pepper 3-4 ปี,
Clary sage, Rose wood 4-5 ปี แต่ cedarwood,vetiverเก็บได้ 6-8 ปี ทังนีให้สังเกต ถ้าตัวนามัน
เริ่มมีตะกอน ขุ่น เหนียวขึนและมีกลิ่นเปรียวแตกต่างจากกลิ่นเดิม ก็ให้หยุดใช้และควรสอบถามทาง
ร้านทุกครังที่ซือ และการจัดเก็บนามันหอมระเหยให้ถูกวิธีมีส่วนมาก
อ้างอิง
http://xn----6xfb4ac0ddme7bf3yg3ch.blogspot.com/2009/07/blog-post_4977.html
(วันที่สืบค้น 4/2/2560)
http://www.thaicam.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=53:-
aroma(วันที่สืบค้น 4/2/2560)
http://welovearoma.weloveshopping.com/store/article/view (วันที่สืบค้น 4/2/2560)
http://elib.fda.moph.go.th/library/default.asp?page2=subdetail&id_L1=27&id_L2=1551
8&id_L3=190(วันที่สืบค้น 4/2/2560)
http://www.thaihealth.or.th/Content/7857(วันที่สืบค้น 4/2/2560)
http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=nara-gorn&month=20-12-
2007&group=9&gblog=16(วันที่สืบค้น 4/2/2560)
รายชื่อสมาชิก
นางสาวธนัญชนก อารูณ เลขที่ 2
นางสาวมลิสา ต๊ะมัง เลขที่ 10
ชันมัธยมศึกษาปีที่ 6/2

More Related Content

Viewers also liked

Gastronomía alemana-proyecto-4
Gastronomía alemana-proyecto-4Gastronomía alemana-proyecto-4
Gastronomía alemana-proyecto-4DEBANI SALAS
 
Consulta.concepto karen romero.txt
Consulta.concepto karen romero.txtConsulta.concepto karen romero.txt
Consulta.concepto karen romero.txtkaren021995
 
여성최음제『 W3.ow.to 』 톡 w2015 ♡ 여성최음제판매 ,여성최음제가격 ,여성최음제효과, 여성최음제의 또다른 효능, 여성최음제가격
여성최음제『 W3.ow.to  』 톡 w2015 ♡ 여성최음제판매 ,여성최음제가격 ,여성최음제효과, 여성최음제의 또다른 효능, 여성최음제가격여성최음제『 W3.ow.to  』 톡 w2015 ♡ 여성최음제판매 ,여성최음제가격 ,여성최음제효과, 여성최음제의 또다른 효능, 여성최음제가격
여성최음제『 W3.ow.to 』 톡 w2015 ♡ 여성최음제판매 ,여성최음제가격 ,여성최음제효과, 여성최음제의 또다른 효능, 여성최음제가격전 윤희
 
Blogueros karen romero.doc
Blogueros karen romero.docBlogueros karen romero.doc
Blogueros karen romero.dockaren021995
 
Acta pleno nacional asetoch 14 12-12 uss concepción
Acta pleno nacional asetoch 14 12-12 uss concepciónActa pleno nacional asetoch 14 12-12 uss concepción
Acta pleno nacional asetoch 14 12-12 uss concepciónAsetoch Chile
 
Logros del Portero Pepe Toño Rodríguez Romero.
Logros del Portero Pepe Toño Rodríguez Romero.Logros del Portero Pepe Toño Rodríguez Romero.
Logros del Portero Pepe Toño Rodríguez Romero.red_1410
 
Centro de estudios tecnológicos en aguas continentales 02
Centro de estudios tecnológicos en aguas continentales 02Centro de estudios tecnológicos en aguas continentales 02
Centro de estudios tecnológicos en aguas continentales 02Carolina J. Gálvez
 

Viewers also liked (14)

Gastronomía alemana-proyecto-4
Gastronomía alemana-proyecto-4Gastronomía alemana-proyecto-4
Gastronomía alemana-proyecto-4
 
жұмыс сабырова с
жұмыс сабырова сжұмыс сабырова с
жұмыс сабырова с
 
Consulta.concepto karen romero.txt
Consulta.concepto karen romero.txtConsulta.concepto karen romero.txt
Consulta.concepto karen romero.txt
 
여성최음제『 W3.ow.to 』 톡 w2015 ♡ 여성최음제판매 ,여성최음제가격 ,여성최음제효과, 여성최음제의 또다른 효능, 여성최음제가격
여성최음제『 W3.ow.to  』 톡 w2015 ♡ 여성최음제판매 ,여성최음제가격 ,여성최음제효과, 여성최음제의 또다른 효능, 여성최음제가격여성최음제『 W3.ow.to  』 톡 w2015 ♡ 여성최음제판매 ,여성최음제가격 ,여성최음제효과, 여성최음제의 또다른 효능, 여성최음제가격
여성최음제『 W3.ow.to 』 톡 w2015 ♡ 여성최음제판매 ,여성최음제가격 ,여성최음제효과, 여성최음제의 또다른 효능, 여성최음제가격
 
Blogueros karen romero.doc
Blogueros karen romero.docBlogueros karen romero.doc
Blogueros karen romero.doc
 
Imágenes
ImágenesImágenes
Imágenes
 
Acta pleno nacional asetoch 14 12-12 uss concepción
Acta pleno nacional asetoch 14 12-12 uss concepciónActa pleno nacional asetoch 14 12-12 uss concepción
Acta pleno nacional asetoch 14 12-12 uss concepción
 
Internet y sus caraterísticas
Internet y sus caraterísticasInternet y sus caraterísticas
Internet y sus caraterísticas
 
Navegadores y marcadores
Navegadores y marcadoresNavegadores y marcadores
Navegadores y marcadores
 
Kimberly vera
Kimberly veraKimberly vera
Kimberly vera
 
V50n3 a02
V50n3 a02V50n3 a02
V50n3 a02
 
Logros del Portero Pepe Toño Rodríguez Romero.
Logros del Portero Pepe Toño Rodríguez Romero.Logros del Portero Pepe Toño Rodríguez Romero.
Logros del Portero Pepe Toño Rodríguez Romero.
 
