SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
เครื่องหมายการค้า
       เครื่องหมายการค้า หมายถึง เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือตราที่ใช้กับสินค้าหรือ
บริการ เป็นปัจจัยหนึ่งที่ผู้ประกอบการต้องนำามาพิจารณาทำาความรู้ความเข้าใจว่า เพราะ
เหตุใดการทำาธุรกิจจึงจำาเป็นต้องมีเครื่องหมายการค้า และจำาเป็นต้องเลือก
เครื่องหมายการค้าที่เหมาะสมกับประเภทธุรกิจของตนอย่างไร

ประเภทของเครื่องหมายที่ขอจดทะเบียนคุ้มครอง
พระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2543 ให้ความคุ้มครองเครื่องหมาย 4
ประเภท คือ
1.1 เครื่องหมายการค้า หมายความว่า เครื่องหมายที่ใช้ หรือจะใช้เป็น
เครื่องหมายเกี่ยวข้องกับสินค้า เพื่อแสดงว่าสินค้าที่ใช้เครื่องหมายของเจ้าของ
เครื่องหมายการค้านั้น แตกต่างกับสินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่น




1.2 เครื่องหมายบริการ หมายความว่า เครื่องหมายที่ใช้หรือจะใช้เป็นเครื่องหมาย
หรือเกี่ยวข้องกับบริการ เพื่อแสดงว่าบริการที่ใช้เครื่องหมายของเจ้าของ
เครื่องหมายบริการนั้น แตกต่างกับบริการที่ใช้เครื่องหมายบริการของบุคคลอื่น




1.3 เครื่องหมายรับรอง หมายความว่า เครื่องหมายที่เจ้าของเครื่องหมายรับรองใช้
หรือจะใช้เป็นเครื่องหมาย หรือเกี่ยวข้องกับสินค้าและบริการของบุคคลอื่น เพื่อ
เป็นการรับรองเกี่ยวกับแหล่งกำาเนิด ส่วนประกอบ วิธีการผลิต คุณภาพ หรือ
คุณลักษณะอื่นใดของสินค้านั้น หรือเพื่อรับรอง เกี่ยวกับสภาพ คุณภาพ ชนิด หรือ
คุณลักษณะอื่นใดของบริการนั้น
1.4 เครื่องหมายร่วม หมายความว่า เครื่องหมายการค้าหรือเครื่องหมายบริการที่
ใช้ หรือจะใช้โดยบริษัทหรือวิสาหกิจในกลุ่มเดียวกัน หรือโดยสมาชิกของสมาคม
สหกรณ์ สหภาพ สมาพันธ์ กลุ่มบุคคลหรือองค์กรใดของรัฐหรือเอกชน




การได้มาซึ่งความคุ้มครอง
ความคุ้มครองเครื่องหมายการค้า มิได้เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ เจ้าของ
เครื่องหมายการค้า จะต้องนำาเครื่องหมายการค้าที่คิดขึ้น ไปทำาการจดทะเบียน
เสียก่อน จึงจะได้รับความคุ้มครองโดยสมบูรณ์ตามพระราชบัญญัติ
เครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2534
เครื่องหมายการค้ามีประโยชน์อย่างไร

ด้านเจ้าของเครื่องหมายการค้า เครื่องหมายการค้ามีประโยชน์ในการที่จะทำาให้ผู้
บริโภคสามารถจดจำา หรือเรียกขานสินค้าของเจ้าของเครื่องหมายการค้านั้นได้
และไม่สับสนกับสินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้าอื่นๆ

ด้านผู้บริโภค เครื่องหมายการค้าจะทำาให้ผู้บริโภคสามารถแยกแยะสินค้า ที่ใช้
เครื่องหมายการค้านั้น จากสินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้าอื่นๆ และ
เครื่องหมายการค้าจะทำาให้ผู้บริโภคสามารถเลือกซื้อสินค้าที่มีคุณภาพตาม
ต้องการ รวมทั้งทราบถึงตัวเจ้าของเครื่องหมายการค้าด้วย
สิทธิของเจ้าของเครื่องหมายการค้า

