SlideShare a Scribd company logo
ใบงานที่ 6 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 
เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลองการทดลองของสาขาต่างๆ ซึ่งเป็นงานที่ไม่ 
สามารถทดลองด้วยสถานการณ์จริงได้ เช่น การจุดระเบิด เป็นต้น และเป็นโครงงานที่ผู้ทาต้อง 
ศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริง และแนวคิดต่างๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการศึกษา 
แล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสูตร สมการ หรือคาอธิบาย 
พร้อมทั้งารจาลองทฤษฏีด้วยคอมพิวเตอร์ให้ออกมาเป็นภาพ ภาพที่ได้ก็จะเปลี่ยนไปตามสูตร 
หรือสมการนั้น ซึ่งจะทาให้ผู้เรียนมีความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น การทาโครงงานประเภทนี้มีจุดสาคัญ 
อยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่างโครงงานจาลองทฤษฎี เช่น การทดลอง 
เรื่องการไหลของของเหลว การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาปิรันย่า และการทดลองเรื่องการ 
มองเห็นวัตถุแบบสามมิติ เป็นต้น 
ขั้นตอนการทาโครงงาน 
การทาโครงงานมีขั้นตอนการปฏิบัติ ดังนี้ 
๒.๑ การคิดและการเลือกหัวเรื่อง ผู้เรียนจะต้องคิด และเลือกหัวเรื่องของโครงงานด้วย 
ตนเองว่าอยากจะศึกษาอะไร ทาไมจึงอยากศึกษา หัวเรื่องของโครงงานมักจะได้มาจากปัญหา 
คาถามหรือความอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ของผู้เรียนเอง หัวเรื่องของโครงงานควร 
เฉพาะเจาะจงและชัดเจน เมื่อใครได้อ่านชื่อเรื่องแล้วควรเข้าใจและรู้เรื่องว่าโครงงานนี้ทาจาก 
อะไร การกาหนดหัวเรื่องของโครงงานนั้นมีแหล่งที่จะช่วยกระตุ้นให้เกิดความคิดและความสนใจ 
หลายแหล่งด้วยกัน เช่น จากการอ่านหนังสือ เอกสาร บทความ การเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ การ 
ฟังบรรยายทางวิชาการ การเข้าชมนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานทางวิทยาศาสตร์ การ 
สนทนากับบุคคลต่างๆ หรือจาการสังเกตปรากฏการณ์ต่างๆ รอบตัว เป็นต้น นอกจากนี้ ควร 
คานึงถึงประเด็นต่อไปนี้
- ความเหมาะสมของระดับความรู้ ความสามารถของผู้เรียน 
- วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ 
- งบประมาณ 
- ระยะเวลา 
- ความปลอดภัย 
- แหล่งความรู้ 
๒.๒ การวางแผน 
การวางแผนการทาโครงงาน จะรวมถึงการเขียนเค้าโครงของโครงงาน ซึ่งต้องมีการ 
วางแผนไว้ล่วงหน้า เพื่อให้การดาเนินการเป็นไปอย่างรัดกุมและรอบคอบ ไม่สับสน แล้วนาเสนอ 
ต่อผู้สอนหรือครูที่ปรึกษาเพื่อขอความเห็นชอบก่อนดาเนินการขั้นต่อไป การเขียนเค้าโครงของ 
โครงงาน โดยทั่วไป เขียนเพื่อแสดงแนวคิด แผนงาน และขั้นตอนการทาโครงงาน ซึ่งควร 
ประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้ 
๑) ชื่อโครงงาน ควรเป็นข้อความที่กะทัดรัด ชัดเจน สื่อความหมายได้ตรง 
๒) ชื่อผู้ทาโครงงาน 
๓) ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน 
๔) หลักการและเหตุผลของโครงงาน เป็นการอธิบายว่าเหตุใดจึงเลือกทาโครงงาน 
เรื่องนี้ มีความสาคัญอย่างไร มีหลักการหรือทฤษฎีอะไรที่เกี่ยวข้อง เรื่องที่ทาเป็นเรื่องใหม่หรือ 
มีผู้อื่นได้ศึกษาค้นคว้าเรื่องนี้ไว้บ้างแล้ว ถ้ามีได้ผลอย่างไร เรื่องที่ทาได้ขยายเพิ่มเติม ปรับปรุง 
จากเรื่องที่ผู้อื่นทาไว้อย่างไร หรือเป็นการทาซ้าเพื่อตรวจสอบผล 
๕) จุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ควรมีความเฉพาะเจาะจง และสามารถวัดได้ เป็นการ 
บอกขอบเขตของงานที่จะทาได้ชัดเจนขึ้น 
๖) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี) สมมติฐานเป็นคาตอบหรือคาอธิบายที่คาด 
ไว้ล่วงหน้า ซึ่งอาจจะถูกหรือไม่ก็ได้ การเขียนสมมติฐานควรมีเหตุมีผลมีทฤษฎีหรือหลักการ 
รองรับ และที่สาคัญ คือ เป็นข้อความที่มองเห็นแนวทางในการดาเนินการทดสอบได้ นอกจากนี้ 
ควรมีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตามด้วย
๗) วิธีดาเนินงานและขั้นตอนการดาเนินงาน จะต้องอธิบายว่า จะออกแบบการทดลอง 
อะไรอย่างไร จะเก็บข้อมูลอะไรบ้างรวมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็นต้องใช้ มีอะไรบ้าง 
๘) แผนปฏิบัติงาน อธิบายเกี่ยวกับกาหนดเวลาตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้นการดาเนินงาน 
ในแต่ละขั้นตอน 
๙) ผลที่คาดว่าจะได้รับ 
๑๐) 
เอกสารอ้างอิง 
๒.๓ การดาเนินงาน เมื่อที่ปรึกษาโครงงานให้ความเห็นชอบเค้าโครงของโครงงานแล้ว 
ต่อไปก็เป็นขั้นลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ระบุไว้ ผู้เรียนต้องพยายามทาตามแผนงานที่วางไว้ 
เตรียมวัสดุอุปกรณ์และสถานที่ให้พร้อมปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ คานึงถึงความ 
ประหยัดและปลอดภัยในการทางาน ตลอดจนการบันทึกข้อมูลต่างๆ ว่าได้ทาอะไรไปบ้าง ได้ผล 
อย่างไร มีปัญหาและข้อคิดเห็นอย่างไร พยายามบันทึกให้เป็นระเบียบและครบถ้วน 
๒.๔ การเขียนรายงาน 
การเขียนรายงานเกี่ยวกับโครงงาน เป็นวิธีสื่อความหมายวิธีหนึ่งที่จะให้ผู้อื่นได้เข้าใจ 
ถึงแนวคิด วิธีการดาเนินงาน ผลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ ที่เกี่ยวกับโครงงาน 
นั้น การเขียนโครงงานควรใช้ภาษาที่อ่านแล้วเข้าใจง่าย ชัดเจนและครอบคลุมประเด็นสาคัญๆ 
ทั้งหมดของโครงงาน
๒.๕ การนาเสนอผลงาน 
การนาเสนอผลงาน เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทาโครงงานและเข้าใจถึงผลงานนั้น 
การนาเสนอผลงานอาจทาได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมต่อประเภทของโครงงาน 
เนื้อหา เวลา ระดับของผู้เรียน เช่น การแสดงบทบาทสมมติ การเล่าเรื่อง การเขียนรายงาน 
สถานการณ์จาลอง การสาธิต การจัดนิทรรศการ ซึ่งอาจมีทั้งการจัดแสดงและการอธิบายด้วย 
คาพูด หรือการรายงานปากเปล่า การบรรยาย สิ่งสาคัญคือ พยายามทาให้การแสดงผลงานนั้น 
ดึงดูดความสนใจของผู้ชม มีความชัดเจน เข้าใจง่าย และมีความถูกต้องของเนื้อหา 
๓. การเขียนรายงานโครงงาน 
การเขียนรายงานโครงงานเป็นรูปแบบหนึ่งของการนาเสนอผลงานของโครงงานที่ 
ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าตั้งแต่ต้นจนจบ การกาหนดหัวข้อในการเขียนรายงานโครงงานอาจไม่ระบุ 
ตายตัวเหมือนกันทุกโครงงาน ส่วนประกอบของหัวข้อในรายงานต้องเหมาะสมกับประเภทของ 
โครงงานและระดับชั้นของผู้เรียน องค์ประกอบของการเขียนรายงานโครงงาน แบ่งกว้างๆ เป็น ๓ 
ส่วน ดังนี้ 
๑. ส่วนปกและส่วนต้น ส่วนปกและส่วนต้น ประกอบด้วย 
๑) ชื่อโครงงาน 
๒) ชื่อผู้ทาโครงงาน ชั้น โรงเรียน และวันเดือนปีที่จัดทา 
๓) ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 
๔) คานา 
๕) สารบัญ 
๖) สารบัญตาราง หรือภาพประกอบ (ถ้ามี) 
๗) บทคัดย่อสั้นๆ ที่บอกเค้าโครงอย่างย่อๆ ซึ่งประกอบด้วย เรื่อง วัตถุประสงค์ วิธี 
การศึกษา ระยะเวลา และ
สรุปผล 
๘) กิตติกรรมประกาศ เพื่อแสดงความขอบคุณบุคคล หรือหน่วยงานที่ให้ความ 