Centro de estudios tecnológicos en aguas continentales 02
Centro de estudios tecnológicos en aguas continentales 02Centro de estudios tecnológicos en aguas continentales 02
Centro de estudios tecnológicos en aguas continentales 02
 
Mercadeo 2
Mercadeo 2Mercadeo 2
Mercadeo 2
 

อโรมาเธอราปีบำบัดเครียด

  • 1. “อโรมาเธอราปี”บาบัดเครียด อโรมาเทอราปี (Aromatherapy) แปลเป็นไทยว่า "สุวคนธบาบัด" ซึ่งหมายถึง การบาบัดโรคหรือ อาการต่างๆ ของร่างกายโดยใช้กลิ่นจากนามันหอม (Essential oil) ที่สกัดมาจากส่วนต่างๆ ของพืช Aromatherapyเป็นที่รู้จักกันมานานกว่า 6,000 ปี เริ่มต้นใช้ในอียิปต์ ชาวอียิปต์มักใช้การเผา ให้ ได้มาซี่งกลิ่นหอมเพื่อบูชาเทพเจ้า เช่น กลิ่น FRANKINCENSE บูชาพระอาทิตย์ กลิ่น RA และ MYRRH บูชา พระจันทร์นอกจากนีชาวอียิปต์ยังใช้กลิ่นจากพืชธรรมชาติเพื่อความสดชื่น นิยมใช้กับนามันนวดและผสมลงใน อ่างแช่ ต่อมาชาวกรีกได้นา Aromatic Oils (นามันหอมระเหย) เพื่อนามาใช้บาบัดรักษา แพทย์กรีกผู้หนึ่งชื่อ PedactusDioscoridesได้เขียนหนังสือเกี่ยวกับพืชสมุนไพรกับการแพทย์ไว้ เมื่อประมาณ 1,200 ปีมาแล้ว และหลักการนีก็ยังใช้อยู่จนปัจจุบันนี ชาวโรมันได้รับความรู้ทางการแพทย์ด้วยการใช้กลิ่นบาบัดรักษามาจากชาวกรีกและได้พัฒนาหลัก ความรู้นีผสมผสานกับศาสตร์อื่น เช่น การนวดและการอาบและถือได้ว่าชาวโรมันเป็นชาติแรกที่ทาการค้า เกี่ยวกับอโรมา-เธอราปี คือ ได้นาเข้าผลิตภัณฑ์อโรมา จากอินเดียตะวันออกและจากอาราเบียความรู้ เกี่ยวกับอโรมาออยล์และนามันหอมแพร่กระจาย และได้รับความนิยมมากขึนหลังสงครามครูเสด ระหว่างปี ค.ศ.980-1037 นายแพทย์ อวิเซนา ชาวอาหรับได้คิดวิธีกลั่นนามันหอมระเหยขึนเป็นครังแรก และการกลั่นนี ก็ยังเป็นวิธีการสกัด กลิ่นหอมง่ายอีกวิธีหนึ่งจนถึงทุกวันนี มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ยืนยันว่า ในทวีปเอเชียชาวจีนรู้จักวีธีใช้พืชสมุนไพรและกลิ่นหอมมานาน พอๆ กับชาวอียิปต์ ในหนังสือสมุนไพรเล่มหนึ่งของจีนมีการจดบันทึกไว้เมื่อ 2,700 ปีก่อนคริสตกาล ชาวจีน สามารถแยกสารหอมจากพืชธรรมชาติได้มากกว่า 300 ชนิด และเช่นเดียวกับชาวอียิปต์ ชาวจีนมีการใช้การ เผาไม้หอมเพื่อบูชาเทพเจ้า ในสังคมไทยหากจะกล่าวถึงพระมหากษัตริย์ผู้ทรงโปรดปรานเครื่องสุคนธรสแล้ว คงจะต้องกล่าวถึง พระนามของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย สุนทรภู่ได้เขียนถึงพระองค์ไว้ในปราสาทภูเขาทองว่า “เคยหมอบใกล้ได้กลิ่นสุคนธ์ตลบละอองอบรสรื่นชื่นนาสา สินแผ่นดินสินรสสุคนธราวาสนาเราก็สินเหมือนกลิ่นสุคนธ์”
  • 2. Aroma (อโรมา) แปลว่า กลิ่น กลิ่นหอม Therapy (เธอราปี) แปลว่า การบาบัดรักษา Aromatherapy(อะโรมา-เธอราปี) หมายถึง การบาบัดรักษาโรคโดยใช้กลิ่นหอม การนากลิ่นหอมมาใช้กับการนวดนันมีมาแต่โบราณ ในการแพทย์สาขาอายุรเวทการแพทย์แผน โบราณของอินเดีย การนากลิ่นหอมมาผสมกับนามันหรือไขมันสัตว์ต่างๆ จะเป็นที่รู้จักและใช้กันมานาน แต่ การใช้อโรมา (กลิ่นหอม) ในสมัยโบราณก็ยังไม่มีการค้นคว้าอย่างจริงจังถึงคุณสมบัติ และสรรพคุณของสาร หอมที่มาแต่ละชนิด ต่อมาจนกระทั่งเมื่อต้นศตวรรษที่ 19 นี่เองที่ได้การบัญญัติศัพท์ "Aromatherapy" โดยนักเคมีชาว ฝรั่งเศสชื่อ Rene Maurice Gattefosseผู้ริเริ่มการวิจัยถึงพลังในการรักษาของนามันหอม หลังจากที่เขาถูกไฟ ลวกที่มือแล้วจุ่มแผลลงในนามันลาเวนเดอร์ แล้วพบว่ารอยแผลนันหายเร็วกว่าปกติ เขาได้ตีพิมพ์หนังสือ เกี่ยวกับผลการต่อต้านเชือโรคของนามันหอมในปี 1937 และบัญญัติศัพท์นีขึนมา ทังยังนามาใช้รักษาอาการ บาดเจ็บของทหารระหว่างสงครามโลกครังที่สองด้วย เป็นจุดเริ่มต้นให้แพทย์และนักวิทยาศาสตร์อีกหลายชาติ สนใจค้นคว้าเรื่องนีอย่างจริงจัง และพัฒนามาเป็นเทคนิควิธีการที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คนไทยก็นิยมใช้ยาหอม ยาดม เพื่อบรรเทาอาการวิงเวียน หน้ามืด ตาลาย รวมถึงการอบสมุนไพรภายหลังการคลอดบุตรมานานแล้ว Cr. http://f.lnwfile.com/_/f/_raw/76/lg/e5.jpg
