SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
“อโรมาเธอราปี” บาบัดเครียด
อโรมาเทอราปี (Aromatherapy) แปลเป็นไทยว่า "สุวคนธบาบัด" ซึ่งหมายถึง
การบาบัดโรคหรืออาการต่างๆ ของร่างกายโดยใช้กลิ่นจากนามันหอม (Essential oil) ที่สกัดมาจากส่วนต่างๆ
ของพืช
ผู้บัญญัติศัพท์ "Aromatherapy" คือนักเคมีชาวฝรั่งเศสชื่อ Rene Maurice Gattefosse
ผู้ริเริ่มการวิจัยถึงพลังในการรักษาของนามันหอม
หลังจากที่เขาถูกไฟลวกที่มือแล้วจุ่มแผลลงในนามันลาเวนเดอร์ แล้วพบว่ารอยแผลนันหายเร็วกว่าปกติ
เขาได้ตีพิมพ์หนังสือเกี่ยวกับผลการต่อต้านเชือโรคของนามันหอมในปี 1937 และบัญญัติศัพท์นีขึนมา
ทังยังนามาใช้รักษาอาการบาดเจ็บของทหารระหว่างสงครามโลกครังที่สองด้วย
เป็นจุดเริ่มต้นให้แพทย์และนักวิทยาศาสตร์อีกหลายชาติสนใจค้นคว้าเรื่องนีอย่างจริงจัง
และพัฒนามาเป็นเทคนิควิธีการที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คนไทยก็นิยมใช้ยาหอม ยาดม
เพื่อบรรเทาอาการวิงเวียน หน้ามืด ตาลาย รวมถึงการอบสมุนไพรภายหลังการคลอดบุตรมานานแล้ว
นามันหอม (Essential Oil) จากธรรมชาติพืชพรรณที่มีกลิ่นหอม
มักจะมีส่วนประกอบของนามันที่ผลิตขึนมาตามธรรมชาติ เก็บไว้ในส่วนต่างๆ เช่น กลีบดอก ใบ ผิวของผล
เกสร ราก หรือเปลือกของลาต้น ซึ่งพืชแต่ละชนิดก็จะมีกลิ่นเฉพาะตัวต่างกันไป นามันนีจะระเหยได้เร็วมาก
โดยเฉพาะที่อุณหภูมิ 30-40 องศาเซลเซียส เมื่อได้รับความร้อนจะระเหยออกมาให้กลิ่นหอมไปทั่ว
นามันหอมหลายชนิดมีคุณสมบัติทางเคมีเป็นยาต่อต้านเชือโรค แบคทีเรีย หรือเชือรา
ใช้บรรเทาอาการปวดบวมอักเสบ หรือทาให้จิตใจเบิกบาน ระงับความกังวลได้
โดยขึนอยู่กับนามันหอมแต่ละชนิด
กลิ่นหอมของนามันหอม แบ่งเป็นกลุ่มต่างๆ ได้ดังนี
กลิ่นส้ม ให้ความรู้สึกสดชื่นและสะอาด ได้จากพืชในตระกูลส้ม
กลิ่นเครื่องเทศ ให้ความรู้สึกหนัก หวาน และลึก ได้จากเครื่องเทศต่างๆ เช่น อบเชย กานพลู
กลิ่นดอกไม้ ให้ความรู้สึกอ่อนหวาน นุ่มนวล ได้จากดอกไม้ที่มีกลิ่นหอมต่างๆ เช่น กุหลาบ มะลิ พิกุล
แก้ว
กลิ่นป่า ให้ความรู้สึกแห้งและเบาสบาย ได้จากนามันจากเนือไม้ต่างๆ เช่น นามันสน
กลิ่นสมุนไพร เป็นกลิ่นของเมนทอล และกลิ่นสีเขียวของใบไม้ ได้จากนามันโหระพา กระเพรา
สะระแหน่ ตะไคร้
กลิ่นหอมจากพืชพรรณเหล่านีมีผลต่อจิตใจ และอารมณ์ความรู้สึกของคนมาก
เมื่อเราสัมผัสกับกลิ่นด้วยการสูดไอระเหย การนวดนามันบนผิวเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนือ การทาครีม เจล
หรือแม้แต่การอาบนาหรือแช่นาที่ผสมนามันหอม หรือกิจกรรมใดๆ ก็ตาม
โมเลกุลของกลิ่นหอมจะผ่านเข้าไปทางจมูก ไปกระตุ้นเซลล์ประสาทรับความรู้สึกที่อยู่ในโพรงจมูก
ทาให้เกิดกระแสประสาทวิ่งไปยังศูนย์รับรู้กลิ่นในสมอง แล้วผ่านไปยังส่วนของสมองที่เรียกว่า ลิมบิกซิสเต็ม
(limbic system) ซึ่งเป็นศูนย์ควบคุมการเรียนรู้ ความจา อารมณ์ ความหิว และอารมณ์ทางเพศ
กลิ่นที่เข้ามากระตุ้นลิมบิกซิสเต็ม จะทาให้สมองปล่อยสารเอนดอร์ฟิน (endorphins) เอนเซปฟาลีน