ช่วยเหลือหรือมีส่วนเกี่ยวข้อง 
๒. ส่วนเนื้อเรื่อง 
ส่วนเนื้อเรื่อง ประกอบด้วย 
๑) บทนา บอกความเป็นมา ความสาคัญของโครงงาน บอกเหตุผล หรือเหตุจูงใจใน 
การเลือกหัวข้อโครงงาน 
๒) วัตถุประสงค์ของโครงงาน 
๓) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า 
๔) การดาเนินงาน อาจเขียนเป็นตาราง แผนผังโครงงานเพื่อให้การดาเนินงานเป็นไป 
ตามหัวข้อเรื่อง ตรงตามวัตถุประสงค์ของโครงงาน และพิสูจน์คาตอบ (สมมติฐาน) ตามประเด็นที่ 
กาหนด ดังตัวอย่างการเขียนแผนผังโครงงานต่อไปนี้ 
ในแผนผังโครงงานทาให้เห็นระบบการทางานอย่างมีเป้าหมาย มีการวางแผนการ 
ทางาน จะเห็นได้ว่าสิ่งที่ต้องการทราบ คือ หัวข้อย่อย หรือคาถามย่อยของหัวข้อโครงงาน ถ้ามี 
มาก ๑ ข้อ ก็จะเรียงลาดับทีละหัวข้อ พร้อมทั้งบอกสมมติฐาน วิธีศึกษา และแหล่งศึกษาค้นคว้า 
ตามแผนผังให้ครบทุกข้อ สิ่งที่ต้องการทราบ สมมติฐาน วิธีการศึกษา แหล่งศึกษา/แหล่งข้อมูล 
หัวข้อย่อยจากหัวข้อเรื่องของโครงงานที่ต้องการหาคาตอบ การตอบคาถามล่วงหน้า ค้นคว้า 
สอบถาม สัมภาษณ์ สังเกต ศึกษาโดยการดู-ฟัง จากสื่อชนิดต่างๆ - เอกสาร หนังสือ - สถานที่ 
บุคคล 
๕) สรุปผลการศึกษา เป็นการอธิบายคาตอบที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า ตามหัวข้อ 
ย่อยที่ต้องการทราบ ว่าเป็นไปตามสมมติฐานหรือไม่ 
๖) อภิปรายผล บอกประโยชน์ หรือคุณค่าของผลงานที่ได้ และบอกข้อจากัดหรือ 
ปัญหา อุปสรรค (ถ้ามี) พร้อมทั้งบอกข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้า โครงงานลักษณะ 
ใกล้เคียงกัน
๓. ส่วนท้าย 
ส่วนท้าย ประกอบด้วย 
๑) บรรณานุกรม หรือ เอกสารอ้างอิง หรือเอกสารที่ใช้ค้นคว้า ซึ่งมีหลายประเภท 
เช่น หนังสือ ตารา บทความ หรือคอลัมน์ ซึ่งจะมีวิธีการเขียนบรรณานุกรมต่างกัน เช่น 
หนังสือ ชื่อ นามสกุล. ชื่อหนังสือ. สถานที่พิมพ์ : สานักพิมพ์, ปีที่พิมพ์ 
บทความในวารสาร ชื่อผู้เขียน "ชื่อบทความ," ชื่อวารสาร. ปีที่หรือเล่มที่ : หน้า ;วัน 
เดือน ปี. 
คอลัมน์จากหนังสือพิมพ์ ์ชื่อผู้เขียน "ชื่อคอลัมน์ : ชื่อเรื่องในคอลัมน์" ชื่อหนังสือพิมพ์.วัน 
เดือน ปี. หน้า. 
๒) ภาคผนวก เช่น โครงร่างโครงงาน ภาพกิจกรรม แบบสอบถาม บทสัมภาษณ์ 
ในการทาโครงงานประเภททดลอง ต้องมีการจัดการกับตัวแปรที่จะมีผลต่อการทดลอง ซึ่งจะ 
มี 4 ชนิด คือ 
• ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ หมายถึง เหตุของการทดลองนั้นๆ 
• ตัวแปรตาม ซึ่งจะเป็นผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงตัวแปรต้น 
• ตัวแปรควบคุม หมายถึง สิ่งที่ต้องควบคุมให้เหมือนๆกัน มิฉะนั้นจะมีผลทาให้ตัวแปรตาม 
เปลี่ยนไป 
• ตัวแปรแทรกซ้อน ซึ่งจริงๆแล้วก็คือ ตัวแปรควบคุมนั่นเอง แต่บางครั้งเราจะควบคุมไม่ได้ ซึ่งจะ 
มีผลแทรกซ้อน ทาให้ผลการทดลองผิดไป แต่แก้ไขได้โดยการตัดข้อมูลที่ผิดพลาดทิ้งไป 
ตัวอย่างเช่น นักเรียนต้องการศึกษาว่า กระดาษชนิดใดสามารถพับเครื่องร่อน และปาได้ไกลที่สุด
ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ คือ ชนิดของกระดาษ 
ตัวแปรตาม คือ ระยะทางที่กระดาษเคลื่อนที่ได้ 
ตัวแปรควบคุม คือ แรงที่ใช้ปากระดาษ ความสูงของระยะที่ใช้ปา 
ตัวแปรแทรกซ้อน เช่น บางครั้งขณะปามีลมพัดเข้ามา ซึ่งจะทาให้ข้อมูลผิดพลาดได้ 
โครงงานประเภทการทดลอง เหมาะสาหรับนักเรียนที่ศึกษาในรายวิชาวิทยาศาสตร์ เช่น ครู 
ต้องการสอนให้นักเรียนทราบว่า ในพืชชนิดใดมีวิตามินซีมากหรือน้อยอย่างไร แทนที่ครูจะบอก 
ความรู้แก่นักเรียน ครูก็จะสอนโดยให้นักเรียนทาเป็นโครงงาน โดยให้สารวจปริมาณวิตามินซี 
ในพืชผักผลไม้ท้องถิ่น เป็นต้น 
วิชาการงานพื้นฐานอาชีพ นักเรียนอาจทาโครงงานเกี่ยวกับการเพาะเห็ดฟางโดยศึกษา 
ความสัมพันธ์ระหว่างวัสดุที่ใช้เพาะเห็ดว่าวัสดุชนิดใดเพาะเห็ดได้ดีที่สุด
ตัวแปรต้น คือ วัสดุที่ใช้เพาะเห็ดฟาง 
ตัวแปรตาม คือ ปริมาณเห็ดที่ได้ 
จะทาให้นักเรียนได้ทราบว่าวัสดุในท้องถิ่นของนักเรียนชนิดใดเพาะเห็ดได้ดีที่สุด 
วิชาภาษาไทย ครูอาจให้นักเรียนทาโครงงานเกี่ยวกับวิธีการอ่าน โดยศึกษาเปรียบเทียบการ 
อ่านออกเสียงว่าวิธีใดจะสามารถทาให้ผู้อ่านจาได้ดีกว่ากัน โดยมี 
ตัวแปรต้น คือ การอ่านในใจและการอ่านออกเสียง 
ตัวแปรตาม คือ ความจาของนักเรียน 
นักเรียนจะได้ทราบวิธีการอ่านและทราบอื่นๆ อีกมาก
ใบงานที่ 7 
เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน” 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน เป็นโครงงานประยุกต์ใช้งาน เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ใน 
การ สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงในชีวิตประจาวัน อาทิเช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่ง 
ภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี และซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภทนี้ 
จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่ หรือ 
ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ 
ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้นๆ ต่อจากนั้นต้องมีการ 
ทดสอบการทางานหรือทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับ ปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้ 
ผู้เรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 
สรุปความหมายของโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน เป็นโครงงานที่สร้าขึ้นมาเพื่อให้สามารถนาไปประยุกต์ใน 
ชีวิตประจาวัน ซึ่งโครงงานประเภทนี้อาจจะเป็นงานที่คิดค้นขึ้นมาใหม่ หรือจะเป็นการนาเอางานเดอมที่มีมาอยู่ 
แล้วมาปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้นก็ได้ ทั้งนี้ทั้งนั้น โครงงานลักษณะนี้จาเป็นจะต้องมี 
การศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ ก่อนจะนาข้อมูลต่างๆมาออกแบบหรือมาพัฒนา และต้องมีนามา 
ทางานจริงเพื่อทดสอบประสิทธิภาพของชิ้นงาน หากมีข้อบกพร่องก็ควรนาไปแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ 
โครงงานประเภทนี้ผู้เรียนจาต้องมีความรู้ความสามารถในด้านของคอมพิวเตอร์ ด้านภาษาโปรแกรมและเครื่องมือ 
ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางานทั้งหมด
ตัวอย่างของโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 
1. โปรแกรม สารบรรณสาเร็จรูป : Readymade Archivis 
2. โปรแกรมระบบฐานข้อมูลทางการแพทย์เบื้องต้น 
3. โปรแกรมระบบแฟ้มฐานข้อมูลผู้เรียน 2001 
4. เครื่องรดน้าต้นไม้และให้อาหารปลาผ่านโทรศัพท์มือถือ 
5. เครื่องให้อาหารไก่ไข่อัตโนมัติ 
6. ระบบบริหารจัดการข้อมูลผู้เรียนของโรงเรียน 
7. ระบบจัดการข้อมูลการเงินส่วนบุคคล 
8. ระบบจองตั๋วรถไฟบนอินเทอร์เน็ต 
9. ระบบแนะนาเส้นทางเดินรถประจาทาง
10. โปรแกรมสังเคราะห์เสียงสาหรับคนตาบอดบนรถประจาทาง 
11. โปรแกรมออกและตรวจข้อสอบ 
12. โฮมเพจส่วนบุคคล 
 