  • 3. สามารถแบ่งการใช้อโรมาเธอราพีได้ดังนี 1. จิตบาบัด หรือ ไซโคอโรมาเธอราพี เป็นการใช้นามันหอมระเหยเพื่อความสมดุลของจิตใจ ทาให้รู้สึกสงบ ช่วยผ่อนคลาย หรือกระตุ้นการทางานของสมอง ช่วยบรรเทาจิตใจที่ปั่นป่วนหงุดหงิด ผ่อนคลายความเครียด และความกังวล ให้พลัง รู้สึกสดชื่น กระปรีกระเปร่า อบอุ่น มั่นคง แก้โรคซึมเศร้า และอาการป่วยทางจิตต่างๆ 2. อโรมาเพื่อความสวยงาม เป็นการนานามันหอมระเหย มาใช้กับร่างกายภายนอกเช่นผิวหนัง เส้นผม และ เป็นส่วนผสมในเครื่องสาอาง เพื่อความสวยงาม บารุงผิว ชะลอความเหี่ยวย่น ดูแลสุขภาพเส้นผม และขจัด รังแค 3. บาบัดรักษาโรค หรือ เธอราพิวทิคอโรมาเธอราพี ใช้ใน นามันหอมระเหยหลายชนิด มีสารต้านเชือโรค แก้ ปวด แก้อักเสบ กระตุ้นระบบการไหลเวียนของเลือด รักษาโรคระบบทางเดินหายใจ และทางเดินอาหาร การบาบัดด้วยกลิ่นนัน ที่มาแห่งความหอมมักจะ ได้แก่ นามันหอมระเหย ซึ่งได้จากนามันที่พืชผลิต ขึนตามธรรมชาติแล้วเก็บตุนไว้ตามส่วนต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นกลีบดอก ใบ ผิวของผล เกสร ราก หรือเปลือกของ ลาต้นแต่เน้นว่าต้องได้จากธรรมชาติเท่านัน เพราะในนามันหอมระเหย แต่ละชนิดมีองค์ประกอบทางเคมีของ สารหลายชนิดรวมกันอยู่ในปริมาณต่างๆ กันไป และยังไม่มีสารสังเคราะห์ชนิดไหนที่สามารถผสม ส่วนประกอบทางเคมีเลียนแบบธรรมชาติ เพื่อให้ได้สรรพคุณในการบาบัดอย่างแท้จริง และเมื่อเจ้านามันหอม ระเหยเหล่านีได้รับความร้อนอันพอดี อนุภาคเล็กๆ ในนามันหอมก็จะระเหยออกมาเป็นกลุ่มไอ จะโชยกรุ่นมา เข้าจมูกเราให้รู้สึกได้ถึงนานาสารพัดกลิ่นที่มีความแตกต่างกันออกไป นามันหอมระเหย (ESSENTIAL OIL) คืออะไร นามันหอมระเหยเป็นผลิตผลจากการสกัดพืชสมุนไพรนานาชนิด ซึ่งอาจสกัดมาจากส่วนใดส่วนหนึ่ง ของพืชนันๆ เช่น สกัดมาจาก ผล ดอก ใบ เมล็ด เปลือก ก้าน ฯลฯ วิธีการสกัดที่นิยมใช้ในปัจจุบันคือ การ กลั่นด้วยไอนา และการใช้สารเคมีเป็นตัวทาลายหลังจากการสกัดนามันหอมระเหยที่ได้จะถูกนามาสังเคราะห์ เพื่อกลั่นแยกหาสารต่างๆ ที่มีกลิ่นหอม สารเหล่านีเองที่จะถูกนามาคัดเลือก ผสมผสานและสร้างขึนมาใหม่ๆ AROMA THERAPY กับการบาบัดรักษาโรคผ่านศาสตร์ของนามันหอมระเหย-และการนวด
  • 4. นามันหอม (Essential Oil) จากธรรมชาติพืชพรรณที่มีกลิ่นหอม มักจะมีส่วนประกอบของนามันที่ ผลิตขึนมาตามธรรมชาติ เก็บไว้ในส่วนต่างๆ เช่น กลีบดอก ใบ ผิวของผล เกสร ราก หรือเปลือกของลาต้น ซึ่ง พืชแต่ละชนิดก็จะมีกลิ่นเฉพาะตัวต่างกันไป นามันนีจะระเหยได้เร็วมาก โดยเฉพาะที่อุณหภูมิ 30-40 องศา เซลเซียส เมื่อได้รับความร้อนจะระเหยออกมาให้กลิ่นหอมไปทั่ว นามันหอมหลายชนิดมีคุณสมบัติทางเคมีเป็น ยาต่อต้านเชือโรค แบคทีเรีย หรือเชือรา ใช้บรรเทาอาการปวดบวมอักเสบ หรือทาให้จิตใจเบิกบาน ระงับ ความกังวลได้ โดยขึนอยู่กับนามันหอมแต่ละชนิด หลักการของอโรมาเธอราพี คือ มนุษย์มีประสาทรับกลิ่นอยู่ในโพรงจมูก เมื่อกลิ่นต่างๆ ผ่านเข้ามา ประสาทรับกลิ่นจะส่งสัญญาณไปสู่สมองส่วนควบคุมอารมณ์และความทรงจา ในขณะที่อากาศจะผ่านไปยัง ปอดและเข้าสู่กระแสเลือดไปตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย หากหายใจเอาอากาศที่ไม่บริสุทธิ์ เช่น ไอเสียรถยนต์หรือควันบุหรี่เข้าไป จะทาให้สารพิษที่ปนอยู่ใน อากาศเสียนันตกค้างอยู่ในระบบทางเดินหายใจ และมีผลกระทบต่อระบบประสาท ทังยังทาให้อารมณ์และ ความทรงจาแปรปรวนไปด้วย ประสาทรับกลิ่นก็เช่นเดียวกันที่จะได้รับผลกระทบจากกลิ่นเสียของมลพิษและ สารเคมีอันตราย หรือกลิ่นดีที่มาจากธรรมชาติ ด้วยเหตุนีจึงได้มีการค้นคว้าวิจัยนามันหอมระเหยที่ถูกสกัดจากพืชสมุนไพรหลากหลายชนิดเพื่อหา คุณสมบัติที่เหมาะสมสาหรับนามาบาบัดรักษาโรคต่างๆ ซึ่งบางชนิดก็สามารถกาจัดแบคทีเรียได้ บางชนิดก็ Cr : 
