SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
การทำธุรกรรมทางอินเตอร์เน็ต จัดทำโดย น.ส.กมลชนก   ทองพิชัย โรงเรียนสวีวิทยา
ในยุคที่ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเข้ามาเป็นส่วน หนึ่งในชีวิตประจำวันของคนทั่วไป นอกจากการ สืบเสาะค้นหาข้อมูลข่าวสาร ติดต่อ สื่อสาร  และกระทั่งการใช้เพื่อความบันเทิงแล้ว ปัจจุบัน การซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการทางอินเตอร์เน็ต  หรือที่เรียกอีกอย่างว่า การทำธุรกรรมทางอินเตอร์เน็ต    (E-Commerce)
บาร์โค้ด  - ช่วยในการนับ Physical Inventory เพราะเนื่องจากในปัจจุบันบริษัท     ใหญ่ ๆ สามารถทำการนับ Physical Inventory ซึ่งเป็นการนับสินค้าจริงได้เพียงปีละครั้ง ซึ่งในแต่ละครั้งจะต้องใช้เวลาในการเตรียมการก่อนนับถึง 1-2 อาทิตย์และอาจจะต้องใช้เวลาในการนับอีก 2 อาทิตย์ ซึ่งจะเห็นได้ว่ายุ่งยากและเสียเวลามาก ดังนั้นถ้ามีการนำเอาระบบ Automatic IDเข้ามาใช้โดยเลือกใช้พอร์ตเทเบิลบาร์โค้ด ( Portable Data Terminal รูปที่ 1) ซึ่งเป็นเครื่องอ่านรหัสบาร์โค้ดแบบมือถือเข้ามาช่วยในการนับ Physical Inventory จะทำให้ช่วยลดเวลาลงถึง 75% ดังนั้นจะทำให้สามารถทำการนับ Physical Inventory ได้ปีละหลาย ๆ ครั้ง ซึ่งจะทำให้สามารถเช็คการสูญหายของสินค้าได้ตลอด   - ในงานบางอย่างการนับชิ้นหรือปริมาณไม่สามารถที่จะให้ความถูกต้องของสินค้าได้ เช่น ร้านขายเครื่องประดับเพชรซึ่งเป็นสินค้าที่มีราคาสูง และมีหลายราคา ดังนั้นหากพนักงานขายหยิบขาย
สำหรับรหัสบาร์โค้ดที่ใช้กันโดยทั่วไปในปัจจุบัน      จะเป็นรหัส EAN 13 ซึ่งแทนตัวเลข 13 ตัว           ซึ่งจะแทนความหมายดังนี้  รหัส 3 ตัวแรก ใช้แทนชื่อประเทศผู้ผลิตสินค้านั้น          เช่นประเทศไทยใช้รหัส 885   รหัส 4 ตัวถัดมาใช้แทนบริษัทผู้ผลิตสินค้านั้น ๆ   รหัส 5 ตัวถัดมาแทนสินค้า   รหัสสุดท้าย เป็นรหัสสำหรับตรวจสอบความผิดพลาด (Check Digit)      สำหรับในประเทศไทยผู้ที่ต้องการจะใช้รหัสบาร์โค้ด กับสินค้าท่านสามารถติดต่อได้ที่สมาคมแท่งไทย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ทางสมาคมแห่งไทยจะเป็นผู้กำหนดรหัสบาร์โค้ดให้ กับผู้ขอแต่ละรายและรหัสนี้จะเป็นรหัสเฉพาะของผู้ผลิตแต่ละรายในโลกเท่ากัน
  ไซเบอร์แคช ระบบการเงินอิเล็กทรอนิกส์      ไซเบอร์แคชก่อตั้งขึ้นในปี 1994 เป็นหนึ่งในหลายๆ       บริษัทที่ทุ่มเทค้นคิดวิธีการทำให้การพาณิชย์      ทางไซเบอร์สเปซมีความปลอดภัย       ไซเบอร์แคชยังหวังว่าวิธีการของบริษัทจะเป็นที่ยอมรับให้ใช้เป็นมาตรฐานการทำธุรกรรมในอินเตอร์เน็ต “นี่ไม่ใช่แค่ปัญหาของเทคโนโลยีเท่านั้น แต่ยังถือเป็นการท้าทายอย่างยิ่งในการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจในประชาคมอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีของเราก็รับประกันความปลอดภัยทั้งในการคอนเน็กต์และการสั่งจ่ายเงิน” โครนออกตัว