ที่มา : 
http://www.thaigoodview.com/node/17030?page=0%2C7 
http://www.slideshare.net/Zikkapoo/ss-13963683 
http://www.vcharkarn.com/project/view/689 
https://sites.google.com/site/walaipornskb/khorng-ngan-khxmphiwtexr 

ใบงานที่ 8 
เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์” 
โครงงานพัฒนาเกม โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้หรือ 
เพื่อความ เพลิดเพลิน เกมทีพัฒนาควรจะเป็นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมี 
หลักการ โครงงานประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจแก่ผู้ 
เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวมข้อมูล 
เกี่ยวกับเกมต่างๆ ที่มีอยู่ทั่วไป และนามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่ เพื่อให้เป็นเกมที่แปลกใหม่ 
และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่างๆ 
ในปัจจุบันเกมคอมพิวเตอร์ ได้เข้ามามีบทบาทต่อเยาวชนเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้นโครงงาน 
พัฒนาเกม จึงเป็นอีกโครงงานที่จะส่งเสริมการสร้างเกมจากจินตนาการของนักเรียน ซึ่งจะทา 
ให้ได้เกมสีขาวที่ไม่มีพิษภัยต่อผู้เล่น หรือเป็นการสร้างเกมในเชิงสร้างสรรค์ โดยใช้ตัวละคร 
ตามวรรณคดีเป็นผู้เล่น เช่น เกมผจญภัยทะลุมิติ แต่ตัวละครในเกมจะใช้เป็นหนุมาน พระ 
ลักษมณ์ พระราม นางสีดา และ ทศกัณฐ์ ซึ่งเป็นตัวละครในเรื่อง 
รามเกียรติ์ เป็นการ ผสมผสานความรู้ด้าน 
วรรณคดีได้เป็นอย่าง ดี และทาให้ผู้เล่น 
เกมมีความเข้าใจ สามารถจาลักษณะ ของตัวละคร 
เหล่านั้นได้ กฎกติการการเล่นเกมผู้พัฒนา 
โครงงานสามารถกาหนดขั้นมาได้เองตาม 
ความเหมาะสมหรือพัฒนาเกมประเภทฝึก 
สมอง ประลองปัญญา เช่น เกมจับคู่ เกมทายคาศัพท์ 
ภาษาอังกฤษ เป็นต้น จึงเป็นอีกรูปแบบของโครงงานประเภท 
นี้ หรือนาบทเรียนที่ยากต่อการท่องจามาสร้างในลักษณะของ 
เกมจะช่วยให้ผู้เล่นนอกจากได้รับความบันเทิงแล้ว ยังเป็นการ 
ท่องจาบทเรียนไปพร้อมกันด้วย
ดังนั้นการสร้างสรรค์เกมและสอดแทรกความรู้เข้าไปก็จะมีประโยชน์มากสาหรับผู้เล่นและ 
ผู้ประดิษฐ์คิดค้น ซึ่งการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์นั้น และนักเรียนจะต้องมีความรู้พื้นฐาน 
เกี่ยวกับ 
1. หลักการทางานของคอมพิวเตอร์ 
2. กระบวนการและหลักการในการแก้ปัญหา 
3. หลักการเขียนโปรแกรม 
4. การแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์ 
ตัวอย่างโครงงาน 
- การพัฒนา software เพื่อใช้ในการอ่าน และ simulate การประยุกต์ใช้ hologram กับ 
บัตร 
- Shader 3D เพื่อ การพัฒนาซอฟต์แวร์เกมส์
- ศึกษาและพัฒนา Hand - Written OCR 
- โปรแกรม ต่อให้เพิ่ม เติมให้เต็ม 
- โปรแกรม เกมผู้รอดชีวิต 
- เกมอักษรเขาวงกต 
- เกมหมากฮอส 
- เกมมวยไทย 
- เกมอักษรไขว้ 
- เกมศึกรามเกียรติ์ 
- เกมบวกเลขแสนสนุก
ที่มา : 
http://kruoong.blogspot.com/2011/07/blog-post_25.html 
http://www.vcharkarn.com/project/search 
http://krudenthanawat.wordpress.com 
http://www.hkcgart.com