(encephaline) และเซโรโทนิน (serotonin) ออกมา เอนดอร์ฟินจะช่วยลดความเจ็บปวด
เอนเซปฟาลีนจะส่งเสริมให้มีอารมณ์ดี และเซโรโทนิน จะช่วยให้สงบเยือกเย็น และผ่อนคลาย
ดังนั้นอโรมาเทอราปี จึงถูกนามาใช้ในการคลายความเครียด เหนื่อยล้า และโรคนอนไม่หลับได้
กลิ่นต่างๆ มักจะนิยมใช้ในสปา สาหรับนวดตัว หรือจุดให้หอมระเหยสร้างบรรยากาศ ที่พบได้บ่อยๆ เช่น
กลิ่นลาเวนเดอร์ มาจอแรม คาโมไมลด์ และดอกส้ม จะช่วยทาให้ง่วง นอนหลับสบาย
จึงนามาใช้บาบัดอาการเครียด นอนไม่หลับ โกรธ กังวล ราคาญ และความดันโลหิตสูง
ทาให้ร่างกายผลิตเซโรโทนิน ทาให้ใจสงบ
กลิ่นกุหลาบ และคลารี่เสจ ไปกระตุ้นทาลามัส และการผลิตเอนเซปฟาลีน ช่วยผ่อนคลายอารมณ์ตึงเครียด
กลิ่นโรสแมรี่ ทาให้สดชื่นแจ่มใส มีสมาธิและมีกาลังใจ แก้ปวดศีรษะ ไมเกรน
กลิ่นเปปเปอร์มินต์ ทาให้จิตใจสดชื่น แจ่มใส ปลอดโปร่ง กระตุ้นความคิดสร้างสรรค์
กลิ่นเจราเนียม จะช่วยปรับระดับฮอร์โมนในร่างกายให้เข้าสู่สมดุล ซึ่งจะทาให้จิตใจเป็นปกติ
จึงมีประโยชน์กับสตรีวัยหมดประจาเดือนที่มักจะมีอารมณ์ปรวนแปร หดหู่ เศร้าหมอง
ยูคาลิปตัส (Eucalyptus) หรือ คาเจพุทธรักษา (Cajeput) สามารถใช้หยดบนผ้า สาลี หรือในอ่างนาร้อน
แล้วสูดดมไอ แก้อาการหวัด หรือแพ้อากาศได้ จึงพบเสมอในยาดมที่ใช้กันแพร่หลาย
เฟนเนล (Fennel) เกรปฟรุ้ต (Grapefruit) ใช้ทาผิวเพื่อลดไขมัน
บางชนิดเหมาะสาหรับการทาผิวเพื่อบารุงผิวพรรณ เช่น ทีทรี (Tea Tree) ลาเวนเดอร์ (Lavender)
เทอเมอริค (Turmeric) จึงนิยมนามาผสมกับครีม หรือเจลสาหรับการอาบนา
สาหรับนามันหอมจากพืชพรรณไม้ของไทยที่น่าจะผลิตใช้ได้เองในเมืองไทยได้แก่
นามันตะไคร้หอม (Citronella Oil) ใช้ทาผิวเพื่อกันยุง
สามารถทาเป็นสเปรย์พ่นด้วยการนามาผสมกับนาบริสุทธิ์
นามันดอกโหระพา (Sweet Basil Oil) ช่วยป้องกันการติดเชือ ไล่แมลง บรรเทาอาการปวดต่างๆ
รวมทังโรคเก๊าท์
และยังช่วยลดอาการเครียดกระวนกระวายทาให้อารมณ์สดชื่นขึนจากความเหนื่อยล้าการใช้ต้องระวังเพราะอา
จระคายเคืองต่อผิวหนังได้ง่าย
กลิ่นพิมเสน แก้สิว ลดการอักเสบและฆ่าเชือ แก้รังแคบารุงเส้นผม ไล่แมลงและบรรเทาความเครียด
นามันมะกรูด (Bergamot Oil) ช่วยป้องกันการติดเชือ บาบัดอาการผื่นแดงของผิวหนัง
และยังช่วยให้จิตใจสงบ สามารถควบคุมอารมณ์ได้ดี และหลับสบาย
นามันขิง (Zingiber officinale) และนามันพริกไทยดา (Black Pepper Oil)
ช่วยบรรเทาอาการปวดกล้ามเนือและรูมาติซั่ม โดยทาเป็นนามันนวดประคบ
นอกจากนียังบรรเทาอาการเครียด กระวนกระวาย เหนื่อยล้า และทาให้เกิดอาการตื่นตัว อบอุ่น อย่างไรก็ตาม
การใช้นามันขิงต้องระวังให้ใช้ขนาดน้อยๆ เพราะจะระคายเคืองต่อผิวหนังได้ง่าย และห้ามใช้ในหญิงมีครรภ์
นามันจันทน์ (Sendalwood Oil) ให้ความชุ่มชื่นแก่ผิวหนังที่แห้ง และผมที่เสีย
นอกจากนียังช่วยให้จิตใจผ่อนคลาย สงบ
สร้างความสดชื่นให้กับจิตใจที่กาลังหดหู่และช่วยทาให้นอนหลับสบายห้ามใช้ในหญิงมีครรภ์และอาจทาให้เกิด
การระคายเคืองต่อผิวหนัง
