SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
จัดทำโดย
นักศึกษำ
คอมพิวเตอร์ศึกษำ
ปี 4หมู่ 3
Website
รายชื่อผู้จัดทา
นางสาวชนากานต์ต่อพันธ์ รหัส 533410080308
นางสาวเบญจพร แสงสุวอ รหัส 533410080313
นายศราวุฒิ จันทะมาลา รหัส 533410080344
ปี 4 หมู่ 3
สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
การพัฒนาเว็บไซต์
สิ่งแรกที่นักพัฒนาเว็บควรทาเมื่อเริ่มต้นพัฒนาเว็บไซต์ คือ กาหนดกรอบกระบวนการทางาน
(Framework) ที่แสดงให้เห็นถึงขั้นตอนของการพัฒนาเว็บ และรายละเอียดของงานในแต่ละขั้นตอน ตั้งแต่
เริ่มต้นกระบวนการจนกระทั่งสิ้นสุดกระบวนการ เพื่อให้การพัฒนาเว็บเป็นไปอย่างมีแบบแผน ถึงแม้ว่า
การกาหนดกรอบการทางานจะเป็นขั้นตอนที่มีความยุ่งยากแต่ก็เป็นเครื่องมือสาคัญที่ช่วยให้การพัฒนาเว็บ
สาเร็จลุล่วงตรงตามวัตถุประสงค์ได้ เพราะกรอบการทางานจะช่วยป้ องกันความผิดพลาด และความสับสน
ในระหว่างการพัฒนาเว็บ โดยนักพัฒนาเว็บสามารถย้อนกลับมาตรวจสอบงานตามกรอบการทางานใน
ภายหลังได้กรอบการทางานหรือแบบจาลองกระบวนการ (Process Model) ที่ใช้เพื่อพัฒนาเว็บมีหลาย
รูปแบบ ยกตัวอย่าง เช่น แบบจาลองกระบวนการในรูปแบบ Agile Process (XP, Scrum, DSDM, FDD
และ AM) แบบจาลองลาดับเชิงเส้น (Linear Sequential Model : LSM) เป็นต้น สาหรับในที่นี้จะขอ
แบบจาลองกระบวนการที่พัฒนาขึ้นโดย Jesse James Garrett ซึ่งจาแนกกระบวนการพัฒนาเว็บออกเป็น
5 ขั้นตอน ได้แก่ การสร้างกลยุทธ์ในการออกแบบ (Strategy Plane)
การกาหนดขอบเขตของข้อมูล (Scope Plane) การทาโครงสร้างข้อมูล (Structrue Plane) การ
ออกแบบโครงร่างเว็บเพจ (Skeleton Plane) และการออกแบบรูปลักษณ์ของเว็บเพจ (Surface Plane)
การสร้างกลยุทธ์ในการออกแบบ (Strategy Plane) เป็นขั้นตอนการวิเคราะห์ปัจจัยหลัก 3 ประการ คือ
ผู้ใช้ องค์กร และคู่แข่ง เพื่อทราบเป้ าหมายหรือแนวทางในการพัฒนาเว็บไซต์ โดยปัจจัยทั้ง 3 ประการ
มีรายละเอียดดังนี้
- ผู้ใช้ (User) เป็นการวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ โดยการศึกษาหรือทาการสารวจจากผู้ใช้ที่
เป็นกลุ่มเป้ าหมายเพื่อตอบคาถามว่า เมื่อผู้ใช้เข้ามายังหน้าเว็บแล้ว ต้องการได้รับข้อมูลใดกลับไปบ้าง มี
ฟังก์ชันหรือการใช้งานรูปแบบใดบนเว็บไซต์ที่ผู้ใช้ต้องการ และปัญหาหรือข้อบกพร่องที่เกิดจากการใช้
งานเว็บที่ได้พบ
- องค์กร (Organization) เป็นการวิเคราะห์เป้ าหมายทางธุรกิจ (Business Goal) ทั้งในส่วน
เงินทุน บุคลากร และความเป็นไปได้ที่จะพัฒนาเว็บไซต์ขึ้นมาเพื่อใช้งาน รวมทั้งการเก็บรวบรวมข้อมูล