เครื่องหมายการค้าที่ยังไม่ได้จดทะเบียน เจ้าของเครื่องหมายการค้ามีสิทธิที่จะใช้
เครื่องหมายการค้าที่ยังมิได้จดทะเบียนนั้น แต่จะฟ้องคดีเพื่อป้องกันการละเมิด
เครื่องหมายการค้าที่ไม่ได้จดทะเบียน หรือค่าเสียหายไม่ได้

เครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียนแล้ว เจ้าของเครื่องหมายการค้ามีสิทธิแต่เพียงผู้
เดียว ที่จะใช้เครื่องหมายการค้ากับสินค้าที่จดทะเบียนไว้ และกรณีที่ผู้อื่นละเมิด
สิทธิในเครื่องหมายการค้า เจ้าของเครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียนแล้ว มีสิทธิที่
จะฟ้องร้องและเรียกค่าเสียหาย ได้ และในกรณีที่มีผู้อื่นนำาเครื่องหมายการค้าของ
เจ้าของเครื่องหมายการค้าไปจดทะเบียน เจ้าของเครื่องหมายการค้าอาจฟ้องเพิก
ถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้านั้นได้
ดังนั้น ผู้ที่จะใช้เครื่องหมายการค้า ไม่ควรใช้เครื่องหมายการค้าที่เหมือนหรือ
คล้ายกับเครื่องหมายการค้าของบุคคลอืน
การจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า

โดยทั่วๆ ไป ก่อนการยื่นขอจดทะเบียน ผู้ที่ต้องการขอจดทะเบียนควรที่จะขอ
ตรวจสอบค้นดูที่ สำานักเครื่องหมายการค้า กรมทรัพย์สินทางปัญญา ว่ามี
เครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียนใว้แล้วเหมือน หรือคล้ายกับเครื่องหมายการค้า
ของตนหรือไม่ ถ้ามีเครื่องหมายมราเหมือนหรือคล้ายกันได้จดทะเบียนไว้แล้ว ก็
ไม่สามารถจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าที่ต้องการจดทะเบียนได้อีก
ลักษณะของเครื่องหมายที่จดทะเบียนได้

ลักษณะเครื่องหมายการค้า เครื่องหมายบริการ เครื่องหมายรับรอง และ
เครื่องหมายร่วมที่จดทะเบียนได้ จะต้องประกอบด้วยลักษณะ 3 ประการ คือ

2.1 มีลักษณะบ่งเฉพาะ คือ ลักษณะที่ทำาให้ประชาชนหรือผู้ใช้สินค้านั้นทราบและ
เข้าใจว่าสินค้าที่ใช้นั้นแตกต่างจากสินค้าอื่น เช่น รูปหรือคำาที่ได้ประดิษฐ์ขึ้น
ลายมือชื่อหรือภาพของผู้เป็นเจ้าของ เป็นต้น
2.2 ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย เช่น ธงชาติ เครื่องหมายราชการ พระบรม
ฉายาลักษณ์ เป็นต้น
2.3 ไม่เหมือนหรือคล้ายคลึงกับเครื่องหมายของบุคคลอื่น เครื่องหมายการค้าที่
จดทะเบียนนั้น จะต้องไม่เหมือนกับเครื่องหมายที่บุคคลอื่นได้จดทะเบียนไว้แล้ว
หรือคล้ายกับเครื่องหมายที่บุคคลอื่นได้จดไว้แล้ว จนอาจทำาให้สาธารณชนสับสน
หรือหลงผิดในความเป็นเจ้าของสินค้า หรือแหล่งกำาเนิดสินค้า โดยพิจารณาจาก
คำา เสียงเรียกขาน รูปหรือภาพ และการประดิษฐ์ของเครื่องหมาย เป็นต้น
อายุความคุ้มครอง

เครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียนแล้ว มีอายุความคุ้มครอง 10 ปี เมื่อครบกำาหนด
สามารถที่จะต่ออายุได้เป็นคราวๆ คราวละ 10 ปี
เอกสารประกอบคำาขอจดทะเบียน

1. คำาขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า หรือเครื่องหมายบริการ หรือเครื่องหมาย
รับรอง หรือเครื่องหมายร่วม ตามประเภทเครื่องหมายที่ขอจดทะเบียน 1 ฉบับ
พร้อม สำาเนาคำาขอจดทะเบียน จำานวน 5 ฉบับ (โดยให้กรอกข้อความต่างๆ ใน
คำาขอจดทะเบียน) แล้วให้ถ่ายสำาเนาจากต้นฉบับและเมื่อถ่ายสำาเนาแล้วให้ปิดรูป
เครื่องหมายที่ขอจดทะเบียน ลงในช่องปิดรูปเครื่องหมาย ทั้งทั้งต้นฉบับและ
สำาเนา รวมเป็น 6 ฉบับ
2. บัตรเครื่องหมายจำานวน 2 ฉบับ ซึ่งปิดรูปเครื่องหมาย และกรอกรายการครบ
ถ้วน ตรงกับคำาขอจดทะเบียน
3. บุคคลธรรมดา สำาเนาบัตรประจำาตัวที่ทางราชการออกให้ ใบสำาคัญประจำาตัวคน
ต่างด่าว หรือหนังสือเดินทางในกรณีที่เป็นบุคคลธรรมดา
4. นิติบุคคล ให้ใช้หนังสือรับรองนิติบุคคล ซึ่งเป็นฉบับปัจจุบันโดยมีคำารับรองของ
ผู้มีอำานาจตามกฏหมายไม่เกิน 6 เดือน นับตั้งแต่วันที่ออกหนังสือรับรองนั้น
5. สำาเนาหนังสือแต่งตั้งตัวแทนหรือหนังสือมอบอำานาจ (ถ้ามี)
6. รูปเครื่องหมายที่เหมือนกับที่ปิดลงในคำาขอจดทะเบียน จำานวน 5 รูป
7. หลักฐานนำาสืบลักษณะบ่งเฉพาะหรือหนังสือขอผ่อนผันการนำาส่งหลักฐานดัง
กล่าว (ถ้ามี) เช่น หลัดฐานที่แสดงว่าได้มีการจำาหน่ายสินค้าภายใต้เครื่องหมายที่
จดทะเบียนนั้น จนเป็นที่รู้จักกันแพร่หลายแล้วว่า ใครเป็นเจ้าของ
เครื่องหมายการค้าที่จะจดทะเบียนนั้น
วิธีการ และสถานที่ยื่นคำาขอจดทะเบียน

ยื่นคำาขอจดทะเบียนได้ 2 วิธี คือ
(1 ) ยื่นขอด้วยตัวเองต่อนายทะเบียน พร้อมทั้งชำาระค่าธรรมเนียม ที่ฝ่ายบริการ
และตรวจสอบคำาขอ ส่วนบริหารงานจดทะเบียน สำานักเครื่องหมายการค้า กรม
ทรัพย์สินทางปัญญา หรือยื่นด้วยตนเอง ที่ สำานักงานพาณิชย์จังหวัด ที่ผู้ขอจด
ทะเบียนมีภูมิลำาเนาอยู่
(2) ยื่นโดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับถึงนายทะเบียน ณ กรมทรัพย์สินทาง
ปัญญา กระทรวงพาณิชย์ พร้อมทั้งชำาระค่าธรรมเนียมโดยตรงทางธนาณัติสั่งจ่าย
นายทะเบียนเครื่องหมายการค้า
การชำาระค่าธรรมเนียม

การชำาระค่าธรรมเนียมคำาขอเครื่องหมายการค้า แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ
1 ขั้นตอนยื่นคำาขอจดทะเบียน ค่าธรรมเนียมขึ้นอยู่กับจำานวนรายการสินค้า หรือ
บริการที่จะจดทะเบียน ซึ่งจะต้องชำาระค่าธรรมเนียมสินค้า หรือบริการ อย่างละ
500 บาท
2 ขั้นตอนการรับจดทะเบียน โดยนายทะเบียนจะแจ้งให้ผู้ขอชำาระค่าธรรมเนียม
ภายหลังจากการครบกำาหนดการประกาศโฆษณา และไม่มีผู้คัดค้านการจด
ทะเบียน โดยผู้ขอจะต้องชำาระค่าธรรมเนียมตามจำานวนสินค้า หรือบริการอย่างละ
300 บาท