  • 5. ช่วยแก้ภูมิแพ้ หรือช่วยกระชับผิวให้เต่งตึง ส่วนกลิ่นนันมีความสามารถในการผ่อนคลายความเครียดและทาให้ จิตใจสงบหรือรู้สึกกระปรีกระเปร่า สาหรับนามันหอมระเหยที่ใช้ในการบาบัดแบบอโรมาเธอราพี จะต้องมีความบริสุทธิ์สูง ซึ่งความ บริสุทธิ์ของนามันจะขึนอยู่กับหลายปัจจัยตังแต่ ภูมิอากาศของสถานที่ปลูก, วิธีการปลูก, การดูแลรักษาจนถึง การเก็บเกี่ยวและกระบวนการสกัดเอานามันหอมระเหย วิธีการนานามันหอมระเหยมาใช้เองก็มีหลายวิธี ทังการนวด, อาบ, ประคบ, การสูดดม, สูดไอนา, การ เผาอบห้องรวมถึงการผสมกับเครื่องหอมนามันหอมและเครื่องสาอาง ซึ่งแต่ละวิธีต่างมีความเหมาะสมในการ ใช้แตกต่างกัน โดยการนวด เป็นวิธีนิยมและได้ผลดีที่สุดวิธีหนึ่ง เพราะสรรพคุณของนามันหอมระเหยหลายชนิดจะ สามารถช่วยบาบัดรักษาโรคได้เมื่อยาจะซึมผ่านผิวหนังจากการนวด ส่วนกลิ่นหอมจะช่วยให้ประสาทสัมผัสรับ กลิ่นปรับอารมณ์ให้รู้สึกสบายขึนไปพร้อมๆ กัน อโรมาเธอราพีหอมบาบัดโรคอีกวิธีที่ได้รับความนิยมในวงกว้างคือ การสูดดม ซึ่งเป็นการใช้กลิ่นหอม จากนามันหอมระเหยอย่างเดียวโดยไม่มีการสัมผัสทางผิวหนัง การสูดดมกลิ่นหอมนันสามารถทาได้ 2 วิธีคือ ใส่นามันหอมระเหย 2-3 หยด ในชามที่เตรียมนาอุ่นไว้แล้วก้มลงสูดดมสัก 2-3 นาที หรือหยดนามันหอม ระเหย 1-2 หยด ในผ้าเช็ดหน้าแล้วสูดดม อย่างไรก็ตามควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสนามันหอมระเหยโดยตรง นอกจากนียังมีวิธีที่คล้ายกันคือ การสูดไอนา เนื่องจากนามันระเหยบางชนิดสามารถฆ่าเชือโรคได้เมื่อ สูดดมไอนาของนามันหอมระเหยจะช่วยกาจัดเชือโรคในระบบทางเดินหายใจ โดยให้หยดนามันหอมระเหย 2- 4 หยด ลงในชามขนาดใหญ่ ซึ่งผสมนาร้อนไว้ จากนันใช้ผ้าคลุมและก้มหน้าลงเข้าไปอังและสูดไอนาร้อนผสม นามันหอมระเหย พร้อมพักเป็นระยะๆ อนึ่งวิธีนีไม่เหมาะกับผู้ที่มีปัญหาเรื่องผิวบางและไม่เหมาะกับผู้ที่เป็น โรคหอบหืด ตัวนามันหอมระเหยที่ได้จากพืชแต่ละชนิดล้วนมีสรรพคุณในการบาบัดโรคต่างกัน เช่น นามันพิมเสน มีสรรพคุณแก้สิว ลดการอักเสบและฆ่าเชือ แก้รังแคบารุงเส้นผม รวมถึงยังสามารถไล่แมลงและบรรเทา ความเครียด
  • 6. ส่วนนามันลาเวนเดอร์ สามารถใช้แก้นากัดเท้า บรรเทาอาการเมาค้าง บรรเทาอาการหลอดลมอักเสบ และแก้หวัด นอกจากนียังช่วยให้นอนหลับง่าย สาหรับนามันตะไคร้หอมซึ่งมักนามาใช้ไล่ยุงนันยังช่วยบรรเทา อาการหวัด, ปวดศีรษะ, ลดไข้และผ่อนคลายกล้ามเนือ เป็นต้น ในการเลือกซือนามันหอมระเหยจะมีสิ่งสาคัญที่ต้องพิจารณาให้ดีเหมือนกับการซือสินค้าอื่นๆ ด้วย การอ่านฉลากที่ติดภาชนะบรรจุ หรือสอบถามข้อมูลรายละเอียดจากบริษัทที่ขายในหัวข้อต่อไปนี เช่น ประเทศผู้ผลิต ชื่อทางวิทยาศาสตร์ ส่วนของพืชที่ใช้กลั่นเอานามันและกระบวนการสกัด เนื่องจากบริษัทผู้ผลิต นามันหอมระเหยที่มีคุณภาพและน่าเชื่อถือ จะแสดงข้อมูลของแหล่งผลิตและข้อมูลอื่นๆ ติดไว้ที่ฉลากเสมอ กลิ่นหอมของนามันหอม แบ่งเป็นกลุ่มต่างๆ ได้ดังนี กลิ่นส้ม ให้ความรู้สึกสดชื่นและสะอาด ได้จากพืชในตระกูลส้ม Cr. http://www.of-md.com/wp-content/uploads/2015/01/346.jpg กลิ่นเครื่องเทศ ให้ความรู้สึกหนัก หวาน และลึก ได้จากเครื่องเทศต่างๆ เช่น อบเชย กานพลู Cr.https://meawyjung2541gamil.files.wordpress.com/2015/09/thaihealth_c_achjkltv13 59.jpg
  • 7. กลิ่นดอกไม้ ให้ความรู้สึกอ่อนหวาน นุ่มนวล ได้จากดอกไม้ที่มีกลิ่นหอมต่างๆ เช่น กุหลาบ มะลิ พิกุล แก้ว Cr. http://b.lnwfile.com/_/b/_raw/2e/82/7n.jpg กลิ่นป่า ให้ความรู้สึกแห้งและเบาสบาย ได้จากนามันจากเนือไม้ต่างๆ เช่น นามันสน Cr. https://oyspace.files.wordpress.com/2016/05/copy-of-lady-under-trees- 600x398.jpg?w=490 กลิ่นสมุนไพร เป็นกลิ่นของเมนทอล และกลิ่นสีเขียวของใบไม้ ได้จากนามันโหระพา กระเพรา สะระแหน่ ตะไคร้ Cr. http://download.4-designer.com/files/20121226/Kitchen-the-foodstuff-03-the-larger-HD-35583.jpg