ขององค์กรที่จาเป็นต่อการออกแบบหน้าเว็บ เช่น โลโก้ (Logo) แบนเนอร์ (Banner) หรือการโฆษณา
ประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ เหล่านี้จะช่วยให้ผู้ใช้จดจาเว็บไซต์ได้ง่ายขึ้น
- คู่แข่ง (Competitor) เป็นการประเมินขอบเขตข้อมูล รูปแบบนาเสนอ และเป้าหมายทางการค้า
ของบริษัทคู่แข่ง เพื่อพิจารณาจุดอ่อนและจุดแข็งของการออกแบบเว็บ แล้วนามาประยุกต์ใช้ในการพัฒนา
เว็บของบริษัทต่อไป
การกาหนดขอบเขตของข้อมูล (Scope Plane) เป็นการสรุปขอบเขตของข้อมูลที่ควรมีบนหน้าเว็บให้
ชัดเจนขึ้น เนื่องจากผู้ออกแบบบางคนอาจมีเทคนิคนาเสนอข้อมูลที่ชื่นชอบ หรือมีแนวทางพัฒนาเว็บหลาย
วิธีจนทาให้เกิดความสับสนขั้นตอนนี้จึงเป็นการสรุปแนวทางพัฒนาเว็บ โดยพิจารณาขอบเขตข้อมูลให้
สอดคล้องกับเป้ าหมายที่ได้จากการวิเคราะห์ ปัจจัย 3 ประการในขั้นตอนแรก สามารถจาแนกข้อมูลบน
เว็บไซต์ออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
- เนื้อหา (Content Requirements) เป็นข้อมูลทั่วไปที่นาเสนอให้กับผู้ใช้งาน เช่น ข้อความ
บรรยาย รูปภาพ หรือ เสียงเพลง เป็นต้น
- การใช้งาน (Functional Specfications) เป็นระบบการทางานหรือการใช้งานบนหน้าเว็บ ซึ่ง
มักจะเป็นงานที่ต้องมีการปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกับผู้ใช้ เข่น การับส่ง E-mail การประมวลผลค่าข้อมูลของ
แบบฟอร์ม โปรแกรมสนทนาระหว่างผู้ใช้ เป็นต้น
การจัดทาโครงการสร้างข้อมูล (Structrue Plane) ภายหลังจากที่ได้กาหนดขอบเขตข้อมูลแล้ว ก็เริ่มต้น
กาหนดความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาและหน้าที่งานบนเว็บไซต์โดยขั้นตอนนี้ประกอบด้วยงาน 2 ลักษณะ
ดังนี้
- การออกแบบส่วนปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ (Interaction Design) เป็นการออกแบบหน้าเว็บสาหรับงาน
ที่มีลักษณะโต้ตอบกับผู้ใช้ เช่น การสั่งซื้อสินค้า การกรอกแบบฟอร์ม และการรับส่ง E-mail เป็นต้น
สถาปัตยกรรมข้อมูล (Information Architecture) เป็นการกาหนดโครงสร้างของเนื้อหาทั้งหมดที่จะ
นาเสนอบนเว็บไซต์ โดยเชื่อมโยงเว็บเพจแต่ละส่วนไว้ด้วยกันตามความสัมพันธ์ของระบบงาน เพื่อให้
ข้อมูลเคลื่อนที่อย่างเป็นระบบจนผู้ใช้งานไม่รู้สึกสะดุดหรือข้ามขั้นตอนเมื่อเรียกใช้หน้าเว็บนั้น
โครงสร้างการนาเสนอเนื้อหาของเว็บมี 4 ชนิดได้แก่ Linear Structrue, Hierarchical Structure, Grid
Structure และ Network Structure
1. โครงสร้างเชิงเส้น (Linear Structrue) เป็นโครงสร้างเนื้อหาที่จัดเรียงลาดับหน้าเว็บเพื่อเข้าถึง