More Related Content

What's hot

ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
Mon Tanawat
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
Preeyanut Atikakheereepong
 
ออกแบบและพัฒนาโครงงาน บทที่ 2
ออกแบบและพัฒนาโครงงาน บทที่ 2ออกแบบและพัฒนาโครงงาน บทที่ 2
ออกแบบและพัฒนาโครงงาน บทที่ 2
บุ๊กบิ๊ก หุหุหุ
 
Academic article
Academic articleAcademic article
Academic article
Sriprapai Inchaithep
 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานAksonsat Roungsan
 
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานMoo Mild
 

What's hot (10)

ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
 
ออกแบบและพัฒนาโครงงาน บทที่ 2
ออกแบบและพัฒนาโครงงาน บทที่ 2ออกแบบและพัฒนาโครงงาน บทที่ 2
ออกแบบและพัฒนาโครงงาน บทที่ 2
 
Academic article
Academic articleAcademic article
Academic article
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
 
งานนำเสนอรูปแบบวิจัย
งานนำเสนอรูปแบบวิจัยงานนำเสนอรูปแบบวิจัย
งานนำเสนอรูปแบบวิจัย
 
K6
K6K6
K6
 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 

Similar to ใบงานที่ 2-8

ใบงานที่ 6 แก้
ใบงานที่ 6 แก้ใบงานที่ 6 แก้
ใบงานที่ 6 แก้pompameiei
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6bbeammaebb
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPatchara Pussadee
 
ใบงาน 6
ใบงาน 6ใบงาน 6
ใบงาน 6
Wirawit PreeRa
 
ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7 ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7
saiy_spp
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์kornvipa
 
ใบงานที่ 6 โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
ใบงานที่ 6 โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีใบงานที่ 6 โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
ใบงานที่ 6 โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีkwangslideshare
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6naaikawaii
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6Pimnutchaya
 
งานคอมมมมมม...
งานคอมมมมมม...งานคอมมมมมม...
งานคอมมมมมม...Lupin F'n
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่ 6  เรื่อง โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎีใบงานที่ 6  เรื่อง โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎีmansupotyrc
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
Intangible Mz
 
ประเภทของโครงงานคอมพ วเตอร_
 ประเภทของโครงงานคอมพ วเตอร_ ประเภทของโครงงานคอมพ วเตอร_
ประเภทของโครงงานคอมพ วเตอร_june41
 

Similar to ใบงานที่ 2-8 (20)

โครงงานคอม ใบท 6
โครงงานคอม ใบท  6โครงงานคอม ใบท  6
โครงงานคอม ใบท 6
 
ใบงานที่ 6 แก้
ใบงานที่ 6 แก้ใบงานที่ 6 แก้
ใบงานที่ 6 แก้
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ใบงาน 6
ใบงาน 6ใบงาน 6
ใบงาน 6
 
ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7 ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 6 โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
ใบงานที่ 6 โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีใบงานที่ 6 โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
ใบงานที่ 6 โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
03
0303
03
 
งานคอมมมมมม...
งานคอมมมมมม...งานคอมมมมมม...
งานคอมมมมมม...
 
