SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Buddhamonthon Park
ส ว น พุ ท ธ ม ณ ฑ ล
ประวัติสวนพุทธมณฑล เป็นสถานที่สาคัญทางพุทธศาสนา อยู่ใน ตาบลศาลายาอาเภอพุทธมณฑลจังหวัดนครปฐม มีเนื้อที่ 2,500
ไร่ สร้างขึ้นเพื่อฉลองวาระกึ่งพุทธกาล เมื่อ พ.ศ. 2500มีพระพุทธรูปปางลีลาประจาพุทธมณฑล เรียกว่า พระศรีศากยะทศพลญาณ ประธาน
พุทธมณฑลสุทรรศน์ ออกแบบโดย ศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรีพระพุทธรูปนี้มีความโดดเด่นทางผ้าจีวรที่พลิ้วเหมือนจริง (พระพุทธรูปนี้สร้าง
เสร็จและฉลอง เมื่อ พ.ศ. 2525 คราวสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ครบ 200 ปี)
พุทธมณฑลในปัจจุบันนอกจากจะเป็นศูนย์รวมการจัดกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาและจัดประเพณีกิจกรรมต่าง ๆ แล้ว ยังเป็น
สวนสาธารณะขนาดใหญ่ที่เปิดให้ประชาชนทั่วไปเข้าไปพักผ่อนได้อีกด้วย
เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2487 รัฐบาลไทยภายใต้การนาของจอมพลป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นได้พยายามออกกฎหมาย
จัดสร้างพุทธบุรีมณฑลที่จังหวัดสระบุรีตั้งแต่ช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยมีผู้วิจารณ์ว่าโครงการดังกล่าวมีจุดประสงค์เพื่อมิให้ฝ่ าย
สัมพันธมิตรทิ้งระเบิดในเขตที่ประกาศเป็นพุทธสถาน[ต้องการอ้างอิง] อย่างไรก็ตามพระราชกาหนดจัดสร้างพุทธบุรีมณฑลได้ถูกยกเลิกโดย
รัฐสภาในกาลต่อมาเมื่อจอมพลป. ไม่ได้อยู่ในอานาจแล้วอย่างไรก็ตามหลังเหตุการณ์ทางการเมืองต่างๆผ่านพ้นไป จอมพล ป. ก็ได้กลับมา
บริหารราขการแผ่นดินอีกครั้งและสานต่อโครงการดังกล่าว
การก่อสร้างพุทธมณฑลได้ดาเนินการมาแล้วเสร็จสมบูรณ์ในสมัยที่พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี[2] เมื่อสร้าง
องค์ "พระศรีศากยะทศพลญาณ ประธานพุทธมณฑลสุทรรศน์" สาเร็จ โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้มีพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ
ให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จประกอบพิธีสมโภชเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2525 และหลังจากนั้นก็ได้มีการ
ก่อสร้างเพิ่มเติมถาวรวัตถุต่าง ๆ ในพุทธมณฑลมาโดยตลอดเช่นมหาวิหารประดิษฐานพระไตรปิฎกหินอ่อน และ หอประชุม เป็นต้น
• วิหารพุทธมณฑล เป็นอาคารชั้นเดียว สร้างแบบสถาปัตยกรรมไทยตามแบบวิหารของวัดราชาธิราช ผนังวิหารทาเป็น 2 ชั้น เพื่อให้ประตู
หน้าต่าง เลื่อนเข้าภายในกาแพงได้ ภายในปูด้วยกระเบื้องหินอ่อน หลังคามุงด้วยกระเบื้องลวดลายภายนอกเป็นประติมากรรมรูป
พระพุทธรูป 8 องค์ และพระโพธิสัตว์ 2 องค์ ภายในประดิษฐานพระพุทธรูป 25 พุทธศตวรรษขนาด 2,500 มม. ดาเนินการก่อสร้าง
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2518
• สังเวชนียสถาน 4 ตาบลธรรมจักรบริเวณส่วนสังเวชนียสถาน 4 ตาบล
• ตาหนักสมเด็จพระสังฆราช เป็นลักษณะสถาปัตยกรรมประยุกต์ หันหน้าไปทางทิศเหนือ ก่อสร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2524
• ที่พักสงฆ์อาคันตุกะ อยู่ตรงข้ามกับตาหนักสมเด็จพระสังฆราช มีลักษณะเป็นสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์สองชั้น สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ.