ข้อมูลไว้ตายตัวโดยผู้ใช้จะต้องเข้าถึงหน้าเว็บในแนวเส้นตรง กล่าวคือ เข้าถึงหน้าเว็บทีละหน้าตามลาดับ
ขั้นตอนไปจนถึงหน้าเว็บปลายทางที่ต้องการ ข้อดีของการจัดวางโครงสร้างเนื้อหาลักษณะนี้ คือ การ
ออกแบบไม่ยุ่งยากและข้อมูลเป็นระเบียบ แต่ข้อเสีย คือ ต้องใช้เวลามากกว่าจะเข้าถึงหน้าเว็บที่ต้องการได้
เพราะต้องผ่านหน้าเว็บที่ไม่จาเป็นหลายขั้นตอน
2. โครงสร้างแบบลาดับขั้น (Hierarchical Structure) เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “โครงสร้างต้นไม้(Tree
Structure) ” เป็นโครงสร้างที่นิยมใช้งาน โดยจัดลาดับการเข้าถึงข้อมูลตามความสัมพันธ์จากหัวข้อใหญ่
ไปจนถึงหัวข้อย่อยแตกออกไป ข้อดีของการจัดวางโครงสร้างเนื้อหาลักษณะนี้ คือ ข้อมูลถูกจัดวางอย่าง
เป็นระบบ ทาให้มองความสัมพันธ์ของข้อมูลแต่ละส่วนได้เป็นอย่างดี ข้อเสีย คือ การออกแบบมีความ
ซับซ้อนเพิ่มขึ้น และต้องการออกแบบให้โครงสร้างต้นไม้มีความสมดุล
3. โครงสร้างแบบตาราง (Grid Structure) เป็นโครงสร้างเนื้อหาที่เพิ่มเส้นทางการเชื่อมโยงข้อมูล
มากขึ้น เพื่อให้การเข้าถึงเว็บเพจมีความยืดหยุ่น กล่าวคือ ผู้ใช้สามารถเปลี่ยนทิศทางการเข้าถึงผ่านข้อมูล
ทางหน้าเว็บอื่นๆได้ จึงนับเป็นข้อดีประการสาคัญของโครงสร้างลักษณะนี้ แต่ข้อเสีย คือ การออกแบบมี
ความซับซ้อนสูง และต้องระวังผู้ใช้หลงเส้นทางการเชื่อมโยงด้วย
4. โครงสร้างเครือข่าย (Network Structure) เป็นโครงสร้างเนื้อหาที่มีความยืดหยุ่นในการเข้าถึง
ข้อมูลมากที่สุดเพราะทุกเว็บเพจถูกเชื่อมโยงไว้ด้วยกัน ดังนั้นผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลผ่านทางหน้าเว็บใดๆ
ไปยังหน้าเว็บปลายทางที่ต้องการได้ ข้อดีของการจัดวางโครงสร้างเนื้อหาลักษณะนี้ จึงเป็นความยืดหยุ่นที่
ผู้ออกแบบกาหนดให้กับผู้ใช้งาน แต่ข้อเสีย คือ การออกแบบมีความซับซ้อนมาก จึงต้องอาศัยความ
เชี่ยวชาญของผู้ออกแบบสูง
กระบวนการพัฒนาเว็บไซต์
กระบวนการในการสร้างและออกแบบเว็บมีกระบวนการพื้นฐานอยู่ด้วยกัน 5 ขั้นตอนคือ
1. การวางแผน (Planning) เป็นขั้นตอนที่ผู้สร้างเว็บจะต้องรวบรวมข้อมูลที่ต้องการจะนา
มาสร้างเว็บ กาหนดวัตถุประสงค์และกลุ่มเป้ าหมาย จากนั้นกาหนดขอบเขตและความต้องการของเว็บว่า
จะต้องมีอะไรบ้าง เช่น ขนาดของหน้าจอภาพ บราวเซอร์ที่จะใช้ฯลฯ องค์ประกอบและเครื่องมือที่จะต้อง
ใช้ ต้องการมีกระดานข่าว ห้องสนทนา ฯลฯ รวมถึงขั้นตอนและกระบวนการในการบารุงรักษาอย่างเป็น
ระบบ
การวางแผนเบื้องต้นของการสร้างเว็บสาหรับ Dreamweaver คือ
- กาหนดพื้นที่จัดเก็บเว็บในเครื่องคอมพิวเตอร์