ในการทำธุรกรรมผ่านระบบของไซเบอร์แคช รายละเอียดการจ่ายเงินโดยการล็อกรหัสจะถูกส่งจากลูกค้าไปถึงผู้ขายในอินเตอร์เน็ต จากนั้นผู้ขายก็จะจัดการถอดรหัสออร์เดอร์และส่งต่อรหัสการสั่งจ่ายไปยังไซเบอร์แคชโดยที่ไม่มีโอกาสรู้เลยว่าหมายเลขบัตรเครดิตของลูกค้ารูปร่างหน้าตาเป็นอย่างไร ต่อไปก็เป็นหน้าที่ของไซเบอร์แคชจัดการถอดรหัสจากอินเตอร์เน็ตและส่งถึงธนาคารที่ผู้ขายเปิดบัญชีไว้ทางสายที่เลือกสรรมาแล้วเป็นอย่างดี และทางแบงก์ก็จะจัดส่งไปยังธนาคารของลูกค้าอีกทอด ธนาคารแห่งนี้จะตอบอนุมัติหรือปฏิเสธไปถึงไซเบอร์แคช และไซเบอร์แคชก็จะทำหน้าที่เป็นพ่อสื่อบอกต่อไปยังผู้ขายอีกครั้งกระบวนการทั้งหมดนี้ใช้เวลาเพียง 15-20 นาทีเท่านั้น
โครนวางหมากทางการตลาดไว้เรียบร้อย      เมื่อไม่นานมานี้ เขาเพิ่งทาบทามนายแบงก์     ในกรุงเทพฯ ที่ต้องการเจาะตลาดบริการการ     เงินในสหรัฐฯโดยไม่ต้องหอบข้าวของบินไปเปิดสำนักงานที่นั่นให้ยุ่งยาก      อย่างไรก็ตาม ไซเบอร์แคชยังต้องผจญกับบริษัทบัตรเครดิตที่กำลังสำรวจลู่ทางให้บริการในไซเบอร์สเปซอย่างจริงจัง ทั้งวีซ่า อินเตอร์เนชั่นแนลและคู่กัดมาสเตอร์การ์ดต่างลดทิฐิหันหน้ามาวางระบบ SET ซึ่งย่อมาจาก SECURE ELECTRONIC TRANSACTION ระบบนี้เป็นชุดโปรโตคอลที่รวมรหัสดิจิตอลและลายเซ็นตลอดจนข้อกำหนดในการใช้รหัสลายเซ็นต่างๆสำหรับผู้ออกบัตรเครดิต ลูกค้าและคนขาย ปัจจุบันมีการนำระบบ SET มาทดสอบกันแล้วในไต้หวัน ญี่ปุ่นและสิงคโปร์
แต่ก็ใช่ว่าทุกคนจะยอมรับระบบนี้ โดยเฉพาะ       อย่างยิ่งผู้ที่จะเสียผลประโยชน์หาก E-TRADE รุ่ง       “ไม่มีอะไรปลอดภัยในเว็บ แค่ 500 เหรียญคุณก็       สามารถดาวน์โหลดซอฟต์แวร์จากอินเตอร์เน็ตที่      สามารถเจาะฐานข้อมูลของใครต่อใครก็ได้” บ็อบ คาร์ลสันผู้อำนวยการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศของฮ่องกง แอนด์เซี่ยงไฮ้ แบงกิ้งคอร์ป แสดงทัศนะ       กว่าที่ระบบรักษาความปลอดภัยในอินเตอร์เน็ตจะคลอดออกมา ผู้บริโภคในไซเบอร์สเปซอาจจะรู้สึกสะดวกใจมากขึ้นแล้วกับผลิตภัณฑ์ใหม่ที่จะมาแทนเงินสดซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงไปในตัวหนึ่งในผลิตภัณฑ์ที่ว่าก็คือ บัตรอัจฉริยะของมอนเด็กซ์ที่สามารถใช้แทนเงินโดยรูดกับเครื่องสแกนเนอร์หรือแม้แต่กับร้านค้าในไซเบอร์สเปซก็ตาม เพราะแม้พวกแฮกเกอร์จะสามารถใช้วิชามารขโมยเงินสดที่โหลดอยู่ในบัตรเครดิตไปได้ แต่ก็ไม่อาจเข้าไปปล้นเงินในบัญชีได้ และการทำธุรกรรมก็ไม่ต้องส่งข้อมูลผ่านมือใครต่อใครมากมายอีกด้วย
ฟังดูดีทีเดียว แต่คาร์ลสันก็ยังไม่เห็นด้วยเหมือนเคยเขาอ้างว่าขณะที่คนเป็นล้านใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อส่งอีเมลล์ แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าอินเตอร์เน็ตปลอดภัยพอที่จะใช้เป็นช่องทางในการซื้อขาย เขายังว่าคนส่วนใหญ่ที่ใช้อินเตอร์เน็ตเป็นผู้ชายที่มีอายุระหว่าง 20-40 ปีซึ่งไม่ใช่กลุ่มคนที่นิยมการชอปปิ้ง “ถ้า E-TRADE เกิดจริงผมว่ามันอาจจะเป็นแค่ปรากฎการณ์เท่านั้น” มิตซูโอะ ยามากูชิ หัวหน้าฝ่ายค้นคว้าวิจัยของสถาบันวิจัยฮิตาชิเห็นดัวยกับคาร์ลสันเขาเห็นว่าไม่ว่าเงินสดอิเล็กทรอนิกส์จะดีเลิศประเสริฐศรีเพียงใด แต่ถ้าไม่สามารถทำให้ผู้บริโภคและผู้ขายรู้สึกสะดวกสบายได้ ก็ไม่มีทางได้เกิดแน่นอน
สวัสดีคะ