นามันกระดังงาไทย (Ylang Ylang Oil) ช่วยเสริมการงอกงามของเส้นผม บาบัดอาการจากแมลงกัดต่อย
และใช้กับสิว ป้องกันการติดเชือและการกระจายตัวของเชือโรค ใช้กับผิวหนังได้ทุกชนิด ในทางจิตใจ
ช่วยบรรเทาอาการจิตใจหดหู่ เครียด และการนอนไม่หลับ รวมถึงอาการโกรธ กระวนกระวายใจ
ทาให้สดชื่นและผ่อนคลายมากขึน การใช้ต้องระวังไม่ใช้ในขนาดเข้มข้นกับคนที่ป่วยเป็นความดันโลหิตสูง
เพราะจะทาให้คลื่นไส้และปวดศีรษะได้
นามันดอกมะลิ (Jasmine Oil) ช่วยทาให้จิตใจผ่อนคลาย ตื่นตัว ไม่หดหู่เศร้าหมอง
กลิ่นเลมอน (มะนาว) ทาให้สดชื่น แจ่มใส มีสมาธิ ใช้นวดจะทาให้ระบบไหลเวียนโลหิตดีขึน
วิธีการในการสกัดนามันหอม มีหลายวิธี เช่น การกลั่น การสกัดด้วยนามัน การสกัดด้วยแอลกอฮอล์
การคันด้วยแรง และการสกัดด้วยคาร์บอนไดออกไซด์เหลว เป็นต้น โดยต้องใช้ดอกไม้
หรือใบไม้จานวนมากเพื่อให้ได้นามันไม่กี่หยด ทาให้หัวนามันหอมมีความเข้มข้นสูง และราคาค่อนข้างแพง
เวลานามาใช้งานจึงต้องทาให้เจือจางเสียก่อน หากนามานวดผ่อนคลายตัวมักจะต้องผสมกับนามันพืชบริสุทธิ์
(Base oil) อย่างเช่น นามันถั่วเหลือง นามันทานตะวัน นามันโจโจ้บา นามันมะกอก นามันดอกคาฝอย เป็นต้น
นอกจากนามันนวดแล้ว ก็ยังสามารถใช้หัวนามันหอมเพียงไม่กี่หยดมาผสมกับนา หรือปรุงกับครีม แชมพู สบู่
เจลอาบนาหลากกลิ่น
ปัจจุบันนีมี 8 วิธีในการสกัดนามันหอม
1. การนวด (MASSAGE) เป็นวิธีที่ได้ผลดีที่สุดวิธีหนึ่ง
เพราะด้วยสรรพคุณของนามันหอมระเหยแต่ละชนิดจะสามารถช่วยบาบัดรักษาโรคได้
ด้วยยาจะซึมผ่านผิวหนังด้วยการนวด
ส่วนกลิ่นหอมจากนามันหอมระเหยจะช่วยให้ประสาทสัมผัสรับกลิ่นปรับอารมณ์ให้ รู้สึกสบายขึนไปพร้อม ๆ
กัน ดังนันการใช้นามันหอมระเหยที่มีคุณภาพดี
และเลือกใช้ให้เหมาะกับความต้องการในการบาบัดจะทาให้การนวดมีประสิทธิภาพ ขึน
2. การอาบ (BATHS) เป็นวิธีง่าย ๆ ที่สามารถทาเองได้ คือ
ผสมนาอุ่นในอ่างนาสาหรับลงแช่ได้แล้วหยดนามันหอมระเหยประมาณ 6-8 หยด
ลงในอ่างนาแล้วลงแช่ทังตัวสักประมาณ 20 นาที
ไอระเหยจากอ่างนาอุ่นและการซึมทางผิวหนังด้วยการแช่จะช่วยให้รู้สึกสดชื่น ขึน
3. การประคบ (COMPRESSES) ใช้ผ้าขนหนูสะอาด ๆ
ชุบนาที่ผสมนามันหอมระเหยแล้วประคบตามบริเวณที่ต้องการ (ห้ามประคบบริเวณดวงตา)
ส่วนผสมใช้นามันหอมระเหย 2-3 หยด ในชามที่เตรียมนาอุ่นไว้แล้วก้มลงสูดดมสัก 2-3 นาที
หยดนามันหอมระเหย 1-2 หยด ในผ้าเช็ดหน้าแล้วสูดดม (ต้องหลีกเลี่ยงการสัมผัสนามันหอมระเหยโดยตรง)
4. การสูดดม (INHALATIONS)
เป็นการใช้กลิ่นหอมจากนามันหอมระเหยอย่างเดียวไม่มีการสัมผัสทางผิวหนัง การสูดดมกลิ่นหอมทาได้ 2
วิธีคือ ใส่นามันหอมระเหย 2-3 หยด ในชามที่เตรียมนาอุ่นไว้แล้วก้มลงสูดดมสัก 2-3 นาที
หยดนามันหอมระเหย 1-2 หยด ในผ้าเช็ดหน้าแล้วสูด ดม (ต้องหลีกเลี่ยงการสัมผัสนามันหอมระเหยโดยตรง)
5. การสูดไอนา (VAPORISATION) นามันระเหยบางชนิด เป็นแอนดีเซปติก (ANTISEPTIC)
ฆ่าเชือโรคได้เมื่อสูดดมไอนาจากนามันหอมระเหยชนิดนีเข้าไปจะช่วยกาจัด
เชือโรคในระบบทางเดินหายใจได้วิธีทาหยดนามันหอมระเหย 2-4 หยด ลงในชามใหญ่ ซึ่งผสมนาร้อนไว้แล้ว