K6222
K6222K6222
K6222
 
03
0303
03
 
03
0303
03
 
03
0303
03
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่ 6  เรื่อง โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎีใบงานที่ 6  เรื่อง โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎี
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
ประเภทของโครงงานคอมพ วเตอร_
 ประเภทของโครงงานคอมพ วเตอร_ ประเภทของโครงงานคอมพ วเตอร_
ประเภทของโครงงานคอมพ วเตอร_
 

More from nay220

โครงงานคอมพิวเตอร์พยาธิใบไม้ในตับ100%
โครงงานคอมพิวเตอร์พยาธิใบไม้ในตับ100%โครงงานคอมพิวเตอร์พยาธิใบไม้ในตับ100%
โครงงานคอมพิวเตอร์พยาธิใบไม้ในตับ100%
nay220
 
Cycle of parasites in liver
Cycle of parasites in liverCycle of parasites in liver
Cycle of parasites in liver
nay220
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ วงจรชีวิตพยาธฺใบไม้ในตับ
โครงงานคอมพิวเตอร์ วงจรชีวิตพยาธฺใบไม้ในตับโครงงานคอมพิวเตอร์ วงจรชีวิตพยาธฺใบไม้ในตับ
โครงงานคอมพิวเตอร์ วงจรชีวิตพยาธฺใบไม้ในตับ
nay220
 
วงจรชีวิตพยาธิใบไม้ในตับ
วงจรชีวิตพยาธิใบไม้ในตับวงจรชีวิตพยาธิใบไม้ในตับ
วงจรชีวิตพยาธิใบไม้ในตับ
nay220
 
โครงงานที่8
โครงงานที่8โครงงานที่8
โครงงานที่8
nay220
 
โครงงานที่7
โครงงานที่7โครงงานที่7
โครงงานที่7
nay220
 
โครงงานที่5
โครงงานที่5โครงงานที่5
โครงงานที่5
nay220
 
O-NET'52วิทยาศาสตร์
O-NET'52วิทยาศาสตร์O-NET'52วิทยาศาสตร์
O-NET'52วิทยาศาสตร์nay220
 
O-NET'52คณิตศาสตร์
O-NET'52คณิตศาสตร์O-NET'52คณิตศาสตร์
O-NET'52คณิตศาสตร์nay220
 
O-NET'52ภาษาอังกฤษ
O-NET'52ภาษาอังกฤษO-NET'52ภาษาอังกฤษ
O-NET'52ภาษาอังกฤษ
nay220
 
O-NET'52ภาษาไทย
O-NET'52ภาษาไทยO-NET'52ภาษาไทย
O-NET'52ภาษาไทยnay220
 
O-NET'52 สังคมศึกษา
O-NET'52 สังคมศึกษาO-NET'52 สังคมศึกษา
O-NET'52 สังคมศึกษาnay220
 
ความรู้เรื่องบล็อค
ความรู้เรื่องบล็อคความรู้เรื่องบล็อค
ความรู้เรื่องบล็อคnay220
 

More from nay220 (13)

โครงงานคอมพิวเตอร์พยาธิใบไม้ในตับ100%
โครงงานคอมพิวเตอร์พยาธิใบไม้ในตับ100%โครงงานคอมพิวเตอร์พยาธิใบไม้ในตับ100%
โครงงานคอมพิวเตอร์พยาธิใบไม้ในตับ100%
 
Cycle of parasites in liver
Cycle of parasites in liverCycle of parasites in liver
Cycle of parasites in liver
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ วงจรชีวิตพยาธฺใบไม้ในตับ
โครงงานคอมพิวเตอร์ วงจรชีวิตพยาธฺใบไม้ในตับโครงงานคอมพิวเตอร์ วงจรชีวิตพยาธฺใบไม้ในตับ
โครงงานคอมพิวเตอร์ วงจรชีวิตพยาธฺใบไม้ในตับ
 
วงจรชีวิตพยาธิใบไม้ในตับ
วงจรชีวิตพยาธิใบไม้ในตับวงจรชีวิตพยาธิใบไม้ในตับ
วงจรชีวิตพยาธิใบไม้ในตับ
 