More Related Content

Similar to การทำธุรกรรมทางอินเตอร์เน็ต

กิตติศักดื
กิตติศักดืกิตติศักดื
กิตติศักดืKittisak
 
กิตติศักดื
กิตติศักดืกิตติศักดื
กิตติศักดืKittisak
 
กิตติศักดื
กิตติศักดืกิตติศักดื
กิตติศักดืKittisak
 
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์captsupphanuth
 
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์Maneerat Noitumyae
 
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์Maneerat Noitumyae
 
Interview Dip.go.th นิตยสารอุตสาหกรรมสาร
Interview Dip.go.th นิตยสารอุตสาหกรรมสารInterview Dip.go.th นิตยสารอุตสาหกรรมสาร
Interview Dip.go.th นิตยสารอุตสาหกรรมสารPawoot (Pom) Pongvitayapanu
 

Similar to การทำธุรกรรมทางอินเตอร์เน็ต (7)

กิตติศักดื
กิตติศักดืกิตติศักดื
กิตติศักดื
 
กิตติศักดื
กิตติศักดืกิตติศักดื
กิตติศักดื
 
กิตติศักดื
กิตติศักดืกิตติศักดื
กิตติศักดื
 
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
 
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
 
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
 
Interview Dip.go.th นิตยสารอุตสาหกรรมสาร
Interview Dip.go.th นิตยสารอุตสาหกรรมสารInterview Dip.go.th นิตยสารอุตสาหกรรมสาร
Interview Dip.go.th นิตยสารอุตสาหกรรมสาร
 