ใช้ผ้าคลุมและก้มหน้าลงเข้าไปอังไอนา สูดไอนาร้อนผสมนามันหอมระเหย พักเป็นระยะ ๆ
วิธีนีไม่เหมาะกับผู้ที่มีปัญหาเรื่องผิวบาง และไม่เหมาะกับผู้ที่เป็นหอบหืด
6. การเผา-อบห้อง เป็นการอบห้องให้หอม
หลักการอบห้องเพื่อฆ่าเชือโรคในโรงพยาบาลก็ใช้หลักการนี่เช่นกัน เพราะนามันหอมระเหยที่มีฤทธิ์
ฆ่าเชือถูกอบอวลในห้องที่ปิดมิดชิดสามารถฆ่าเชือโรคได้ในกรณีที่ต้องการ
ให้ห้องหอมตามกลิ่นที่ต้องการก็สามารถทาได้โดยหยดนามัน หอมระเหย 3-4 หยด
ในนาที่เตรียมใส่ในจานสาหรับเผา (AROMA JAR) แล้วจุดเทียนไว้ในห้อง
ความร้อนจากเทียนจะทาให้กลิ่นหอมจากนา ผสมนามันหอมระเหยส่งกลิ่นอบอวลไปทั่วห้อง ควรเผา-
อบไม่นานกว่า 10 นาทีต่อครัง
7. ใช้ผสมกับเครื่องหอมและนามันหอม ส่วนมากเครื่องหอม เช่น บุหงา
และนาหอมจะมีส่วนผสมจากกลิ่นไม้หอม หรือกลิ่นจากดอกไม้นานาพันธุ์ ผสมอยู่
การใช้เครื่องหอมและนาหอม ส่วนมากจะมีจุดประสงค์ให้เกิดความสบายใจ สะอาด สดชื่น
และเป็นที่เราใจตราตรึงใจจากผู้คนที่อยู่ ใกล้
8. ใช้ผสมกับเครื่องสาอาง ครีม โลชั่น
ความหลากหลายของคุณสมบัติเฉพาะจากนามันหอมระเหยสามารถช่วยให้เครื่องสาอาง ครีมและโลชั่น ต่าง ๆ
กลายเป็นผลิตภัณฑ์บารุงผิวกาย ผิวหน้า เส้นผมและสารสกัดบางชนิดยังช่วยในการทาความสะอาดผิวหนัง
สร้างความสมดุลให้ผิวอีก ด้วย แต่การเลือกใช้นามันหอมระเหยแต่ละชนิด ต้องพิถีพิถัน และศึกษาให้รู้จริงว่า
สารชนิดใด มีคุณสมบัติเช่นใด จึงจะก่อประโยชน์สูงสุด
ประโยชน์
คุณสมบัติในนามันระเหยนี สามารถนามาใช้โดยการนวด ให้ซึมผ่านผิวหนัง
บางชนิดก็เป็นสารสกัดที่กาจัดแบคทีเรียได้ บ้างก็ช่วยแก้ภูมิแพ้ ที่ผิวหนัง ช่วยกระชับผิวให้เต่งตึง
ส่วนกลิ่นที่ได้จากสารสกัดสุมนไพรนีจะช่วยกระตุ้นเปลี่ยนสภาพอารมณ์และจิต ใจ เช่น ช่วยให้สงบ
ช่วยให้ผ่อนคลาย ช่วยให้กระปรีกระเปร่า ช่วยคลายเครียด ช่วยลดความกระวนกระวายใจ
การจะนาหัวนามันหอมที่มีวางจาหน่ายอยู่ทั่วไปมาผสมใช้เอง ไม่ว่าจะเป็นนามันนวด ครีม แชมพู
หรืออื่นๆ ควรศึกษาวิธีการและได้รับคาแนะนาอย่างจริงจังจากผู้เชี่ยวชาญ
เพราะการใช้ในปริมาณที่ไม่เหมาะสมอาจเกิดผลเสียต่อร่างกายแทนที่จะเป็นผลดีได้ ต้องระวังไม่สัมผัส
หรือสูดกลิ่นของหัวนามันนันโดยตรงเพราะมีความเข้มข้นสูง ทาให้อาจเป็นอันตรายต่อผิวหนังและเนือเยื่อจมูก
จึงต้องนามาเจือจางก่อนใช้เสมอ นอกจากนีนามันหอมจากพืชตระกูลส้มทุกชนิดหรือนามันมะกรูด
อาจมีปฏิกิริยาต่อแสงแดดทาให้เกิดการแพ้ได้ง่าย
ใครที่คิดใช้นามันหอมในกลุ่มนีทาตัวทาผิวก็ไม่ควรออกไปเดินตากแดด อาจเกิดแพ้แดดขึนมาได้โดยไม่รู้ตัว
จึงควรระวังไว้ก่อน
อ้างอิง
http://xn----6xfb4ac0ddme7bf3yg3ch.blogspot.com/2009/07/blog-post_4977.html
(วันที่สืบค้น 4/2/2560)
http://www.thaicam.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=53:-
aroma (วันที่สืบค้น 4/2/2560)
รายชื่อสมาชิก
นางสาวธนัญชนก อารูณ เลขที่ 2
นางสาวมลิสา ต๊ะมัง เลขที่ 10
ชันมัธยมศึกษาปีที่ 6/2