More Related Content

Viewers also liked

いいね!マイスターへの道
いいね!マイスターへの道いいね!マイスターへの道
いいね!マイスターへの道sscr
 
Felíz cumpleaños belita Carmen
Felíz cumpleaños belita CarmenFelíz cumpleaños belita Carmen
Felíz cumpleaños belita CarmenPaola Völker
 
Black Ash
Black AshBlack Ash
Black Ashpompad
 
グローバル変数
グローバル変数グローバル変数
グローバル変数TENTO_slide
 
20150707六時五分
20150707六時五分20150707六時五分
20150707六時五分明穂 足立
 
Dialogo La Esfera Y El Triangulo
Dialogo La Esfera Y El TrianguloDialogo La Esfera Y El Triangulo
Dialogo La Esfera Y El Trianguloguestcceee2
 

Viewers also liked (8)

Salva lópez
Salva lópezSalva lópez
Salva lópez
 
いいね!マイスターへの道
いいね!マイスターへの道いいね!マイスターへの道
いいね!マイスターへの道
 
Felíz cumpleaños belita Carmen
Felíz cumpleaños belita CarmenFelíz cumpleaños belita Carmen
Felíz cumpleaños belita Carmen
 
Black Ash
Black AshBlack Ash
Black Ash
 
グローバル変数
グローバル変数グローバル変数
グローバル変数
 
20150707六時五分
20150707六時五分20150707六時五分
20150707六時五分
 
Dialogo La Esfera Y El Triangulo
Dialogo La Esfera Y El TrianguloDialogo La Esfera Y El Triangulo
Dialogo La Esfera Y El Triangulo
 
Cancer de mama usando Weka e MLP/KNN
Cancer de mama usando Weka e MLP/KNNCancer de mama usando Weka e MLP/KNN
Cancer de mama usando Weka e MLP/KNN
 

Similar to เครื่องหมายการค้า

เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าmay1636
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าmay1636
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าsarawut
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าFlamethanatos
 

Similar to เครื่องหมายการค้า (20)

เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้า
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้า
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้า
 
เครื่องหมายการค้า2
เครื่องหมายการค้า2เครื่องหมายการค้า2
เครื่องหมายการค้า2
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้า
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้า
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้า
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้า
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้า
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้า
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้า
 
งาน อ.อินทิรา
งาน อ.อินทิรางาน อ.อินทิรา
งาน อ.อินทิรา
 
งาน อ.อินทิรา
งาน อ.อินทิรางาน อ.อินทิรา
งาน อ.อินทิรา
 
เครื่องหมายการค้า2
เครื่องหมายการค้า2เครื่องหมายการค้า2
เครื่องหมายการค้า2
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้า
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้า
 
เครื่องหมายการค้า2
เครื่องหมายการค้า2เครื่องหมายการค้า2
เครื่องหมายการค้า2
 
เครื่องหมายการค้า2
เครื่องหมายการค้า2เครื่องหมายการค้า2
เครื่องหมายการค้า2
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้า
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้า
 

More from นครินทร์ ต้นสา (9)

ทรัพสินทางปัญญา
ทรัพสินทางปัญญาทรัพสินทางปัญญา
ทรัพสินทางปัญญา
 
คลินิกและโรงพยาบาล
คลินิกและโรงพยาบาลคลินิกและโรงพยาบาล
คลินิกและโรงพยาบาล
 
คลินิกและโรงพยาบาล
คลินิกและโรงพยาบาลคลินิกและโรงพยาบาล
คลินิกและโรงพยาบาล
 
คลินิกและโรงพยาบาล
คลินิกและโรงพยาบาลคลินิกและโรงพยาบาล
คลินิกและโรงพยาบาล
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้า
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้า
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้า
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้า
 
โปรแกรมเพื่อความบันเทิง
โปรแกรมเพื่อความบันเทิงโปรแกรมเพื่อความบันเทิง
โปรแกรมเพื่อความบันเทิง
 