การทำธุรกรรมทางอินเตอร์เน็ต

  • 2. ในยุคที่ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเข้ามาเป็นส่วน หนึ่งในชีวิตประจำวันของคนทั่วไป นอกจากการ สืบเสาะค้นหาข้อมูลข่าวสาร ติดต่อ สื่อสาร และกระทั่งการใช้เพื่อความบันเทิงแล้ว ปัจจุบัน การซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการทางอินเตอร์เน็ต หรือที่เรียกอีกอย่างว่า การทำธุรกรรมทางอินเตอร์เน็ต (E-Commerce)
  • 3. บาร์โค้ด - ช่วยในการนับ Physical Inventory เพราะเนื่องจากในปัจจุบันบริษัท ใหญ่ ๆ สามารถทำการนับ Physical Inventory ซึ่งเป็นการนับสินค้าจริงได้เพียงปีละครั้ง ซึ่งในแต่ละครั้งจะต้องใช้เวลาในการเตรียมการก่อนนับถึง 1-2 อาทิตย์และอาจจะต้องใช้เวลาในการนับอีก 2 อาทิตย์ ซึ่งจะเห็นได้ว่ายุ่งยากและเสียเวลามาก ดังนั้นถ้ามีการนำเอาระบบ Automatic IDเข้ามาใช้โดยเลือกใช้พอร์ตเทเบิลบาร์โค้ด ( Portable Data Terminal รูปที่ 1) ซึ่งเป็นเครื่องอ่านรหัสบาร์โค้ดแบบมือถือเข้ามาช่วยในการนับ Physical Inventory จะทำให้ช่วยลดเวลาลงถึง 75% ดังนั้นจะทำให้สามารถทำการนับ Physical Inventory ได้ปีละหลาย ๆ ครั้ง ซึ่งจะทำให้สามารถเช็คการสูญหายของสินค้าได้ตลอด - ในงานบางอย่างการนับชิ้นหรือปริมาณไม่สามารถที่จะให้ความถูกต้องของสินค้าได้ เช่น ร้านขายเครื่องประดับเพชรซึ่งเป็นสินค้าที่มีราคาสูง และมีหลายราคา ดังนั้นหากพนักงานขายหยิบขาย
  • 4. สำหรับรหัสบาร์โค้ดที่ใช้กันโดยทั่วไปในปัจจุบัน จะเป็นรหัส EAN 13 ซึ่งแทนตัวเลข 13 ตัว ซึ่งจะแทนความหมายดังนี้ รหัส 3 ตัวแรก ใช้แทนชื่อประเทศผู้ผลิตสินค้านั้น เช่นประเทศไทยใช้รหัส 885 รหัส 4 ตัวถัดมาใช้แทนบริษัทผู้ผลิตสินค้านั้น ๆ รหัส 5 ตัวถัดมาแทนสินค้า รหัสสุดท้าย เป็นรหัสสำหรับตรวจสอบความผิดพลาด (Check Digit) สำหรับในประเทศไทยผู้ที่ต้องการจะใช้รหัสบาร์โค้ด กับสินค้าท่านสามารถติดต่อได้ที่สมาคมแท่งไทย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ทางสมาคมแห่งไทยจะเป็นผู้กำหนดรหัสบาร์โค้ดให้ กับผู้ขอแต่ละรายและรหัสนี้จะเป็นรหัสเฉพาะของผู้ผลิตแต่ละรายในโลกเท่ากัน
  • 5. ไซเบอร์แคช ระบบการเงินอิเล็กทรอนิกส์ ไซเบอร์แคชก่อตั้งขึ้นในปี 1994 เป็นหนึ่งในหลายๆ บริษัทที่ทุ่มเทค้นคิดวิธีการทำให้การพาณิชย์ ทางไซเบอร์สเปซมีความปลอดภัย ไซเบอร์แคชยังหวังว่าวิธีการของบริษัทจะเป็นที่ยอมรับให้ใช้เป็นมาตรฐานการทำธุรกรรมในอินเตอร์เน็ต “นี่ไม่ใช่แค่ปัญหาของเทคโนโลยีเท่านั้น แต่ยังถือเป็นการท้าทายอย่างยิ่งในการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจในประชาคมอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีของเราก็รับประกันความปลอดภัยทั้งในการคอนเน็กต์และการสั่งจ่ายเงิน” โครนออกตัว