  • 8. กลิ่นหอมจากพืชพรรณเหล่านีมีผลต่อจิตใจ และอารมณ์ความรู้สึกของคนมาก เมื่อเราสัมผัสกับกลิ่น ด้วยการสูดไอระเหย การนวดนามันบนผิวเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนือ การทาครีม เจล หรือแม้แต่การอาบนาหรือ แช่นาที่ผสมนามันหอม หรือกิจกรรมใดๆ ก็ตาม โมเลกุลของกลิ่นหอมจะผ่านเข้าไปทางจมูก ไปกระตุ้นเซลล์ ประสาทรับความรู้สึกที่อยู่ในโพรงจมูก ทาให้เกิดกระแสประสาทวิ่งไปยังศูนย์รับรู้กลิ่นในสมอง แล้วผ่านไปยัง ส่วนของสมองที่เรียกว่า ลิมบิกซิสเต็ม (limbic system) ซึ่งเป็นศูนย์ควบคุมการเรียนรู้ ความจา อารมณ์ ความหิว และอารมณ์ทางเพศ กลิ่นที่เข้ามากระตุ้นลิมบิกซิสเต็ม จะทาให้สมองปล่อยสารเอนดอร์ฟิน (endorphins) เอนเซปฟาลีน (encephaline) และเซโรโทนิน (serotonin) ออกมา เอนดอร์ฟินจะช่วยลด ความเจ็บปวด เอนเซปฟาลีนจะส่งเสริมให้มีอารมณ์ดี และเซโรโทนิน จะช่วยให้สงบเยือกเย็น และผ่อนคลาย ดังนั้นอโรมาเทอราปี จึงถูกนามาใช้ในการคลายความเครียด เหนื่อยล้า และโรคนอนไม่หลับได้ กลิ่นต่างๆที่นิยมใช้ในสปา สาหรับนวดตัว หรือจุดให้หอมระเหยสร้างบรรยากาศ พบได้บ่อยๆ เช่น กลิ่นลาเวนเดอร์ มาจอแรม คาโมไมลด์ และดอกส้ม จะช่วยทาให้ง่วง นอนหลับสบาย จึงนามาใช้บาบัดอาการ เครียด นอนไม่หลับ โกรธ กังวล ราคาญ และความดันโลหิตสูง ทาให้ร่างกายผลิตเซโรโทนิน ทาให้ใจสงบ Cr. http://2.bp.blogspot.com/- vXg3tmPxkLM/VeR_TyEoojI/AAAAAAAADgw/e5qaK21Z6I8/s1600/04.jpg
  • 9. Cr.https://www.chemipan.com/home/images/marjoram-essential-oil-health-benefits.jpg Cr. http://fb1-cy.lnwfile.com/_/cy/_raw/46/ky/hc.png กลิ่นกุหลาบ และคลารี่เสจ ไปกระตุ้นทาลามัส และการผลิตเอนเซปฟาลีน ช่วยผ่อนคลายอารมณ์ตึงเครียด Cr. http://idofragrance.com/wp-content/uploads/2016/05/rose-perfume2.png
  • 10. CR.http://www.healthandtrend.com/wp-content/uploads/2015/12/clarysage1.jpg กลิ่นโรสแมรี่ ทาให้สดชื่นแจ่มใส มีสมาธิและมีกาลังใจ แก้ปวดศีรษะ ไมเกรน Cr. http://www.aroka108.com กลิ่นเปปเปอร์มินต์ ทาให้จิตใจสดชื่น แจ่มใส ปลอดโปร่ง กระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ Cr.http://www.thaihometown.com/knowledge/4319
  • 11. กลิ่นเจราเนียม จะช่วยปรับระดับฮอร์โมนในร่างกายให้เข้าสู่สมดุล ซึ่งจะทาให้จิตใจเป็นปกติ จึงมีประโยชน์กับ สตรีวัยหมดประจาเดือนที่มักจะมีอารมณ์ปรวนแปร หดหู่ เศร้าหมอง Cr. http://aroma.aromaandmore.com/essential-oil/essential-oil/geranium-bourbon-100.html ยูคาลิปตัส (Eucalyptus) หรือ คาเจพุทธรักษา (Cajeput)สามารถใช้หยดบนผ้า สาลี หรือในอ่างนาร้อน แล้ว สูดดมไอ แก้อาการหวัด หรือแพ้อากาศได้ จึงพบเสมอในยาดมที่ใช้กันแพร่หลาย Cr. https://www.chemipan.com/home/index.php/ Cr.http://lanny.jp/6261/
  • 12. เฟนเนล (Fennel) เกรปฟรุ้ต (Grapefruit)ใช้ทาผิวเพื่อลดไขมัน Cr. http://www.mkexportsindia.com/fennel-seed-oil.htm Cr. http://lanny.jp/6261/ บางชนิดเหมาะสาหรับการทาผิวเพื่อบารุงผิวพรรณ เช่น ทีทรี (Tea Tree) ลาเวนเดอร์ (Lavender) เทอเมอริค (Turmeric) จึงนิยมนามาผสมกับครีม หรือเจลสาหรับการอาบนา
  • 13. สาหรับนามันหอมจากพืชพรรณไม้ของไทยที่น่าจะผลิตใช้ได้เองในเมืองไทยได้แก่ นามันตะไคร้หอม (Citronella Oil)ใช้ทาผิวเพื่อกันยุง สามารถทาเป็นสเปรย์พ่นด้วยการนามาผสมกับนา บริสุทธิ์ นามันดอกโหระพา (Sweet Basil Oil)ช่วยป้องกันการติดเชือ ไล่แมลง บรรเทาอาการปวดต่างๆ รวมทังโรค เก๊าท์ และยังช่วยลดอาการเครียดกระวนกระวายทาให้อารมณ์สดชื่นขึนจากความเหนื่อยล้าการใช้ต้องระวัง เพราะอาจระคายเคืองต่อผิวหนังได้ง่าย กลิ่นพิมเสน แก้สิว ลดการอักเสบและฆ่าเชือ แก้รังแคบารุงเส้นผม ไล่แมลงและบรรเทาความเครียด Cr: http://www.thaihealth.or.th/data/content/2013/03/3104/cms/3104_thaihealth_y4vi653u9hor.jpg Cr: http://www.aroka108.com/%E0%B9%82%E0%B8% %9E%E0%B8%B2- %E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%9E%E 0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0% B8%B1%E0%B8%A7- %E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E 0%B8%B8%E0%B8%82%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E/ Cr: https://www.thaisecondhand.com/product/10982259