โครงงานที่8
โครงงานที่8โครงงานที่8
โครงงานที่8
 
โครงงานที่7
โครงงานที่7โครงงานที่7
โครงงานที่7
 
โครงงานที่5
โครงงานที่5โครงงานที่5
โครงงานที่5
 
O-NET'52วิทยาศาสตร์
O-NET'52วิทยาศาสตร์O-NET'52วิทยาศาสตร์
O-NET'52วิทยาศาสตร์
 
O-NET'52คณิตศาสตร์
O-NET'52คณิตศาสตร์O-NET'52คณิตศาสตร์
O-NET'52คณิตศาสตร์
 
O-NET'52ภาษาอังกฤษ
O-NET'52ภาษาอังกฤษO-NET'52ภาษาอังกฤษ
O-NET'52ภาษาอังกฤษ
 
O-NET'52ภาษาไทย
O-NET'52ภาษาไทยO-NET'52ภาษาไทย
O-NET'52ภาษาไทย
 
O-NET'52 สังคมศึกษา
O-NET'52 สังคมศึกษาO-NET'52 สังคมศึกษา
O-NET'52 สังคมศึกษา
 
ความรู้เรื่องบล็อค
ความรู้เรื่องบล็อคความรู้เรื่องบล็อค
ความรู้เรื่องบล็อค
 

ใบงานที่ 2-8

  • 1.
  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14. ใบงานที่ 6 โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลองการทดลองของสาขาต่างๆ ซึ่งเป็นงานที่ไม่ สามารถทดลองด้วยสถานการณ์จริงได้ เช่น การจุดระเบิด เป็นต้น และเป็นโครงงานที่ผู้ทาต้อง ศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริง และแนวคิดต่างๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการศึกษา แล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสูตร สมการ หรือคาอธิบาย พร้อมทั้งารจาลองทฤษฏีด้วยคอมพิวเตอร์ให้ออกมาเป็นภาพ ภาพที่ได้ก็จะเปลี่ยนไปตามสูตร หรือสมการนั้น ซึ่งจะทาให้ผู้เรียนมีความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น การทาโครงงานประเภทนี้มีจุดสาคัญ อยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่างโครงงานจาลองทฤษฎี เช่น การทดลอง เรื่องการไหลของของเหลว การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาปิรันย่า และการทดลองเรื่องการ มองเห็นวัตถุแบบสามมิติ เป็นต้น ขั้นตอนการทาโครงงาน การทาโครงงานมีขั้นตอนการปฏิบัติ ดังนี้ ๒.๑ การคิดและการเลือกหัวเรื่อง ผู้เรียนจะต้องคิด และเลือกหัวเรื่องของโครงงานด้วย ตนเองว่าอยากจะศึกษาอะไร ทาไมจึงอยากศึกษา หัวเรื่องของโครงงานมักจะได้มาจากปัญหา คาถามหรือความอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ของผู้เรียนเอง หัวเรื่องของโครงงานควร เฉพาะเจาะจงและชัดเจน เมื่อใครได้อ่านชื่อเรื่องแล้วควรเข้าใจและรู้เรื่องว่าโครงงานนี้ทาจาก อะไร การกาหนดหัวเรื่องของโครงงานนั้นมีแหล่งที่จะช่วยกระตุ้นให้เกิดความคิดและความสนใจ หลายแหล่งด้วยกัน เช่น จากการอ่านหนังสือ เอกสาร บทความ การเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ การ ฟังบรรยายทางวิชาการ การเข้าชมนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานทางวิทยาศาสตร์ การ สนทนากับบุคคลต่างๆ หรือจาการสังเกตปรากฏการณ์ต่างๆ รอบตัว เป็นต้น นอกจากนี้ ควร คานึงถึงประเด็นต่อไปนี้
  • 15. - ความเหมาะสมของระดับความรู้ ความสามารถของผู้เรียน - วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ - งบประมาณ - ระยะเวลา - ความปลอดภัย - แหล่งความรู้ ๒.๒ การวางแผน การวางแผนการทาโครงงาน จะรวมถึงการเขียนเค้าโครงของโครงงาน ซึ่งต้องมีการ วางแผนไว้ล่วงหน้า เพื่อให้การดาเนินการเป็นไปอย่างรัดกุมและรอบคอบ ไม่สับสน แล้วนาเสนอ ต่อผู้สอนหรือครูที่ปรึกษาเพื่อขอความเห็นชอบก่อนดาเนินการขั้นต่อไป การเขียนเค้าโครงของ โครงงาน โดยทั่วไป เขียนเพื่อแสดงแนวคิด แผนงาน และขั้นตอนการทาโครงงาน ซึ่งควร ประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้ ๑) ชื่อโครงงาน ควรเป็นข้อความที่กะทัดรัด ชัดเจน สื่อความหมายได้ตรง ๒) ชื่อผู้ทาโครงงาน ๓) ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน ๔) หลักการและเหตุผลของโครงงาน เป็นการอธิบายว่าเหตุใดจึงเลือกทาโครงงาน เรื่องนี้ มีความสาคัญอย่างไร มีหลักการหรือทฤษฎีอะไรที่เกี่ยวข้อง เรื่องที่ทาเป็นเรื่องใหม่หรือ มีผู้อื่นได้ศึกษาค้นคว้าเรื่องนี้ไว้บ้างแล้ว ถ้ามีได้ผลอย่างไร เรื่องที่ทาได้ขยายเพิ่มเติม ปรับปรุง จากเรื่องที่ผู้อื่นทาไว้อย่างไร หรือเป็นการทาซ้าเพื่อตรวจสอบผล ๕) จุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ควรมีความเฉพาะเจาะจง และสามารถวัดได้ เป็นการ บอกขอบเขตของงานที่จะทาได้ชัดเจนขึ้น ๖) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี) สมมติฐานเป็นคาตอบหรือคาอธิบายที่คาด ไว้ล่วงหน้า ซึ่งอาจจะถูกหรือไม่ก็ได้ การเขียนสมมติฐานควรมีเหตุมีผลมีทฤษฎีหรือหลักการ รองรับ และที่สาคัญ คือ เป็นข้อความที่มองเห็นแนวทางในการดาเนินการทดสอบได้ นอกจากนี้ ควรมีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตามด้วย
  • 16. ๗) วิธีดาเนินงานและขั้นตอนการดาเนินงาน จะต้องอธิบายว่า จะออกแบบการทดลอง อะไรอย่างไร จะเก็บข้อมูลอะไรบ้างรวมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็นต้องใช้ มีอะไรบ้าง ๘) แผนปฏิบัติงาน อธิบายเกี่ยวกับกาหนดเวลาตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้นการดาเนินงาน ในแต่ละขั้นตอน ๙) ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑๐) เอกสารอ้างอิง ๒.๓ การดาเนินงาน เมื่อที่ปรึกษาโครงงานให้ความเห็นชอบเค้าโครงของโครงงานแล้ว ต่อไปก็เป็นขั้นลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ระบุไว้ ผู้เรียนต้องพยายามทาตามแผนงานที่วางไว้ เตรียมวัสดุอุปกรณ์และสถานที่ให้พร้อมปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ คานึงถึงความ ประหยัดและปลอดภัยในการทางาน ตลอดจนการบันทึกข้อมูลต่างๆ ว่าได้ทาอะไรไปบ้าง ได้ผล อย่างไร มีปัญหาและข้อคิดเห็นอย่างไร พยายามบันทึกให้เป็นระเบียบและครบถ้วน ๒.๔ การเขียนรายงาน การเขียนรายงานเกี่ยวกับโครงงาน เป็นวิธีสื่อความหมายวิธีหนึ่งที่จะให้ผู้อื่นได้เข้าใจ ถึงแนวคิด วิธีการดาเนินงาน ผลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ ที่เกี่ยวกับโครงงาน นั้น การเขียนโครงงานควรใช้ภาษาที่อ่านแล้วเข้าใจง่าย ชัดเจนและครอบคลุมประเด็นสาคัญๆ ทั้งหมดของโครงงาน