  • 6. ในการทำธุรกรรมผ่านระบบของไซเบอร์แคช รายละเอียดการจ่ายเงินโดยการล็อกรหัสจะถูกส่งจากลูกค้าไปถึงผู้ขายในอินเตอร์เน็ต จากนั้นผู้ขายก็จะจัดการถอดรหัสออร์เดอร์และส่งต่อรหัสการสั่งจ่ายไปยังไซเบอร์แคชโดยที่ไม่มีโอกาสรู้เลยว่าหมายเลขบัตรเครดิตของลูกค้ารูปร่างหน้าตาเป็นอย่างไร ต่อไปก็เป็นหน้าที่ของไซเบอร์แคชจัดการถอดรหัสจากอินเตอร์เน็ตและส่งถึงธนาคารที่ผู้ขายเปิดบัญชีไว้ทางสายที่เลือกสรรมาแล้วเป็นอย่างดี และทางแบงก์ก็จะจัดส่งไปยังธนาคารของลูกค้าอีกทอด ธนาคารแห่งนี้จะตอบอนุมัติหรือปฏิเสธไปถึงไซเบอร์แคช และไซเบอร์แคชก็จะทำหน้าที่เป็นพ่อสื่อบอกต่อไปยังผู้ขายอีกครั้งกระบวนการทั้งหมดนี้ใช้เวลาเพียง 15-20 นาทีเท่านั้น
  • 7. โครนวางหมากทางการตลาดไว้เรียบร้อย เมื่อไม่นานมานี้ เขาเพิ่งทาบทามนายแบงก์ ในกรุงเทพฯ ที่ต้องการเจาะตลาดบริการการ เงินในสหรัฐฯโดยไม่ต้องหอบข้าวของบินไปเปิดสำนักงานที่นั่นให้ยุ่งยาก อย่างไรก็ตาม ไซเบอร์แคชยังต้องผจญกับบริษัทบัตรเครดิตที่กำลังสำรวจลู่ทางให้บริการในไซเบอร์สเปซอย่างจริงจัง ทั้งวีซ่า อินเตอร์เนชั่นแนลและคู่กัดมาสเตอร์การ์ดต่างลดทิฐิหันหน้ามาวางระบบ SET ซึ่งย่อมาจาก SECURE ELECTRONIC TRANSACTION ระบบนี้เป็นชุดโปรโตคอลที่รวมรหัสดิจิตอลและลายเซ็นตลอดจนข้อกำหนดในการใช้รหัสลายเซ็นต่างๆสำหรับผู้ออกบัตรเครดิต ลูกค้าและคนขาย ปัจจุบันมีการนำระบบ SET มาทดสอบกันแล้วในไต้หวัน ญี่ปุ่นและสิงคโปร์
  • 8. แต่ก็ใช่ว่าทุกคนจะยอมรับระบบนี้ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งผู้ที่จะเสียผลประโยชน์หาก E-TRADE รุ่ง “ไม่มีอะไรปลอดภัยในเว็บ แค่ 500 เหรียญคุณก็ สามารถดาวน์โหลดซอฟต์แวร์จากอินเตอร์เน็ตที่ สามารถเจาะฐานข้อมูลของใครต่อใครก็ได้” บ็อบ คาร์ลสันผู้อำนวยการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศของฮ่องกง แอนด์เซี่ยงไฮ้ แบงกิ้งคอร์ป แสดงทัศนะ กว่าที่ระบบรักษาความปลอดภัยในอินเตอร์เน็ตจะคลอดออกมา ผู้บริโภคในไซเบอร์สเปซอาจจะรู้สึกสะดวกใจมากขึ้นแล้วกับผลิตภัณฑ์ใหม่ที่จะมาแทนเงินสดซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงไปในตัวหนึ่งในผลิตภัณฑ์ที่ว่าก็คือ บัตรอัจฉริยะของมอนเด็กซ์ที่สามารถใช้แทนเงินโดยรูดกับเครื่องสแกนเนอร์หรือแม้แต่กับร้านค้าในไซเบอร์สเปซก็ตาม เพราะแม้พวกแฮกเกอร์จะสามารถใช้วิชามารขโมยเงินสดที่โหลดอยู่ในบัตรเครดิตไปได้ แต่ก็ไม่อาจเข้าไปปล้นเงินในบัญชีได้ และการทำธุรกรรมก็ไม่ต้องส่งข้อมูลผ่านมือใครต่อใครมากมายอีกด้วย
  • 9. ฟังดูดีทีเดียว แต่คาร์ลสันก็ยังไม่เห็นด้วยเหมือนเคยเขาอ้างว่าขณะที่คนเป็นล้านใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อส่งอีเมลล์ แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าอินเตอร์เน็ตปลอดภัยพอที่จะใช้เป็นช่องทางในการซื้อขาย เขายังว่าคนส่วนใหญ่ที่ใช้อินเตอร์เน็ตเป็นผู้ชายที่มีอายุระหว่าง 20-40 ปีซึ่งไม่ใช่กลุ่มคนที่นิยมการชอปปิ้ง “ถ้า E-TRADE เกิดจริงผมว่ามันอาจจะเป็นแค่ปรากฎการณ์เท่านั้น” มิตซูโอะ ยามากูชิ หัวหน้าฝ่ายค้นคว้าวิจัยของสถาบันวิจัยฮิตาชิเห็นดัวยกับคาร์ลสันเขาเห็นว่าไม่ว่าเงินสดอิเล็กทรอนิกส์จะดีเลิศประเสริฐศรีเพียงใด แต่ถ้าไม่สามารถทำให้ผู้บริโภคและผู้ขายรู้สึกสะดวกสบายได้ ก็ไม่มีทางได้เกิดแน่นอน