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (15)

Usos de la inteligencia vial
Usos de la inteligencia vialUsos de la inteligencia vial
Usos de la inteligencia vial
 
Computacion hoja de calculo
Computacion hoja de calculoComputacion hoja de calculo
Computacion hoja de calculo
 
Jornal digital 06 02-17
Jornal digital 06 02-17Jornal digital 06 02-17
Jornal digital 06 02-17
 
Historia de la informatica
Historia de la informaticaHistoria de la informatica
Historia de la informatica
 
Redes informaticas
Redes informaticasRedes informaticas
Redes informaticas
 
Mk tema 5 (bueno)
Mk tema 5 (bueno)Mk tema 5 (bueno)
Mk tema 5 (bueno)
 
Ambientes estructurados
Ambientes   estructuradosAmbientes   estructurados
Ambientes estructurados
 
Internet como recurso didactico
Internet como recurso didacticoInternet como recurso didactico
Internet como recurso didactico
 
Derecho Notarial, Principios y Caracteristicas
Derecho Notarial,  Principios y CaracteristicasDerecho Notarial,  Principios y Caracteristicas
Derecho Notarial, Principios y Caracteristicas
 
Presentación1
Presentación1Presentación1
Presentación1
 
Encuesta jj.pp
Encuesta jj.ppEncuesta jj.pp
Encuesta jj.pp
 
Que es hardware
Que es hardwareQue es hardware
Que es hardware
 
Mause.docxperla
Mause.docxperlaMause.docxperla
Mause.docxperla
 
Catalogo sin anestesia
Catalogo sin anestesiaCatalogo sin anestesia
Catalogo sin anestesia
 
Presenta.nicolas.difonzo
Presenta.nicolas.difonzoPresenta.nicolas.difonzo
Presenta.nicolas.difonzo
 