2526
• หอประชุม สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นที่ประชุมทางพระพุทธศาสนา และให้ความรู้ อาคารแบบสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์สองชั้น ชั้นล่างด้าน
ทิศเหนือใช้เป็นสานักงานพุทธมณฑล สร้างเสร็จ พ.ศ. 2529
สิ่งก่อสร้างบริเวณ สวนพุทธมณฑล
•หอกลอง สร้างขึ้นเพื่อประดิษฐานกลองชัยขนาดใหญ่ ตัวกลองทาด้วยไม้ขนุน และหนังควายเผือก เส้นผ่าศูนย์กลางมีขนาด 1.60
เมตร ผู้จัดทากลองคือ พระพิชัย ธรรมจาโร วัดบัลลังก์ศิลาอาสน์ อ.ปราสาท จ.สุรินทร์ เมื่อ พ.ศ. 2526
• สานักงานพุทธมณฑล ลักษณะอาคารแบบสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ สร้างเสร็จ พ.ศ. 2525
• อาคารประชาสัมพันธ์ สถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2525
• ศาลาราย สร้างตามแนวทางเท้าวงกลมรอบองค์พระประธานมีทั้งหมด 20 หลัง ด้านข้างโปร่ง
• ศาลาปฏิบัติกรรมฐาน เป็นอาคารเพื่อใช้ปฏิบัติกรรมฐาน อยู่บริเวณสวนเวฬุวัน เป็นรูป 6 เหลี่ยม เชื่อมติดต่อกันทั้งหมด 8 หลัง
• พิพิธภัณฑ์พระพุทธศาสนา อาคารทรงไทยเป็นรูปกลมวงแหวนด้านนอก แบ่งเป็น 3 ส่วน ส่วนแรกแสดงโบราณวัตถุต่าง ๆ ส่วนที่ 2
จัดนิทรรศการและการบรรยาย ส่วนที่ 3 ส่วนบริการ สุขา ห้องน้า ฯ
• หอสมุดพระพุทธศาสนามหาสิรินาถ (นามพระราชทานสมเด็จพระนางเจ้าฯ) ห้องอ่านหนังสือจุได้ 500 คน มีหนังสือประมาณ
500,000 เล่ม เก็บหนังสือบนเพดานได้อีก หนึ่งล้านเล่ม วัดปากน้าและสมาคมศิษย์หลวงพ่อวัดปากน้า บริจาคเงินค่าก่อสร้างทั้งหมด
ประมาณ 250 ล้านบาท เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล แด่สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถฯที่ทรงเจริญพระชนมายุ 5 รอบ
• มหาวิหารประดิษฐานพระไตรปิฎกหินอ่อน สถาปัตยกรรมไทยรูปทรงจตุรมุข มีพระเจดีย์ 9 ยอด ประดิษฐานในท่ามกลาง และเป็นที่
จารึกพระไตรปิฎกหินอ่อน ขนาด 1.10 x 2.00 เมตร จานวน 1,418 แผ่น มีภาพวาดพระพุทธประวัติอยู่ด้านบนโดยรอบ เริ่มสร้างปี
พ.ศ. 2532 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2541
• โรงอาหาร เป็นแบบสถาปัตยกรรมไทย บริการด้านอาหารเมื่อมีกิจกรรมในพุทธมณฑล
• หอฉัน ลักษณะสถาปัตยกรรมไทย ใช้เป็นที่อบรมศีลธรรม จริยธรรม ของนักเรียน นักศึกษาที่มาพักแรมเข้าค่ายพุทธบุตร
• ท่าเทียบเรือ อยู่ด้านทิศเหนือ และทิศใต้ ด้านหลังใช้เป็นท่าขึ้นลงเรือ ซึ่งเรือแล่นไปได้รอบพุทธมณฑล
• สระน้าขนาดใหญ่ อยู่ด้านหลังวิหาร มีขอบสระใช้ประกอบกิจกรรมทางศาสนา หรือลอยกระทง
• ศาลาอานวยการ ใช้เป็นที่รับบริจาค ขายดอกไม้ธูปเทียน และวัตถุมงคล
• ศาลาบาเพ็ญกุศล อยู่ด้านหลังศาลาอานวยการใกล้องค์พระ
• สานักงานย่อย อยู่บริเวณสวนเวฬุวัน เป็นที่ทาการของเจ้าหน้าที่
• ศาลาสรีรสราญ ห้องสุขา
• เรือนแถว ที่พักของเจ้าหน้าที่ป้ อมยาม มี 8 หลัง
สวนพุทธมณฑล
มีขนาด 2,500 ไร่ เป็นสวนระดับเมือง เป็นสวนสาธารณะขนาดใหญ่ เป็นสถานที่สงบ เหมาะ
กับการพักผ่อน ออกกาลังกาย และที่นี้ยังมีพระพุทธรูปองค์ใหญ่ ให้ผู้คนมากราบไหว้ ทาบุญ ให้
อาหารปลา
สวนพุทธมณฑล
สิ่งที่ควรมีเพิ่มเติม ควรมีเลนสาหรับจักรยาน และเลนสาหรับคนวิ่งออกกาลังกาย เพื่อ
ความปลอดภัยของผู้ที่เข้ามาใช้พื้นที่ในสวนและควรมีห้องน้ากระจายเป็นจุดๆ มากกว่านี้
และควรมีถังขยะให้เยอะกว่านี้