  • 14. นามันมะกรูด (Bergamot Oil)ช่วยป้องกันการติดเชือ บาบัดอาการผื่นแดงของผิวหนัง และยังช่วยให้จิตใจ สงบ สามารถควบคุมอารมณ์ได้ดี และหลับสบาย นามันขิง (Zingiberofficinale) และนามันพริกไทยดา (Black Pepper Oil)ช่วยบรรเทาอาการปวดกล้ามเนือ และรูมาติซั่ม โดยทาเป็นนามันนวดประคบ นอกจากนียังบรรเทาอาการเครียด กระวนกระวาย เหนื่อยล้า และ ทาให้เกิดอาการตื่นตัว อบอุ่น อย่างไรก็ตาม การใช้นามันขิงต้องระวังให้ใช้ขนาดน้อยๆ เพราะจะระคายเคือง ต่อผิวหนังได้ง่าย และห้ามใช้ในหญิงมีครรภ์ นามันจันทน์ (Sendalwood Oil)ให้ความชุ่มชื่นแก่ผิวหนังที่แห้ง และผมที่เสีย นอกจากนียังช่วยให้จิตใจผ่อน คลาย สงบ สร้างความสดชื่นให้กับจิตใจที่กาลังหดหู่และช่วยทาให้นอนหลับสบายห้ามใช้ในหญิงมีครรภ์และ อาจทาให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง Cr: http://www.homeshop18.com/soulflower-sandalwood-aroma-massage-oil/health-beauty/skin-care CR: http://www.google.co.th/url?sa=i&rct=j&q=ขิง+สรรพคุณ&source=images Cr: Data:image/jpeg;base64,/9j/4AAQSkZJRgABAQAAAQABAAD/2wCEAAkGBxMSEhUTEhMWFh
  • 15. นามันดอกมะลิ (Jasmine Oil)ช่วยทาให้จิตใจผ่อนคลาย ตื่นตัว ไม่หดหู่เศร้าหมอง Cr.http://idofragrance.com/wp-content/uploads/2016/08/aroma-oil-6.jpg นามันกระดังงาไทย (YlangYlang Oil)ช่วยเสริมการงอกงามของเส้นผม บาบัดอาการจากแมลงกัดต่อย และใช้ กับสิว ป้องกันการติดเชือและการกระจายตัวของเชือโรค ใช้กับผิวหนังได้ทุกชนิด ในทางจิตใจ ช่วยบรรเทา อาการจิตใจหดหู่ เครียด และการนอนไม่หลับ รวมถึงอาการโกรธ กระวนกระวายใจ ทาให้สดชื่นและผ่อน คลายมากขึน การใช้ต้องระวังไม่ใช้ในขนาดเข้มข้นกับคนที่ป่วยเป็นความดันโลหิตสูง เพราะจะทาให้คลื่นไส้ และปวดศีรษะได้ Cr.https://www.chemipan.com/home/index.php/635 กลิ่นเลมอน (มะนาว) ทาให้สดชื่น แจ่มใส มีสมาธิ ใช้นวดจะทาให้ระบบไหลเวียนโลหิตดีขึน Cr.http://idofragrance.com
  • 16. วิธีการในการสกัดนามันหอม มีหลายวิธี เช่น การกลั่น การสกัดด้วยนามัน การสกัดด้วยแอลกอฮอล์ การคันด้วยแรง และการสกัดด้วยคาร์บอนไดออกไซด์เหลว เป็นต้น โดยต้องใช้ดอกไม้ หรือใบไม้จานวนมาก เพื่อให้ได้นามันไม่กี่หยด ทาให้หัวนามันหอมมีความเข้มข้นสูง และราคาค่อนข้างแพง เวลานามาใช้งานจึงต้อง ทาให้เจือจางเสียก่อน หากนามานวดผ่อนคลายตัวมักจะต้องผสมกับนามันพืชบริสุทธิ์ (Base oil) อย่างเช่น นามันถั่วเหลือง นามันทานตะวัน นามันโจโจ้บา นามันมะกอก นามันดอกคาฝอย เป็นต้น นอกจากนามันนวด แล้ว ก็ยังสามารถใช้หัวนามันหอมเพียงไม่กี่หยดมาผสมกับนา หรือปรุงกับครีม แชมพู สบู่ เจลอาบนาหลาก กลิ่น ปัจจุบันนีมี8 วิธีในการสกัดนามันหอม 1. การนวด (MASSAGE)เป็นวิธีที่ได้ผลดีที่สุดวิธีหนึ่ง เพราะด้วยสรรพคุณของนามันหอมระเหยแต่ละ ชนิดจะสามารถช่วยบาบัดรักษาโรคได้ ด้วยยาจะซึมผ่านผิวหนังด้วยการนวด ส่วนกลิ่นหอมจากนามันหอม ระเหยจะช่วยให้ประสาทสัมผัสรับกลิ่นปรับอารมณ์ให้ รู้สึกสบายขึนไปพร้อม ๆ กัน ดังนันการใช้นามันหอม ระเหยที่มีคุณภาพดี และเลือกใช้ให้เหมาะกับความต้องการในการบาบัดจะทาให้การนวดมีประสิทธิภาพขึน 2. การอาบ (BATHS)เป็นวิธีง่าย ๆ ที่สามารถทาเองได้ คือ ผสมนาอุ่นในอ่างนาสาหรับลงแช่ได้แล้ว หยดนามันหอมระเหยประมาณ 6-8 หยด ลงในอ่างนาแล้วลงแช่ทังตัวสักประมาณ 20 นาที ไอระเหยจากอ่าง นาอุ่นและการซึมทางผิวหนังด้วยการแช่จะช่วยให้รู้สึกสดชื่นขึน 3. การประคบ (COMPRESSES)ใช้ผ้าขนหนูสะอาด ๆ ชุบนาที่ผสมนามันหอมระเหยแล้วประคบตาม บริเวณที่ต้องการ (ห้ามประคบบริเวณดวงตา) ส่วนผสมใช้นามันหอมระเหย 2-3 หยด ในชามที่เตรียมนาอุ่นไว้ แล้วก้มลงสูดดมสัก 2-3 นาที หยดนามันหอมระเหย 1-2 หยด ในผ้าเช็ดหน้าแล้วสูดดม (ต้องหลีกเลี่ยงการ สัมผัสนามันหอมระเหยโดยตรง) 4. การสูดดม (INHALATIONS)เป็นการใช้กลิ่นหอมจากนามันหอมระเหยอย่างเดียวไม่มีการสัมผัสทาง ผิวหนัง การสูดดมกลิ่นหอมทาได้ 2 วิธีคือ ใส่นามันหอมระเหย 2-3 หยด ในชามที่เตรียมนาอุ่นไว้แล้วก้มลงสูด ดมสัก 2-3 นาที หยดนามันหอมระเหย 1-2 หยด ในผ้าเช็ดหน้าแล้วสูด ดม (ต้องหลีกเลี่ยงการสัมผัสนามัน หอมระเหยโดยตรง) 5. การสูดไอนา (VAPORISATION)นามันระเหยบางชนิด เป็นแอนดีเซปติก (ANTISEPTIC) ฆ่าเชือโรค ได้เมื่อสูดดมไอนาจากนามันหอมระเหยชนิดนีเข้าไปจะช่วยกาจัด เชือโรคในระบบทางเดินหายใจได้วิธีทาหยด นามันหอมระเหย 2-4 หยด ลงในชามใหญ่ ซึ่งผสมนาร้อนไว้แล้ว ใช้ผ้าคลุมและก้มหน้าลงเข้าไปอังไอนา สูดไอ นาร้อนผสมนามันหอมระเหย พักเป็นระยะ ๆ วิธีนีไม่เหมาะกับผู้ที่มีปัญหาเรื่องผิวบาง และไม่เหมาะกับผู้ที่ เป็นหอบหืด