อโรมาเธอราปี

  • 1. “อโรมาเธอราปี” บาบัดเครียด อโรมาเทอราปี (Aromatherapy) แปลเป็นไทยว่า "สุวคนธบาบัด" ซึ่งหมายถึง การบาบัดโรคหรืออาการต่างๆ ของร่างกายโดยใช้กลิ่นจากนามันหอม (Essential oil) ที่สกัดมาจากส่วนต่างๆ ของพืช ผู้บัญญัติศัพท์ "Aromatherapy" คือนักเคมีชาวฝรั่งเศสชื่อ Rene Maurice Gattefosse ผู้ริเริ่มการวิจัยถึงพลังในการรักษาของนามันหอม หลังจากที่เขาถูกไฟลวกที่มือแล้วจุ่มแผลลงในนามันลาเวนเดอร์ แล้วพบว่ารอยแผลนันหายเร็วกว่าปกติ เขาได้ตีพิมพ์หนังสือเกี่ยวกับผลการต่อต้านเชือโรคของนามันหอมในปี 1937 และบัญญัติศัพท์นีขึนมา ทังยังนามาใช้รักษาอาการบาดเจ็บของทหารระหว่างสงครามโลกครังที่สองด้วย เป็นจุดเริ่มต้นให้แพทย์และนักวิทยาศาสตร์อีกหลายชาติสนใจค้นคว้าเรื่องนีอย่างจริงจัง และพัฒนามาเป็นเทคนิควิธีการที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คนไทยก็นิยมใช้ยาหอม ยาดม เพื่อบรรเทาอาการวิงเวียน หน้ามืด ตาลาย รวมถึงการอบสมุนไพรภายหลังการคลอดบุตรมานานแล้ว นามันหอม (Essential Oil) จากธรรมชาติพืชพรรณที่มีกลิ่นหอม มักจะมีส่วนประกอบของนามันที่ผลิตขึนมาตามธรรมชาติ เก็บไว้ในส่วนต่างๆ เช่น กลีบดอก ใบ ผิวของผล เกสร ราก หรือเปลือกของลาต้น ซึ่งพืชแต่ละชนิดก็จะมีกลิ่นเฉพาะตัวต่างกันไป นามันนีจะระเหยได้เร็วมาก โดยเฉพาะที่อุณหภูมิ 30-40 องศาเซลเซียส เมื่อได้รับความร้อนจะระเหยออกมาให้กลิ่นหอมไปทั่ว นามันหอมหลายชนิดมีคุณสมบัติทางเคมีเป็นยาต่อต้านเชือโรค แบคทีเรีย หรือเชือรา ใช้บรรเทาอาการปวดบวมอักเสบ หรือทาให้จิตใจเบิกบาน ระงับความกังวลได้ โดยขึนอยู่กับนามันหอมแต่ละชนิด
  • 2. กลิ่นหอมของนามันหอม แบ่งเป็นกลุ่มต่างๆ ได้ดังนี กลิ่นส้ม ให้ความรู้สึกสดชื่นและสะอาด ได้จากพืชในตระกูลส้ม กลิ่นเครื่องเทศ ให้ความรู้สึกหนัก หวาน และลึก ได้จากเครื่องเทศต่างๆ เช่น อบเชย กานพลู
  • 3. กลิ่นดอกไม้ ให้ความรู้สึกอ่อนหวาน นุ่มนวล ได้จากดอกไม้ที่มีกลิ่นหอมต่างๆ เช่น กุหลาบ มะลิ พิกุล แก้ว กลิ่นป่า ให้ความรู้สึกแห้งและเบาสบาย ได้จากนามันจากเนือไม้ต่างๆ เช่น นามันสน กลิ่นสมุนไพร เป็นกลิ่นของเมนทอล และกลิ่นสีเขียวของใบไม้ ได้จากนามันโหระพา กระเพรา สะระแหน่ ตะไคร้
  • 4. กลิ่นหอมจากพืชพรรณเหล่านีมีผลต่อจิตใจ และอารมณ์ความรู้สึกของคนมาก เมื่อเราสัมผัสกับกลิ่นด้วยการสูดไอระเหย การนวดนามันบนผิวเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนือ การทาครีม เจล หรือแม้แต่การอาบนาหรือแช่นาที่ผสมนามันหอม หรือกิจกรรมใดๆ ก็ตาม โมเลกุลของกลิ่นหอมจะผ่านเข้าไปทางจมูก ไปกระตุ้นเซลล์ประสาทรับความรู้สึกที่อยู่ในโพรงจมูก ทาให้เกิดกระแสประสาทวิ่งไปยังศูนย์รับรู้กลิ่นในสมอง แล้วผ่านไปยังส่วนของสมองที่เรียกว่า ลิมบิกซิสเต็ม (limbic system) ซึ่งเป็นศูนย์ควบคุมการเรียนรู้ ความจา อารมณ์ ความหิว และอารมณ์ทางเพศ กลิ่นที่เข้ามากระตุ้นลิมบิกซิสเต็ม จะทาให้สมองปล่อยสารเอนดอร์ฟิน (endorphins) เอนเซปฟาลีน (encephaline) และเซโรโทนิน (serotonin) ออกมา เอนดอร์ฟินจะช่วยลดความเจ็บปวด เอนเซปฟาลีนจะส่งเสริมให้มีอารมณ์ดี และเซโรโทนิน จะช่วยให้สงบเยือกเย็น และผ่อนคลาย ดังนั้นอโรมาเทอราปี จึงถูกนามาใช้ในการคลายความเครียด เหนื่อยล้า และโรคนอนไม่หลับได้ กลิ่นต่างๆ มักจะนิยมใช้ในสปา สาหรับนวดตัว หรือจุดให้หอมระเหยสร้างบรรยากาศ ที่พบได้บ่อยๆ เช่น กลิ่นลาเวนเดอร์ มาจอแรม คาโมไมลด์ และดอกส้ม จะช่วยทาให้ง่วง นอนหลับสบาย จึงนามาใช้บาบัดอาการเครียด นอนไม่หลับ โกรธ กังวล ราคาญ และความดันโลหิตสูง ทาให้ร่างกายผลิตเซโรโทนิน ทาให้ใจสงบ
  • 5. กลิ่นกุหลาบ และคลารี่เสจ ไปกระตุ้นทาลามัส และการผลิตเอนเซปฟาลีน ช่วยผ่อนคลายอารมณ์ตึงเครียด กลิ่นโรสแมรี่ ทาให้สดชื่นแจ่มใส มีสมาธิและมีกาลังใจ แก้ปวดศีรษะ ไมเกรน
  • 6. กลิ่นเปปเปอร์มินต์ ทาให้จิตใจสดชื่น แจ่มใส ปลอดโปร่ง กระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ กลิ่นเจราเนียม จะช่วยปรับระดับฮอร์โมนในร่างกายให้เข้าสู่สมดุล ซึ่งจะทาให้จิตใจเป็นปกติ จึงมีประโยชน์กับสตรีวัยหมดประจาเดือนที่มักจะมีอารมณ์ปรวนแปร หดหู่ เศร้าหมอง