เครื่องหมายการค้า

  • 1. เครื่องหมายการค้า เครื่องหมายการค้า หมายถึง เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือตราที่ใช้กับสินค้าหรือ บริการ เป็นปัจจัยหนึ่งที่ผู้ประกอบการต้องนำามาพิจารณาทำาความรู้ความเข้าใจว่า เพราะ เหตุใดการทำาธุรกิจจึงจำาเป็นต้องมีเครื่องหมายการค้า และจำาเป็นต้องเลือก เครื่องหมายการค้าที่เหมาะสมกับประเภทธุรกิจของตนอย่างไร ประเภทของเครื่องหมายที่ขอจดทะเบียนคุ้มครอง พระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2543 ให้ความคุ้มครองเครื่องหมาย 4 ประเภท คือ 1.1 เครื่องหมายการค้า หมายความว่า เครื่องหมายที่ใช้ หรือจะใช้เป็น เครื่องหมายเกี่ยวข้องกับสินค้า เพื่อแสดงว่าสินค้าที่ใช้เครื่องหมายของเจ้าของ เครื่องหมายการค้านั้น แตกต่างกับสินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่น 1.2 เครื่องหมายบริการ หมายความว่า เครื่องหมายที่ใช้หรือจะใช้เป็นเครื่องหมาย หรือเกี่ยวข้องกับบริการ เพื่อแสดงว่าบริการที่ใช้เครื่องหมายของเจ้าของ เครื่องหมายบริการนั้น แตกต่างกับบริการที่ใช้เครื่องหมายบริการของบุคคลอื่น 1.3 เครื่องหมายรับรอง หมายความว่า เครื่องหมายที่เจ้าของเครื่องหมายรับรองใช้ หรือจะใช้เป็นเครื่องหมาย หรือเกี่ยวข้องกับสินค้าและบริการของบุคคลอื่น เพื่อ เป็นการรับรองเกี่ยวกับแหล่งกำาเนิด ส่วนประกอบ วิธีการผลิต คุณภาพ หรือ คุณลักษณะอื่นใดของสินค้านั้น หรือเพื่อรับรอง เกี่ยวกับสภาพ คุณภาพ ชนิด หรือ คุณลักษณะอื่นใดของบริการนั้น
  • 2. 1.4 เครื่องหมายร่วม หมายความว่า เครื่องหมายการค้าหรือเครื่องหมายบริการที่ ใช้ หรือจะใช้โดยบริษัทหรือวิสาหกิจในกลุ่มเดียวกัน หรือโดยสมาชิกของสมาคม สหกรณ์ สหภาพ สมาพันธ์ กลุ่มบุคคลหรือองค์กรใดของรัฐหรือเอกชน การได้มาซึ่งความคุ้มครอง ความคุ้มครองเครื่องหมายการค้า มิได้เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ เจ้าของ เครื่องหมายการค้า จะต้องนำาเครื่องหมายการค้าที่คิดขึ้น ไปทำาการจดทะเบียน เสียก่อน จึงจะได้รับความคุ้มครองโดยสมบูรณ์ตามพระราชบัญญัติ เครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2534 เครื่องหมายการค้ามีประโยชน์อย่างไร ด้านเจ้าของเครื่องหมายการค้า เครื่องหมายการค้ามีประโยชน์ในการที่จะทำาให้ผู้ บริโภคสามารถจดจำา หรือเรียกขานสินค้าของเจ้าของเครื่องหมายการค้านั้นได้ และไม่สับสนกับสินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้าอื่นๆ ด้านผู้บริโภค เครื่องหมายการค้าจะทำาให้ผู้บริโภคสามารถแยกแยะสินค้า ที่ใช้ เครื่องหมายการค้านั้น จากสินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้าอื่นๆ และ เครื่องหมายการค้าจะทำาให้ผู้บริโภคสามารถเลือกซื้อสินค้าที่มีคุณภาพตาม