More Related Content

Similar to สวนพุทธมณฑล

วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1Junior'z Pimmada Saelim
 
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1  วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1 Junior'z Pimmada Saelim
 
พิพิธภัณฑ์ในบางกอก
พิพิธภัณฑ์ในบางกอกพิพิธภัณฑ์ในบางกอก
พิพิธภัณฑ์ในบางกอกTony Axe
 
07 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
07  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม07  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
07 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนามthammanoon laohpiyavisut
 
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่า
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่าโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่า
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่าchatkul chuensuwankul
 
วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)
วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)
วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)sungetbackers
 
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนครพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนครPRINTT
 
จังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีKKloveyou
 
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคchickyshare
 
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคchickyshare
 

Similar to สวนพุทธมณฑล (12)

วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
 
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1  วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
 
พิพิธภัณฑ์ในบางกอก
พิพิธภัณฑ์ในบางกอกพิพิธภัณฑ์ในบางกอก
พิพิธภัณฑ์ในบางกอก
 
07 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
07  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม07  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
07 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
 
จังหวัดร้อยเอ็ด
จังหวัดร้อยเอ็ดจังหวัดร้อยเอ็ด
จังหวัดร้อยเอ็ด
 
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่า
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่าโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่า
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่า
 
วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)
วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)
วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)
 
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนครพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
 
จังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรี
 
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
 
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
 
วัด
วัดวัด
วัด
 

สวนพุทธมณฑล

  • 1. Buddhamonthon Park ส ว น พุ ท ธ ม ณ ฑ ล
  • 2.
  • 3. ประวัติสวนพุทธมณฑล เป็นสถานที่สาคัญทางพุทธศาสนา อยู่ใน ตาบลศาลายาอาเภอพุทธมณฑลจังหวัดนครปฐม มีเนื้อที่ 2,500 ไร่ สร้างขึ้นเพื่อฉลองวาระกึ่งพุทธกาล เมื่อ พ.ศ. 2500มีพระพุทธรูปปางลีลาประจาพุทธมณฑล เรียกว่า พระศรีศากยะทศพลญาณ ประธาน พุทธมณฑลสุทรรศน์ ออกแบบโดย ศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรีพระพุทธรูปนี้มีความโดดเด่นทางผ้าจีวรที่พลิ้วเหมือนจริง (พระพุทธรูปนี้สร้าง เสร็จและฉลอง เมื่อ พ.ศ. 2525 คราวสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ครบ 200 ปี) พุทธมณฑลในปัจจุบันนอกจากจะเป็นศูนย์รวมการจัดกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาและจัดประเพณีกิจกรรมต่าง ๆ แล้ว ยังเป็น สวนสาธารณะขนาดใหญ่ที่เปิดให้ประชาชนทั่วไปเข้าไปพักผ่อนได้อีกด้วย เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2487 รัฐบาลไทยภายใต้การนาของจอมพลป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นได้พยายามออกกฎหมาย จัดสร้างพุทธบุรีมณฑลที่จังหวัดสระบุรีตั้งแต่ช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยมีผู้วิจารณ์ว่าโครงการดังกล่าวมีจุดประสงค์เพื่อมิให้ฝ่ าย สัมพันธมิตรทิ้งระเบิดในเขตที่ประกาศเป็นพุทธสถาน[ต้องการอ้างอิง] อย่างไรก็ตามพระราชกาหนดจัดสร้างพุทธบุรีมณฑลได้ถูกยกเลิกโดย รัฐสภาในกาลต่อมาเมื่อจอมพลป. ไม่ได้อยู่ในอานาจแล้วอย่างไรก็ตามหลังเหตุการณ์ทางการเมืองต่างๆผ่านพ้นไป จอมพล ป. ก็ได้กลับมา บริหารราขการแผ่นดินอีกครั้งและสานต่อโครงการดังกล่าว การก่อสร้างพุทธมณฑลได้ดาเนินการมาแล้วเสร็จสมบูรณ์ในสมัยที่พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี[2] เมื่อสร้าง องค์ "พระศรีศากยะทศพลญาณ ประธานพุทธมณฑลสุทรรศน์" สาเร็จ โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้มีพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จประกอบพิธีสมโภชเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2525 และหลังจากนั้นก็ได้มีการ ก่อสร้างเพิ่มเติมถาวรวัตถุต่าง ๆ ในพุทธมณฑลมาโดยตลอดเช่นมหาวิหารประดิษฐานพระไตรปิฎกหินอ่อน และ หอประชุม เป็นต้น
  • 4. • วิหารพุทธมณฑล เป็นอาคารชั้นเดียว สร้างแบบสถาปัตยกรรมไทยตามแบบวิหารของวัดราชาธิราช ผนังวิหารทาเป็น 2 ชั้น เพื่อให้ประตู หน้าต่าง เลื่อนเข้าภายในกาแพงได้ ภายในปูด้วยกระเบื้องหินอ่อน หลังคามุงด้วยกระเบื้องลวดลายภายนอกเป็นประติมากรรมรูป พระพุทธรูป 8 องค์ และพระโพธิสัตว์ 2 องค์ ภายในประดิษฐานพระพุทธรูป 25 พุทธศตวรรษขนาด 2,500 มม. ดาเนินการก่อสร้าง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2518 • สังเวชนียสถาน 4 ตาบลธรรมจักรบริเวณส่วนสังเวชนียสถาน 4 ตาบล • ตาหนักสมเด็จพระสังฆราช เป็นลักษณะสถาปัตยกรรมประยุกต์ หันหน้าไปทางทิศเหนือ ก่อสร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2524 • ที่พักสงฆ์อาคันตุกะ อยู่ตรงข้ามกับตาหนักสมเด็จพระสังฆราช มีลักษณะเป็นสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์สองชั้น สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2526 • หอประชุม สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นที่ประชุมทางพระพุทธศาสนา และให้ความรู้ อาคารแบบสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์สองชั้น ชั้นล่างด้าน ทิศเหนือใช้เป็นสานักงานพุทธมณฑล สร้างเสร็จ พ.ศ. 2529 สิ่งก่อสร้างบริเวณ สวนพุทธมณฑล