  • 17. 6. การเผา-อบห้อง เป็นการอบห้องให้หอม หลักการอบห้องเพื่อฆ่าเชือโรคในโรงพยาบาลก็ใช้หลักการ นี่เช่นกัน เพราะนามันหอมระเหยที่มีฤทธิ์ ฆ่าเชือถูกอบอวลในห้องที่ปิดมิดชิดสามารถฆ่าเชือโรคได้ในกรณีที่ ต้องการ ให้ห้องหอมตามกลิ่นที่ต้องการก็สามารถทาได้โดยหยดนามัน หอมระเหย 3-4 หยด ในนาที่เตรียมใส่ ในจานสาหรับเผา (AROMA JAR) แล้วจุดเทียนไว้ในห้อง ความร้อนจากเทียนจะทาให้กลิ่นหอมจากนา ผสม นามันหอมระเหยส่งกลิ่นอบอวลไปทั่วห้อง ควรเผา-อบไม่นานกว่า 10 นาทีต่อครัง 7. ใช้ผสมกับเครื่องหอมและนามันหอม ส่วนมากเครื่องหอม เช่น บุหงา และนาหอมจะมีส่วนผสม จากกลิ่นไม้หอม หรือกลิ่นจากดอกไม้นานาพันธุ์ ผสมอยู่ การใช้เครื่องหอมและนาหอม ส่วนมากจะมี จุดประสงค์ให้เกิดความสบายใจ สะอาด สดชื่น และเป็นที่เราใจตราตรึงใจจากผู้คนที่อยู่ ใกล้ 8. ใช้ผสมกับเครื่องสาอาง ครีม โลชั่น ความหลากหลายของคุณสมบัติเฉพาะจากนามันหอมระเหย สามารถช่วยให้เครื่องสาอาง ครีมและโลชั่น ต่าง ๆ กลายเป็นผลิตภัณฑ์บารุงผิวกาย ผิวหน้า เส้นผมและสาร สกัดบางชนิดยังช่วยในการทาความสะอาดผิวหนัง สร้างความสมดุลให้ผิวอีก ด้วย แต่การเลือกใช้นามันหอม ระเหยแต่ละชนิด ต้องพิถีพิถัน และศึกษาให้รู้จริงว่า สารชนิดใด มีคุณสมบัติเช่นใด จึงจะก่อประโยชน์สูงสุด ประโยชน์ คุณสมบัติในนามันระเหยนี สามารถนามาใช้โดยการนวด ให้ซึมผ่านผิวหนัง บางชนิดก็เป็นสารสกัดที่ กาจัดแบคทีเรียได้ บ้างก็ช่วยแก้ภูมิแพ้ ที่ผิวหนัง ช่วยกระชับผิวให้เต่งตึง ส่วนกลิ่นที่ได้จากสารสกัดสุมนไพรนี จะช่วยกระตุ้นเปลี่ยนสภาพอารมณ์และจิต ใจ เช่น ช่วยให้สงบ ช่วยให้ผ่อนคลาย ช่วยให้กระปรีกระเปร่า ช่วย คลายเครียด ช่วยลดความกระวนกระวายใจ การจะนาหัวนามันหอมที่มีวางจาหน่ายอยู่ทั่วไปมาผสมใช้เอง ไม่ว่าจะเป็นนามันนวด ครีม แชมพู หรืออื่นๆ ควรศึกษาวิธีการและได้รับคาแนะนาอย่างจริงจังจากผู้เชี่ยวชาญ เพราะการใช้ในปริมาณที่ไม่ เหมาะสมอาจเกิดผลเสียต่อร่างกายแทนที่จะเป็นผลดีได้ ต้องระวังไม่สัมผัส หรือสูดกลิ่นของหัวนามันนัน โดยตรงเพราะมีความเข้มข้นสูง ทาให้อาจเป็นอันตรายต่อผิวหนังและเนือเยื่อจมูก จึงต้องนามาเจือจางก่อนใช้ เสมอ นอกจากนีนามันหอมจากพืชตระกูลส้มทุกชนิดหรือนามันมะกรูด อาจมีปฏิกิริยาต่อแสงแดดทาให้เกิด การแพ้ได้ง่าย ใครที่คิดใช้นามันหอมในกลุ่มนีทาตัวทาผิวก็ไม่ควรออกไปเดินตากแดด อาจเกิดแพ้แดดขึนมาได้ โดยไม่รู้ตัว จึงควรระวังไว้ก่อน
  • 18. ข้อห้ามเกี่ยวกับการใช้นามันระเหย 1.ใช้ภายนอกเท่านัน ห้ามกิน จะมีผลโดยตรง ต่อระบบย่อยอาหาร นามันหอมระเหยจะถูกดูดซึมใน กระเพาะอาหาร ทาให้อวัยวะระคายเคือง กระตุ้นนาย่อย การหายใจ การไหลเวียนเลือด และการย่อยอาหาร เป็นการออกฤทธิ์แบบเดียวกับเครื่องเทศ บางตัวมีเป็นพิษกับการทางานของตับ ถ้ามีกลืนเข้าไป อย่าพยายามทาให้อาเจียนให้ดื่มนาหรือนมตามทันที แล้วรีบส่งให้แพทย์ดูแล 2. ห้ามสูดดมโดยตรง เว้นแต่ได้ทาให้เจือจางแล้ว 3. ห้ามสัมผัสผิวหนังโดยตรง ต้องเจือจางตามสัดส่วน เช่นผสมเพื่อเป็นนามันนวดตัวไม่ควรเกิน 3 % กับผิวหน้าไม่ควรเกิน 1 % เป็นต้น 4. ผู้มีปํญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ โรคหอบหืด เพราะนามันหอมระเหยบางกลิ่นจะกระตุ้นให้ อาการ ของโรคกาเริบ เช่น rosemary ห้ามใช้กับผู้มีปัญหาเกี่ยวกับ โรคลมชักหรือลมบ้าหมู ( epilepsy )เช่น rosemary, fennel, sage, spike lavender, tansy, camphorผู้มีโรคความดันโลหิตสูง ควรศึกษากลิ่นที่มีผลต่อการ ผลกระตุ้นให้ ความดันโลหิตสูงขึนได้ เช่น Hyssop, Rosemary, sage, Thyme เป็นต้น ต้องการใช้กลุ่มนี หลีกเลี่ยงการใช้นามันนวดผิวหลังการฉายรังสีจากมะเร็ง โดยเฉพาะมะเร็งผิวหนัง 5. หลีกเลี่ยงการใช้กับหญิงตังครรภ์หรือกาลังให้นมบุตร เพราะกลิ่นบางกลิ่นจะกระตุ้นให้ร่างกาย