ต้องการ รวมทั้งทราบถึงตัวเจ้าของเครื่องหมายการค้าด้วย สิทธิของเจ้าของเครื่องหมายการค้า เครื่องหมายการค้าที่ยังไม่ได้จดทะเบียน เจ้าของเครื่องหมายการค้ามีสิทธิที่จะใช้ เครื่องหมายการค้าที่ยังมิได้จดทะเบียนนั้น แต่จะฟ้องคดีเพื่อป้องกันการละเมิด เครื่องหมายการค้าที่ไม่ได้จดทะเบียน หรือค่าเสียหายไม่ได้ เครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียนแล้ว เจ้าของเครื่องหมายการค้ามีสิทธิแต่เพียงผู้ เดียว ที่จะใช้เครื่องหมายการค้ากับสินค้าที่จดทะเบียนไว้ และกรณีที่ผู้อื่นละเมิด สิทธิในเครื่องหมายการค้า เจ้าของเครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียนแล้ว มีสิทธิที่ จะฟ้องร้องและเรียกค่าเสียหาย ได้ และในกรณีที่มีผู้อื่นนำาเครื่องหมายการค้าของ เจ้าของเครื่องหมายการค้าไปจดทะเบียน เจ้าของเครื่องหมายการค้าอาจฟ้องเพิก ถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้านั้นได้
  • 3. ดังนั้น ผู้ที่จะใช้เครื่องหมายการค้า ไม่ควรใช้เครื่องหมายการค้าที่เหมือนหรือ คล้ายกับเครื่องหมายการค้าของบุคคลอืน การจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า โดยทั่วๆ ไป ก่อนการยื่นขอจดทะเบียน ผู้ที่ต้องการขอจดทะเบียนควรที่จะขอ ตรวจสอบค้นดูที่ สำานักเครื่องหมายการค้า กรมทรัพย์สินทางปัญญา ว่ามี เครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียนใว้แล้วเหมือน หรือคล้ายกับเครื่องหมายการค้า ของตนหรือไม่ ถ้ามีเครื่องหมายมราเหมือนหรือคล้ายกันได้จดทะเบียนไว้แล้ว ก็ ไม่สามารถจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าที่ต้องการจดทะเบียนได้อีก ลักษณะของเครื่องหมายที่จดทะเบียนได้ ลักษณะเครื่องหมายการค้า เครื่องหมายบริการ เครื่องหมายรับรอง และ เครื่องหมายร่วมที่จดทะเบียนได้ จะต้องประกอบด้วยลักษณะ 3 ประการ คือ 2.1 มีลักษณะบ่งเฉพาะ คือ ลักษณะที่ทำาให้ประชาชนหรือผู้ใช้สินค้านั้นทราบและ เข้าใจว่าสินค้าที่ใช้นั้นแตกต่างจากสินค้าอื่น เช่น รูปหรือคำาที่ได้ประดิษฐ์ขึ้น ลายมือชื่อหรือภาพของผู้เป็นเจ้าของ เป็นต้น 2.2 ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย เช่น ธงชาติ เครื่องหมายราชการ พระบรม ฉายาลักษณ์ เป็นต้น 2.3 ไม่เหมือนหรือคล้ายคลึงกับเครื่องหมายของบุคคลอื่น เครื่องหมายการค้าที่ จดทะเบียนนั้น จะต้องไม่เหมือนกับเครื่องหมายที่บุคคลอื่นได้จดทะเบียนไว้แล้ว หรือคล้ายกับเครื่องหมายที่บุคคลอื่นได้จดไว้แล้ว จนอาจทำาให้สาธารณชนสับสน หรือหลงผิดในความเป็นเจ้าของสินค้า หรือแหล่งกำาเนิดสินค้า โดยพิจารณาจาก คำา เสียงเรียกขาน รูปหรือภาพ และการประดิษฐ์ของเครื่องหมาย เป็นต้น อายุความคุ้มครอง เครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียนแล้ว