  • 5. •หอกลอง สร้างขึ้นเพื่อประดิษฐานกลองชัยขนาดใหญ่ ตัวกลองทาด้วยไม้ขนุน และหนังควายเผือก เส้นผ่าศูนย์กลางมีขนาด 1.60 เมตร ผู้จัดทากลองคือ พระพิชัย ธรรมจาโร วัดบัลลังก์ศิลาอาสน์ อ.ปราสาท จ.สุรินทร์ เมื่อ พ.ศ. 2526 • สานักงานพุทธมณฑล ลักษณะอาคารแบบสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ สร้างเสร็จ พ.ศ. 2525 • อาคารประชาสัมพันธ์ สถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2525 • ศาลาราย สร้างตามแนวทางเท้าวงกลมรอบองค์พระประธานมีทั้งหมด 20 หลัง ด้านข้างโปร่ง • ศาลาปฏิบัติกรรมฐาน เป็นอาคารเพื่อใช้ปฏิบัติกรรมฐาน อยู่บริเวณสวนเวฬุวัน เป็นรูป 6 เหลี่ยม เชื่อมติดต่อกันทั้งหมด 8 หลัง • พิพิธภัณฑ์พระพุทธศาสนา อาคารทรงไทยเป็นรูปกลมวงแหวนด้านนอก แบ่งเป็น 3 ส่วน ส่วนแรกแสดงโบราณวัตถุต่าง ๆ ส่วนที่ 2 จัดนิทรรศการและการบรรยาย ส่วนที่ 3 ส่วนบริการ สุขา ห้องน้า ฯ • หอสมุดพระพุทธศาสนามหาสิรินาถ (นามพระราชทานสมเด็จพระนางเจ้าฯ) ห้องอ่านหนังสือจุได้ 500 คน มีหนังสือประมาณ 500,000 เล่ม เก็บหนังสือบนเพดานได้อีก หนึ่งล้านเล่ม วัดปากน้าและสมาคมศิษย์หลวงพ่อวัดปากน้า บริจาคเงินค่าก่อสร้างทั้งหมด ประมาณ 250 ล้านบาท เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล แด่สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถฯที่ทรงเจริญพระชนมายุ 5 รอบ
  • 6. • มหาวิหารประดิษฐานพระไตรปิฎกหินอ่อน สถาปัตยกรรมไทยรูปทรงจตุรมุข มีพระเจดีย์ 9 ยอด ประดิษฐานในท่ามกลาง และเป็นที่ จารึกพระไตรปิฎกหินอ่อน ขนาด 1.10 x 2.00 เมตร จานวน 1,418 แผ่น มีภาพวาดพระพุทธประวัติอยู่ด้านบนโดยรอบ เริ่มสร้างปี พ.ศ. 2532 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2541 • โรงอาหาร เป็นแบบสถาปัตยกรรมไทย บริการด้านอาหารเมื่อมีกิจกรรมในพุทธมณฑล • หอฉัน ลักษณะสถาปัตยกรรมไทย ใช้เป็นที่อบรมศีลธรรม จริยธรรม ของนักเรียน นักศึกษาที่มาพักแรมเข้าค่ายพุทธบุตร • ท่าเทียบเรือ อยู่ด้านทิศเหนือ และทิศใต้ ด้านหลังใช้เป็นท่าขึ้นลงเรือ ซึ่งเรือแล่นไปได้รอบพุทธมณฑล • สระน้าขนาดใหญ่ อยู่ด้านหลังวิหาร มีขอบสระใช้ประกอบกิจกรรมทางศาสนา หรือลอยกระทง • ศาลาอานวยการ ใช้เป็นที่รับบริจาค ขายดอกไม้ธูปเทียน และวัตถุมงคล • ศาลาบาเพ็ญกุศล อยู่ด้านหลังศาลาอานวยการใกล้องค์พระ • สานักงานย่อย อยู่บริเวณสวนเวฬุวัน เป็นที่ทาการของเจ้าหน้าที่ • ศาลาสรีรสราญ ห้องสุขา • เรือนแถว ที่พักของเจ้าหน้าที่ป้ อมยาม มี 8 หลัง
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18. สวนพุทธมณฑล มีขนาด 2,500 ไร่ เป็นสวนระดับเมือง เป็นสวนสาธารณะขนาดใหญ่ เป็นสถานที่สงบ เหมาะ กับการพักผ่อน ออกกาลังกาย และที่นี้ยังมีพระพุทธรูปองค์ใหญ่ ให้ผู้คนมากราบไหว้ ทาบุญ ให้ อาหารปลา สวนพุทธมณฑล สิ่งที่ควรมีเพิ่มเติม ควรมีเลนสาหรับจักรยาน และเลนสาหรับคนวิ่งออกกาลังกาย เพื่อ ความปลอดภัยของผู้ที่เข้ามาใช้พื้นที่ในสวนและควรมีห้องน้ากระจายเป็นจุดๆ มากกว่านี้ และควรมีถังขยะให้เยอะกว่านี้