  • 17. ๒.๕ การนาเสนอผลงาน การนาเสนอผลงาน เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทาโครงงานและเข้าใจถึงผลงานนั้น การนาเสนอผลงานอาจทาได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมต่อประเภทของโครงงาน เนื้อหา เวลา ระดับของผู้เรียน เช่น การแสดงบทบาทสมมติ การเล่าเรื่อง การเขียนรายงาน สถานการณ์จาลอง การสาธิต การจัดนิทรรศการ ซึ่งอาจมีทั้งการจัดแสดงและการอธิบายด้วย คาพูด หรือการรายงานปากเปล่า การบรรยาย สิ่งสาคัญคือ พยายามทาให้การแสดงผลงานนั้น ดึงดูดความสนใจของผู้ชม มีความชัดเจน เข้าใจง่าย และมีความถูกต้องของเนื้อหา ๓. การเขียนรายงานโครงงาน การเขียนรายงานโครงงานเป็นรูปแบบหนึ่งของการนาเสนอผลงานของโครงงานที่ ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าตั้งแต่ต้นจนจบ การกาหนดหัวข้อในการเขียนรายงานโครงงานอาจไม่ระบุ ตายตัวเหมือนกันทุกโครงงาน ส่วนประกอบของหัวข้อในรายงานต้องเหมาะสมกับประเภทของ โครงงานและระดับชั้นของผู้เรียน องค์ประกอบของการเขียนรายงานโครงงาน แบ่งกว้างๆ เป็น ๓ ส่วน ดังนี้ ๑. ส่วนปกและส่วนต้น ส่วนปกและส่วนต้น ประกอบด้วย ๑) ชื่อโครงงาน ๒) ชื่อผู้ทาโครงงาน ชั้น โรงเรียน และวันเดือนปีที่จัดทา ๓) ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ๔) คานา ๕) สารบัญ ๖) สารบัญตาราง หรือภาพประกอบ (ถ้ามี) ๗) บทคัดย่อสั้นๆ ที่บอกเค้าโครงอย่างย่อๆ ซึ่งประกอบด้วย เรื่อง วัตถุประสงค์ วิธี การศึกษา ระยะเวลา และ
  • 18. สรุปผล ๘) กิตติกรรมประกาศ เพื่อแสดงความขอบคุณบุคคล หรือหน่วยงานที่ให้ความ ช่วยเหลือหรือมีส่วนเกี่ยวข้อง ๒. ส่วนเนื้อเรื่อง ส่วนเนื้อเรื่อง ประกอบด้วย ๑) บทนา บอกความเป็นมา ความสาคัญของโครงงาน บอกเหตุผล หรือเหตุจูงใจใน การเลือกหัวข้อโครงงาน ๒) วัตถุประสงค์ของโครงงาน ๓) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า ๔) การดาเนินงาน อาจเขียนเป็นตาราง แผนผังโครงงานเพื่อให้การดาเนินงานเป็นไป ตามหัวข้อเรื่อง ตรงตามวัตถุประสงค์ของโครงงาน และพิสูจน์คาตอบ (สมมติฐาน) ตามประเด็นที่ กาหนด ดังตัวอย่างการเขียนแผนผังโครงงานต่อไปนี้ ในแผนผังโครงงานทาให้เห็นระบบการทางานอย่างมีเป้าหมาย มีการวางแผนการ ทางาน จะเห็นได้ว่าสิ่งที่ต้องการทราบ คือ หัวข้อย่อย หรือคาถามย่อยของหัวข้อโครงงาน ถ้ามี มาก ๑ ข้อ ก็จะเรียงลาดับทีละหัวข้อ พร้อมทั้งบอกสมมติฐาน วิธีศึกษา และแหล่งศึกษาค้นคว้า ตามแผนผังให้ครบทุกข้อ สิ่งที่ต้องการทราบ สมมติฐาน วิธีการศึกษา แหล่งศึกษา/แหล่งข้อมูล หัวข้อย่อยจากหัวข้อเรื่องของโครงงานที่ต้องการหาคาตอบ การตอบคาถามล่วงหน้า ค้นคว้า สอบถาม สัมภาษณ์ สังเกต ศึกษาโดยการดู-ฟัง จากสื่อชนิดต่างๆ - เอกสาร หนังสือ - สถานที่ บุคคล ๕) สรุปผลการศึกษา เป็นการอธิบายคาตอบที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า ตามหัวข้อ ย่อยที่ต้องการทราบ ว่าเป็นไปตามสมมติฐานหรือไม่ ๖) อภิปรายผล บอกประโยชน์ หรือคุณค่าของผลงานที่ได้ และบอกข้อจากัดหรือ ปัญหา อุปสรรค (ถ้ามี) พร้อมทั้งบอกข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้า โครงงานลักษณะ ใกล้เคียงกัน
  • 19. ๓. ส่วนท้าย ส่วนท้าย ประกอบด้วย ๑) บรรณานุกรม หรือ เอกสารอ้างอิง หรือเอกสารที่ใช้ค้นคว้า ซึ่งมีหลายประเภท เช่น หนังสือ ตารา บทความ หรือคอลัมน์ ซึ่งจะมีวิธีการเขียนบรรณานุกรมต่างกัน เช่น หนังสือ ชื่อ นามสกุล. ชื่อหนังสือ. สถานที่พิมพ์ : สานักพิมพ์, ปีที่พิมพ์ บทความในวารสาร ชื่อผู้เขียน "ชื่อบทความ," ชื่อวารสาร. ปีที่หรือเล่มที่ : หน้า ;วัน เดือน ปี. คอลัมน์จากหนังสือพิมพ์ ์ชื่อผู้เขียน "ชื่อคอลัมน์ : ชื่อเรื่องในคอลัมน์" ชื่อหนังสือพิมพ์.วัน เดือน ปี. หน้า. ๒) ภาคผนวก เช่น โครงร่างโครงงาน ภาพกิจกรรม แบบสอบถาม บทสัมภาษณ์ ในการทาโครงงานประเภททดลอง ต้องมีการจัดการกับตัวแปรที่จะมีผลต่อการทดลอง ซึ่งจะ มี 4 ชนิด คือ • ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ หมายถึง เหตุของการทดลองนั้นๆ • ตัวแปรตาม ซึ่งจะเป็นผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงตัวแปรต้น • ตัวแปรควบคุม หมายถึง สิ่งที่ต้องควบคุมให้เหมือนๆกัน มิฉะนั้นจะมีผลทาให้ตัวแปรตาม เปลี่ยนไป • ตัวแปรแทรกซ้อน ซึ่งจริงๆแล้วก็คือ ตัวแปรควบคุมนั่นเอง แต่บางครั้งเราจะควบคุมไม่ได้ ซึ่งจะ มีผลแทรกซ้อน ทาให้ผลการทดลองผิดไป แต่แก้ไขได้โดยการตัดข้อมูลที่ผิดพลาดทิ้งไป ตัวอย่างเช่น นักเรียนต้องการศึกษาว่า กระดาษชนิดใดสามารถพับเครื่องร่อน และปาได้ไกลที่สุด
  • 20. ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ คือ ชนิดของกระดาษ ตัวแปรตาม คือ ระยะทางที่กระดาษเคลื่อนที่ได้ ตัวแปรควบคุม คือ แรงที่ใช้ปากระดาษ ความสูงของระยะที่ใช้ปา ตัวแปรแทรกซ้อน เช่น บางครั้งขณะปามีลมพัดเข้ามา ซึ่งจะทาให้ข้อมูลผิดพลาดได้ โครงงานประเภทการทดลอง เหมาะสาหรับนักเรียนที่ศึกษาในรายวิชาวิทยาศาสตร์ เช่น ครู ต้องการสอนให้นักเรียนทราบว่า ในพืชชนิดใดมีวิตามินซีมากหรือน้อยอย่างไร แทนที่ครูจะบอก ความรู้แก่นักเรียน ครูก็จะสอนโดยให้นักเรียนทาเป็นโครงงาน โดยให้สารวจปริมาณวิตามินซี ในพืชผักผลไม้ท้องถิ่น เป็นต้น วิชาการงานพื้นฐานอาชีพ นักเรียนอาจทาโครงงานเกี่ยวกับการเพาะเห็ดฟางโดยศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างวัสดุที่ใช้เพาะเห็ดว่าวัสดุชนิดใดเพาะเห็ดได้ดีที่สุด