  • 7. ยูคาลิปตัส (Eucalyptus) หรือ คาเจพุทธรักษา (Cajeput) สามารถใช้หยดบนผ้า สาลี หรือในอ่างนาร้อน แล้วสูดดมไอ แก้อาการหวัด หรือแพ้อากาศได้ จึงพบเสมอในยาดมที่ใช้กันแพร่หลาย เฟนเนล (Fennel) เกรปฟรุ้ต (Grapefruit) ใช้ทาผิวเพื่อลดไขมัน บางชนิดเหมาะสาหรับการทาผิวเพื่อบารุงผิวพรรณ เช่น ทีทรี (Tea Tree) ลาเวนเดอร์ (Lavender) เทอเมอริค (Turmeric) จึงนิยมนามาผสมกับครีม หรือเจลสาหรับการอาบนา สาหรับนามันหอมจากพืชพรรณไม้ของไทยที่น่าจะผลิตใช้ได้เองในเมืองไทยได้แก่ นามันตะไคร้หอม (Citronella Oil) ใช้ทาผิวเพื่อกันยุง
  • 8. สามารถทาเป็นสเปรย์พ่นด้วยการนามาผสมกับนาบริสุทธิ์ นามันดอกโหระพา (Sweet Basil Oil) ช่วยป้องกันการติดเชือ ไล่แมลง บรรเทาอาการปวดต่างๆ รวมทังโรคเก๊าท์ และยังช่วยลดอาการเครียดกระวนกระวายทาให้อารมณ์สดชื่นขึนจากความเหนื่อยล้าการใช้ต้องระวังเพราะอา จระคายเคืองต่อผิวหนังได้ง่าย กลิ่นพิมเสน แก้สิว ลดการอักเสบและฆ่าเชือ แก้รังแคบารุงเส้นผม ไล่แมลงและบรรเทาความเครียด นามันมะกรูด (Bergamot Oil) ช่วยป้องกันการติดเชือ บาบัดอาการผื่นแดงของผิวหนัง และยังช่วยให้จิตใจสงบ สามารถควบคุมอารมณ์ได้ดี และหลับสบาย
  • 9. นามันขิง (Zingiber officinale) และนามันพริกไทยดา (Black Pepper Oil) ช่วยบรรเทาอาการปวดกล้ามเนือและรูมาติซั่ม โดยทาเป็นนามันนวดประคบ นอกจากนียังบรรเทาอาการเครียด กระวนกระวาย เหนื่อยล้า และทาให้เกิดอาการตื่นตัว อบอุ่น อย่างไรก็ตาม การใช้นามันขิงต้องระวังให้ใช้ขนาดน้อยๆ เพราะจะระคายเคืองต่อผิวหนังได้ง่าย และห้ามใช้ในหญิงมีครรภ์ นามันจันทน์ (Sendalwood Oil) ให้ความชุ่มชื่นแก่ผิวหนังที่แห้ง และผมที่เสีย นอกจากนียังช่วยให้จิตใจผ่อนคลาย สงบ สร้างความสดชื่นให้กับจิตใจที่กาลังหดหู่และช่วยทาให้นอนหลับสบายห้ามใช้ในหญิงมีครรภ์และอาจทาให้เกิด การระคายเคืองต่อผิวหนัง
  • 10. นามันกระดังงาไทย (Ylang Ylang Oil) ช่วยเสริมการงอกงามของเส้นผม บาบัดอาการจากแมลงกัดต่อย และใช้กับสิว ป้องกันการติดเชือและการกระจายตัวของเชือโรค ใช้กับผิวหนังได้ทุกชนิด ในทางจิตใจ ช่วยบรรเทาอาการจิตใจหดหู่ เครียด และการนอนไม่หลับ รวมถึงอาการโกรธ กระวนกระวายใจ ทาให้สดชื่นและผ่อนคลายมากขึน การใช้ต้องระวังไม่ใช้ในขนาดเข้มข้นกับคนที่ป่วยเป็นความดันโลหิตสูง เพราะจะทาให้คลื่นไส้และปวดศีรษะได้
  • 11. นามันดอกมะลิ (Jasmine Oil) ช่วยทาให้จิตใจผ่อนคลาย ตื่นตัว ไม่หดหู่เศร้าหมอง กลิ่นเลมอน (มะนาว) ทาให้สดชื่น แจ่มใส มีสมาธิ ใช้นวดจะทาให้ระบบไหลเวียนโลหิตดีขึน วิธีการในการสกัดนามันหอม มีหลายวิธี เช่น การกลั่น การสกัดด้วยนามัน การสกัดด้วยแอลกอฮอล์ การคันด้วยแรง และการสกัดด้วยคาร์บอนไดออกไซด์เหลว เป็นต้น โดยต้องใช้ดอกไม้ หรือใบไม้จานวนมากเพื่อให้ได้นามันไม่กี่หยด ทาให้หัวนามันหอมมีความเข้มข้นสูง และราคาค่อนข้างแพง เวลานามาใช้งานจึงต้องทาให้เจือจางเสียก่อน หากนามานวดผ่อนคลายตัวมักจะต้องผสมกับนามันพืชบริสุทธิ์ (Base oil) อย่างเช่น นามันถั่วเหลือง นามันทานตะวัน นามันโจโจ้บา นามันมะกอก นามันดอกคาฝอย เป็นต้น นอกจากนามันนวดแล้ว ก็ยังสามารถใช้หัวนามันหอมเพียงไม่กี่หยดมาผสมกับนา หรือปรุงกับครีม แชมพู สบู่ เจลอาบนาหลากกลิ่น ปัจจุบันนีมี 8 วิธีในการสกัดนามันหอม 1. การนวด (MASSAGE) เป็นวิธีที่ได้ผลดีที่สุดวิธีหนึ่ง เพราะด้วยสรรพคุณของนามันหอมระเหยแต่ละชนิดจะสามารถช่วยบาบัดรักษาโรคได้ ด้วยยาจะซึมผ่านผิวหนังด้วยการนวด