เกิดการหลั่งฮอร์โมนเอสโตรเจน ซึ่งส่งผลให้มดลูกเกิดการหดตัว อาจส่งผลให้เกิดภาวะแท้งบุตรได้ เช่น aniseed, basil, clary sage, atlas cedarwood, virginiancedarwood, cypress, sweet fennel, jasmine, juniper, sweet majoram, myrrh, nutmeg, peppermint, rose, rosemary เป็นต้น 6. ห้ามใช้กับผู้ที่เพิ่งฝังเข็มมาใหม่ๆ ฤทธิ์จากนามันหอมระเหยอาจมีผลต่อต้านการทางานของระบบ ภายในที่เกิดจากการรักษาโดยการฝังเข็มได้ 7. นามันหอมระเหยต่อไปนี เมื่อใช้แล้วห้ามถูกแสงแดดอย่างน้อย 4 ชม. เพราะจะเกิดผื่นแพ้เกิดขึน (photo-toxic) ส่วนใหญ่ในกลุ่ม Citrus เช่น Bergamot, Grapefruit, Orange Bitter , lemon, Kaffir, lime, mandarin
  • 19. ข้อควรระวังในการใช้นามันระเหย 1. ถ้ามีผิวที่แพ้ง่ายให้ทาการทดสอบบนผิวบริเวณที่แพ้ง่าย ( Patch test ) โดยผสมนามันหอม ระเหย 1 หยดกับนามันเบส หรือเรียกว่า Carrier oil ( อาทิ grape seed, Sweet almond, olive oils ) 1 ช้อนโต๊ะ ทาทิงไว้ ถ้าไม่มีอาการระคายเคือง อักเสบ ก็ถือว่าปลอดภัยสามารถใช้ นามันหอมระเหยตัวนันได้ กรณีเป็นนามันหอมระเหยสูตรผสมก็ให้นามาตัวที่ผสมแล้วมาทดสอบ ในลักษณะเดียวกัน 2. ถ้าสัมผัส100% ให้ล้างมือให้สะอาดทันทีทุกครัง ไม่ขยีตา แคะจมูก หรือหยิบอาหารด้วยมือเข้า ปากขณะที่มือสัมผัสนามันหอมระเหย 3. ข้อแนะนาในกรณีของผู้เริ่มต้นศึกษาเรื่องนี ไม่ควรเลือกผสมนามันหอมระเหยมากเกิน 4 ชนิด และไม่ผสมนามัน หอมระเหยที่มีสรรพคุณตรงกันข้าม เช่น นามันหอมระเหยที่มีสรรพคุณกระตุ้น กับนามันหอมระเหยที่มีผลระงับ 4. ถ้านามันหอมระเหย หกรดพืนไม้หรือเฟอร์นิเจอร์ ให้รีบเช็ดทาความสะอาดทันที เพราะนามัน หอมระเหยหลายตัวมีความเข้มข้นสูงอาจทาลายผิวหน้าของวัสดุนันๆ ได้ 5. มีนามันหอมระเหยบางตัวที่มีความปลอดภัยสูงสามารถใช้ตรงกับผิวหนังได้เลย เช่น lavender, Chamomile, Tea Tree เช่น สามารถใช้ lavender ทาบริเวณแผลนาร้อนลวกได้ 6. กรณีใช้จุดกับเตา ( burner ) ควรเปลี่ยนกลิ่นสลับทุก 3-4 วัน ถ้ามีนามันแห้งไหม้ติดก้นเตา ต้อง ล้างยางออกให้สะอาดแล้วเติมของใหม่และดับเทียนทุกครังก่อนนอนหรือก่อนออกจากบ้าน
  • 20. วิธีเก็บนามันหอมระเหย 1. เก็บให้พ้นมือเด็กและสัตว์เลียง ทังนีตัวขวดนามันหอมระเหยที่ดีต้องมีตัวควบคุมการหยดครอบปาก ขวด โดยควบคุมการหยดทีละหยดซึ่งเป็นข้อกาหนดมาตรฐาน ซึ่งเป็นตัว safety อีกทางหนึ่ง ไม่ แนะนาชนิดชนิดแบบยางบีบ dropper เพราะนามันหอมระเหยบางชนิดมีความเข้มข้นสูง อาจมีฤทธิ์ กัดกร่อนตัวยางให้ละลาย ส่งผลต่อคุณภาพนามันหอมระเหยให้เสียไปได้ 2. นามันหอมระเหยที่ดีต้องเก็บในขวดแก้วสีเข้มเท่านัน ปิดฝาให้แน่นเก็บให้พ้นแสงแดด ไม่แนะนาให้ เก็บในตู้เย็น เพราะกลิ่นอาจออกมาปนเปื้อนกับอาหารได้ 3. อายุของนามันหอมระเหย มีตังแต่ 8 เดือนไปจน 8 หรือ 10 ปี ขึนอยู่กับประเภทของสมุนไพร กระบวนการผลิต โดยกลุ่มส้มจะมีอายุสันที่สุด Citronella, Tea tree, Black pepper 3-4 ปี, Clary sage, Rose wood 4-5 ปี แต่ cedarwood,vetiverเก็บได้ 6-8 ปี ทังนีให้สังเกต ถ้าตัวนามัน เริ่มมีตะกอน ขุ่น เหนียวขึนและมีกลิ่นเปรียวแตกต่างจากกลิ่นเดิม ก็ให้หยุดใช้และควรสอบถามทาง ร้านทุกครังที่ซือ และการจัดเก็บนามันหอมระเหยให้ถูกวิธีมีส่วนมาก
  • 21. อ้างอิง http://xn----6xfb4ac0ddme7bf3yg3ch.blogspot.com/2009/07/blog-post_4977.html (วันที่สืบค้น 4/2/2560) http://www.thaicam.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=53:- aroma(วันที่สืบค้น 4/2/2560) http://welovearoma.weloveshopping.com/store/article/view (วันที่สืบค้น 4/2/2560) http://elib.fda.moph.go.th/library/default.asp?page2=subdetail&id_L1=27&id_L2=1551 8&id_L3=190(วันที่สืบค้น 4/2/2560) http://www.thaihealth.or.th/Content/7857(วันที่สืบค้น 4/2/2560) http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=nara-gorn&month=20-12- 2007&group=9&gblog=16(วันที่สืบค้น 4/2/2560) รายชื่อสมาชิก นางสาวธนัญชนก อารูณ เลขที่ 2 นางสาวมลิสา ต๊ะมัง เลขที่ 10 ชันมัธยมศึกษาปีที่ 6/2