  • 21. ตัวแปรต้น คือ วัสดุที่ใช้เพาะเห็ดฟาง ตัวแปรตาม คือ ปริมาณเห็ดที่ได้ จะทาให้นักเรียนได้ทราบว่าวัสดุในท้องถิ่นของนักเรียนชนิดใดเพาะเห็ดได้ดีที่สุด วิชาภาษาไทย ครูอาจให้นักเรียนทาโครงงานเกี่ยวกับวิธีการอ่าน โดยศึกษาเปรียบเทียบการ อ่านออกเสียงว่าวิธีใดจะสามารถทาให้ผู้อ่านจาได้ดีกว่ากัน โดยมี ตัวแปรต้น คือ การอ่านในใจและการอ่านออกเสียง ตัวแปรตาม คือ ความจาของนักเรียน นักเรียนจะได้ทราบวิธีการอ่านและทราบอื่นๆ อีกมาก
  • 22.
  • 23. ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน” โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน เป็นโครงงานประยุกต์ใช้งาน เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ใน การ สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงในชีวิตประจาวัน อาทิเช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่ง ภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี และซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภทนี้ จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่ หรือ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้นๆ ต่อจากนั้นต้องมีการ ทดสอบการทางานหรือทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับ ปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้ ผู้เรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สรุปความหมายของโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน เป็นโครงงานที่สร้าขึ้นมาเพื่อให้สามารถนาไปประยุกต์ใน ชีวิตประจาวัน ซึ่งโครงงานประเภทนี้อาจจะเป็นงานที่คิดค้นขึ้นมาใหม่ หรือจะเป็นการนาเอางานเดอมที่มีมาอยู่ แล้วมาปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้นก็ได้ ทั้งนี้ทั้งนั้น โครงงานลักษณะนี้จาเป็นจะต้องมี การศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ ก่อนจะนาข้อมูลต่างๆมาออกแบบหรือมาพัฒนา และต้องมีนามา ทางานจริงเพื่อทดสอบประสิทธิภาพของชิ้นงาน หากมีข้อบกพร่องก็ควรนาไปแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้ผู้เรียนจาต้องมีความรู้ความสามารถในด้านของคอมพิวเตอร์ ด้านภาษาโปรแกรมและเครื่องมือ ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางานทั้งหมด
  • 24. ตัวอย่างของโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 1. โปรแกรม สารบรรณสาเร็จรูป : Readymade Archivis 2. โปรแกรมระบบฐานข้อมูลทางการแพทย์เบื้องต้น 3. โปรแกรมระบบแฟ้มฐานข้อมูลผู้เรียน 2001 4. เครื่องรดน้าต้นไม้และให้อาหารปลาผ่านโทรศัพท์มือถือ 5. เครื่องให้อาหารไก่ไข่อัตโนมัติ 6. ระบบบริหารจัดการข้อมูลผู้เรียนของโรงเรียน 7. ระบบจัดการข้อมูลการเงินส่วนบุคคล 8. ระบบจองตั๋วรถไฟบนอินเทอร์เน็ต 9. ระบบแนะนาเส้นทางเดินรถประจาทาง
  • 25. 10. โปรแกรมสังเคราะห์เสียงสาหรับคนตาบอดบนรถประจาทาง 11. โปรแกรมออกและตรวจข้อสอบ 12. โฮมเพจส่วนบุคคล  ที่มา : http://www.thaigoodview.com/node/17030?page=0%2C7 http://www.slideshare.net/Zikkapoo/ss-13963683 http://www.vcharkarn.com/project/view/689 https://sites.google.com/site/walaipornskb/khorng-ngan-khxmphiwtexr 
  • 26. ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์” โครงงานพัฒนาเกม โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้หรือ เพื่อความ เพลิดเพลิน เกมทีพัฒนาควรจะเป็นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมี หลักการ โครงงานประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจแก่ผู้ เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวมข้อมูล เกี่ยวกับเกมต่างๆ ที่มีอยู่ทั่วไป และนามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่ เพื่อให้เป็นเกมที่แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่างๆ ในปัจจุบันเกมคอมพิวเตอร์ ได้เข้ามามีบทบาทต่อเยาวชนเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้นโครงงาน พัฒนาเกม จึงเป็นอีกโครงงานที่จะส่งเสริมการสร้างเกมจากจินตนาการของนักเรียน ซึ่งจะทา ให้ได้เกมสีขาวที่ไม่มีพิษภัยต่อผู้เล่น หรือเป็นการสร้างเกมในเชิงสร้างสรรค์ โดยใช้ตัวละคร ตามวรรณคดีเป็นผู้เล่น เช่น เกมผจญภัยทะลุมิติ แต่ตัวละครในเกมจะใช้เป็นหนุมาน พระ ลักษมณ์ พระราม นางสีดา และ ทศกัณฐ์ ซึ่งเป็นตัวละครในเรื่อง รามเกียรติ์ เป็นการ ผสมผสานความรู้ด้าน วรรณคดีได้เป็นอย่าง ดี และทาให้ผู้เล่น เกมมีความเข้าใจ สามารถจาลักษณะ ของตัวละคร เหล่านั้นได้ กฎกติการการเล่นเกมผู้พัฒนา โครงงานสามารถกาหนดขั้นมาได้เองตาม ความเหมาะสมหรือพัฒนาเกมประเภทฝึก สมอง ประลองปัญญา เช่น เกมจับคู่ เกมทายคาศัพท์ ภาษาอังกฤษ เป็นต้น จึงเป็นอีกรูปแบบของโครงงานประเภท นี้ หรือนาบทเรียนที่ยากต่อการท่องจามาสร้างในลักษณะของ เกมจะช่วยให้ผู้เล่นนอกจากได้รับความบันเทิงแล้ว ยังเป็นการ ท่องจาบทเรียนไปพร้อมกันด้วย
  • 27. ดังนั้นการสร้างสรรค์เกมและสอดแทรกความรู้เข้าไปก็จะมีประโยชน์มากสาหรับผู้เล่นและ ผู้ประดิษฐ์คิดค้น ซึ่งการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์นั้น และนักเรียนจะต้องมีความรู้พื้นฐาน เกี่ยวกับ 1. หลักการทางานของคอมพิวเตอร์ 2. กระบวนการและหลักการในการแก้ปัญหา 3. หลักการเขียนโปรแกรม 4. การแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างโครงงาน - การพัฒนา software เพื่อใช้ในการอ่าน และ simulate การประยุกต์ใช้ hologram กับ บัตร - Shader 3D เพื่อ การพัฒนาซอฟต์แวร์เกมส์
  • 28. - ศึกษาและพัฒนา Hand - Written OCR - โปรแกรม ต่อให้เพิ่ม เติมให้เต็ม - โปรแกรม เกมผู้รอดชีวิต - เกมอักษรเขาวงกต - เกมหมากฮอส - เกมมวยไทย - เกมอักษรไขว้ - เกมศึกรามเกียรติ์ - เกมบวกเลขแสนสนุก
  • 29. ที่มา : http://kruoong.blogspot.com/2011/07/blog-post_25.html http://www.vcharkarn.com/project/search http://krudenthanawat.wordpress.com http://www.hkcgart.com