  • 12. ส่วนกลิ่นหอมจากนามันหอมระเหยจะช่วยให้ประสาทสัมผัสรับกลิ่นปรับอารมณ์ให้ รู้สึกสบายขึนไปพร้อม ๆ กัน ดังนันการใช้นามันหอมระเหยที่มีคุณภาพดี และเลือกใช้ให้เหมาะกับความต้องการในการบาบัดจะทาให้การนวดมีประสิทธิภาพ ขึน 2. การอาบ (BATHS) เป็นวิธีง่าย ๆ ที่สามารถทาเองได้ คือ ผสมนาอุ่นในอ่างนาสาหรับลงแช่ได้แล้วหยดนามันหอมระเหยประมาณ 6-8 หยด ลงในอ่างนาแล้วลงแช่ทังตัวสักประมาณ 20 นาที ไอระเหยจากอ่างนาอุ่นและการซึมทางผิวหนังด้วยการแช่จะช่วยให้รู้สึกสดชื่น ขึน 3. การประคบ (COMPRESSES) ใช้ผ้าขนหนูสะอาด ๆ ชุบนาที่ผสมนามันหอมระเหยแล้วประคบตามบริเวณที่ต้องการ (ห้ามประคบบริเวณดวงตา) ส่วนผสมใช้นามันหอมระเหย 2-3 หยด ในชามที่เตรียมนาอุ่นไว้แล้วก้มลงสูดดมสัก 2-3 นาที หยดนามันหอมระเหย 1-2 หยด ในผ้าเช็ดหน้าแล้วสูดดม (ต้องหลีกเลี่ยงการสัมผัสนามันหอมระเหยโดยตรง) 4. การสูดดม (INHALATIONS) เป็นการใช้กลิ่นหอมจากนามันหอมระเหยอย่างเดียวไม่มีการสัมผัสทางผิวหนัง การสูดดมกลิ่นหอมทาได้ 2 วิธีคือ ใส่นามันหอมระเหย 2-3 หยด ในชามที่เตรียมนาอุ่นไว้แล้วก้มลงสูดดมสัก 2-3 นาที หยดนามันหอมระเหย 1-2 หยด ในผ้าเช็ดหน้าแล้วสูด ดม (ต้องหลีกเลี่ยงการสัมผัสนามันหอมระเหยโดยตรง) 5. การสูดไอนา (VAPORISATION) นามันระเหยบางชนิด เป็นแอนดีเซปติก (ANTISEPTIC) ฆ่าเชือโรคได้เมื่อสูดดมไอนาจากนามันหอมระเหยชนิดนีเข้าไปจะช่วยกาจัด เชือโรคในระบบทางเดินหายใจได้วิธีทาหยดนามันหอมระเหย 2-4 หยด ลงในชามใหญ่ ซึ่งผสมนาร้อนไว้แล้ว ใช้ผ้าคลุมและก้มหน้าลงเข้าไปอังไอนา สูดไอนาร้อนผสมนามันหอมระเหย พักเป็นระยะ ๆ วิธีนีไม่เหมาะกับผู้ที่มีปัญหาเรื่องผิวบาง และไม่เหมาะกับผู้ที่เป็นหอบหืด 6. การเผา-อบห้อง เป็นการอบห้องให้หอม หลักการอบห้องเพื่อฆ่าเชือโรคในโรงพยาบาลก็ใช้หลักการนี่เช่นกัน เพราะนามันหอมระเหยที่มีฤทธิ์ ฆ่าเชือถูกอบอวลในห้องที่ปิดมิดชิดสามารถฆ่าเชือโรคได้ในกรณีที่ต้องการ ให้ห้องหอมตามกลิ่นที่ต้องการก็สามารถทาได้โดยหยดนามัน หอมระเหย 3-4 หยด ในนาที่เตรียมใส่ในจานสาหรับเผา (AROMA JAR) แล้วจุดเทียนไว้ในห้อง ความร้อนจากเทียนจะทาให้กลิ่นหอมจากนา ผสมนามันหอมระเหยส่งกลิ่นอบอวลไปทั่วห้อง ควรเผา- อบไม่นานกว่า 10 นาทีต่อครัง 7. ใช้ผสมกับเครื่องหอมและนามันหอม ส่วนมากเครื่องหอม เช่น บุหงา
  • 13. และนาหอมจะมีส่วนผสมจากกลิ่นไม้หอม หรือกลิ่นจากดอกไม้นานาพันธุ์ ผสมอยู่ การใช้เครื่องหอมและนาหอม ส่วนมากจะมีจุดประสงค์ให้เกิดความสบายใจ สะอาด สดชื่น และเป็นที่เราใจตราตรึงใจจากผู้คนที่อยู่ ใกล้ 8. ใช้ผสมกับเครื่องสาอาง ครีม โลชั่น ความหลากหลายของคุณสมบัติเฉพาะจากนามันหอมระเหยสามารถช่วยให้เครื่องสาอาง ครีมและโลชั่น ต่าง ๆ กลายเป็นผลิตภัณฑ์บารุงผิวกาย ผิวหน้า เส้นผมและสารสกัดบางชนิดยังช่วยในการทาความสะอาดผิวหนัง สร้างความสมดุลให้ผิวอีก ด้วย แต่การเลือกใช้นามันหอมระเหยแต่ละชนิด ต้องพิถีพิถัน และศึกษาให้รู้จริงว่า สารชนิดใด มีคุณสมบัติเช่นใด จึงจะก่อประโยชน์สูงสุด ประโยชน์ คุณสมบัติในนามันระเหยนี สามารถนามาใช้โดยการนวด ให้ซึมผ่านผิวหนัง บางชนิดก็เป็นสารสกัดที่กาจัดแบคทีเรียได้ บ้างก็ช่วยแก้ภูมิแพ้ ที่ผิวหนัง ช่วยกระชับผิวให้เต่งตึง ส่วนกลิ่นที่ได้จากสารสกัดสุมนไพรนีจะช่วยกระตุ้นเปลี่ยนสภาพอารมณ์และจิต ใจ เช่น ช่วยให้สงบ ช่วยให้ผ่อนคลาย ช่วยให้กระปรีกระเปร่า ช่วยคลายเครียด ช่วยลดความกระวนกระวายใจ การจะนาหัวนามันหอมที่มีวางจาหน่ายอยู่ทั่วไปมาผสมใช้เอง ไม่ว่าจะเป็นนามันนวด ครีม แชมพู หรืออื่นๆ ควรศึกษาวิธีการและได้รับคาแนะนาอย่างจริงจังจากผู้เชี่ยวชาญ เพราะการใช้ในปริมาณที่ไม่เหมาะสมอาจเกิดผลเสียต่อร่างกายแทนที่จะเป็นผลดีได้ ต้องระวังไม่สัมผัส หรือสูดกลิ่นของหัวนามันนันโดยตรงเพราะมีความเข้มข้นสูง ทาให้อาจเป็นอันตรายต่อผิวหนังและเนือเยื่อจมูก จึงต้องนามาเจือจางก่อนใช้เสมอ นอกจากนีนามันหอมจากพืชตระกูลส้มทุกชนิดหรือนามันมะกรูด อาจมีปฏิกิริยาต่อแสงแดดทาให้เกิดการแพ้ได้ง่าย ใครที่คิดใช้นามันหอมในกลุ่มนีทาตัวทาผิวก็ไม่ควรออกไปเดินตากแดด อาจเกิดแพ้แดดขึนมาได้โดยไม่รู้ตัว จึงควรระวังไว้ก่อน อ้างอิง
  • 14. http://xn----6xfb4ac0ddme7bf3yg3ch.blogspot.com/2009/07/blog-post_4977.html (วันที่สืบค้น 4/2/2560) http://www.thaicam.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=53:- aroma (วันที่สืบค้น 4/2/2560) รายชื่อสมาชิก นางสาวธนัญชนก อารูณ เลขที่ 2 นางสาวมลิสา ต๊ะมัง เลขที่ 10 ชันมัธยมศึกษาปีที่ 6/2