มีอายุความคุ้มครอง 10 ปี เมื่อครบกำาหนด สามารถที่จะต่ออายุได้เป็นคราวๆ คราวละ 10 ปี เอกสารประกอบคำาขอจดทะเบียน 1. คำาขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า หรือเครื่องหมายบริการ หรือเครื่องหมาย รับรอง หรือเครื่องหมายร่วม ตามประเภทเครื่องหมายที่ขอจดทะเบียน 1 ฉบับ พร้อม สำาเนาคำาขอจดทะเบียน จำานวน 5 ฉบับ (โดยให้กรอกข้อความต่างๆ ใน คำาขอจดทะเบียน) แล้วให้ถ่ายสำาเนาจากต้นฉบับและเมื่อถ่ายสำาเนาแล้วให้ปิดรูป เครื่องหมายที่ขอจดทะเบียน ลงในช่องปิดรูปเครื่องหมาย ทั้งทั้งต้นฉบับและ สำาเนา รวมเป็น 6 ฉบับ 2. บัตรเครื่องหมายจำานวน 2 ฉบับ ซึ่งปิดรูปเครื่องหมาย และกรอกรายการครบ ถ้วน ตรงกับคำาขอจดทะเบียน 3. บุคคลธรรมดา สำาเนาบัตรประจำาตัวที่ทางราชการออกให้ ใบสำาคัญประจำาตัวคน ต่างด่าว หรือหนังสือเดินทางในกรณีที่เป็นบุคคลธรรมดา 4. นิติบุคคล ให้ใช้หนังสือรับรองนิติบุคคล ซึ่งเป็นฉบับปัจจุบันโดยมีคำารับรองของ
  • 4. ผู้มีอำานาจตามกฏหมายไม่เกิน 6 เดือน นับตั้งแต่วันที่ออกหนังสือรับรองนั้น 5. สำาเนาหนังสือแต่งตั้งตัวแทนหรือหนังสือมอบอำานาจ (ถ้ามี) 6. รูปเครื่องหมายที่เหมือนกับที่ปิดลงในคำาขอจดทะเบียน จำานวน 5 รูป 7. หลักฐานนำาสืบลักษณะบ่งเฉพาะหรือหนังสือขอผ่อนผันการนำาส่งหลักฐานดัง กล่าว (ถ้ามี) เช่น หลัดฐานที่แสดงว่าได้มีการจำาหน่ายสินค้าภายใต้เครื่องหมายที่ จดทะเบียนนั้น จนเป็นที่รู้จักกันแพร่หลายแล้วว่า ใครเป็นเจ้าของ เครื่องหมายการค้าที่จะจดทะเบียนนั้น วิธีการ และสถานที่ยื่นคำาขอจดทะเบียน ยื่นคำาขอจดทะเบียนได้ 2 วิธี คือ (1 ) ยื่นขอด้วยตัวเองต่อนายทะเบียน พร้อมทั้งชำาระค่าธรรมเนียม ที่ฝ่ายบริการ และตรวจสอบคำาขอ ส่วนบริหารงานจดทะเบียน สำานักเครื่องหมายการค้า กรม ทรัพย์สินทางปัญญา หรือยื่นด้วยตนเอง ที่ สำานักงานพาณิชย์จังหวัด ที่ผู้ขอจด ทะเบียนมีภูมิลำาเนาอยู่ (2) ยื่นโดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับถึงนายทะเบียน ณ กรมทรัพย์สินทาง ปัญญา กระทรวงพาณิชย์ พร้อมทั้งชำาระค่าธรรมเนียมโดยตรงทางธนาณัติสั่งจ่าย นายทะเบียนเครื่องหมายการค้า การชำาระค่าธรรมเนียม การชำาระค่าธรรมเนียมคำาขอเครื่องหมายการค้า แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ 1 ขั้นตอนยื่นคำาขอจดทะเบียน ค่าธรรมเนียมขึ้นอยู่กับจำานวนรายการสินค้า หรือ บริการที่จะจดทะเบียน ซึ่งจะต้องชำาระค่าธรรมเนียมสินค้า หรือบริการ อย่างละ 500 บาท 2 ขั้นตอนการรับจดทะเบียน โดยนายทะเบียนจะแจ้งให้ผู้ขอชำาระค่าธรรมเนียม ภายหลังจากการครบกำาหนดการประกาศโฆษณา และไม่มีผู้คัดค้านการจด ทะเบียน โดยผู้ขอจะต้องชำาระค่าธรรมเนียมตามจำานวนสินค้า หรือบริการอย่างละ 300 บาท