- กาหนดพื้นที่ติดตั้งเว็บเมื่อสร้างเสร็จ
2. การออกแบบ (Design) เป็นขั้นตอนที่นาข้อมูลและแผนที่วางไว้ไปปฏิบัติ โดยการลงมือปฏิบัติโดย
จัดพิมพ์เนื้อหา กาหนดการเชื่อมโยง และคุณลักษณะอื่นที่ต้องใช้ในเว็บ การออกแบบก็จะเน้นที่การจัด
หน้าจอของเว็บให้สอดคล้องกันและระมัดระวังปัญหาต่าง ๆ ในการออกแบบ
- การเลือกเนื้อหา เป็นส่วนสาคัญของการเริ่มต้นสร้างเว็บเพจ ผู้เยี่ยมชนแต่ละกลุ่มจะค้นหาข้อมูลที่
แตกต่างกัน เว็บเพจแต่ละหน้าจะสนองตอบต่อผู้ชมไม่เหมือนกัน การเลือกเนื้อหาที่ดีเนื้อหาน่าสนใจและ
ใหม่เสมอจะทาให้ผู้ชมกลับมาเยี่ยมใหม่อีกครั้ง การใส่ข้อมูลปริมาณมากเกินความจาเป็นจะทาให้เว็บเพจดู
หนาแน่น ผู้ชมอึดอัด ไม่ดึงดูดความสนใจ
3. การพัฒนา (Development) เป็นขั้นตอนที่ต่อเนื่องจากการออกแบบและการสร้าง โดย
เน้นไปที่การตกแต่งและเสริมเครื่องมือต่าง ๆ สาหรับเว็บ เช่น การกาหนดสี ภาพ การใช้ Flash ช่วยให้เว็บ
เร้าความสนใจ และเพิ่มเติมเทคนิคต่าง ๆ ของโปรแกรมสนับสนุนการสร้างเว็บ
4. การติดตั้ง (Publishing) เป็นขั้นตอนที่จะนาเอาเว็บที่ได้สร้างขึ้นเข้าไปติดตั้งในเว็บเซอร์เวอร์เพื่อให้แสดง
ผลได้ในระบบอินเทอร์เน็ต หรือจะเรียกว่า การอับโหลด (Up load) ซึ่งเป็นขั้นตอนที่จะต้องดาเนินการอยู่
เสมอเมื่อสร้างเว็บเสร็จ
5. การบารุงรักษา (Maintenance) เป็นขั้นตอนประเมินผลและติดตามผลการติดตั้งเว็บไซต์
ว่ามีข้อขัดข้องหรือต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเว็บเพิ่มเติมให้ทันสมัยอยู่เสมอ อาจจะเรียกได้ว่าขั้นตอนการ
อับเดท (Up date
การประชาสัมพันธ์
(เสนีย์แดงวัง 2525 ; วิจิตร อาวะกุล 2526)
ความหมายของการประชาสัมพันธ์
การประชาสัมพันธ์มักจะถูกเข้าใจสับสนกับการโฆษณา คนจานวนมากมักจะเข้าใจว่าการโฆษณาและ
การประชาสัมพันธ์มีความหมายเหมือนกันจนบางทีเราเรียกการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์เป็น
“การโฆษณาประชาสัมพันธ์” ซึ่งในความเป็นจริงการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์มีความแตกต่างกัน
พอสมควร ดังนี้
การโฆษณา (Advertising) เป็นการกระทาการใดๆ อันเป็นการชักจูงใจต่อกลุ่มเป้ าหมายเฉพาะโดย
มีวัตถุประสงค์เพื่อการจาหน่ายสินค้าหรือบริการ ซึ่งอาศัยสื่อมวลชน (Mass media) ในการส่งผ่านข้อมูล
ข่าวสารซึ่งต้องเสียค่าใช้จ่ายและมิได้เป็นไปในรูปส่วนตัว
การประชาสัมพันธ์ (Public Relation) เป็นการติดต่อสื่อสารจากองค์การไปสู่สาธารณชนที่เกี่ยวข้อง
รวมถึงรับฟังความคิดเห็นและประชามติจากสาธารณชนที่มีต่อองค์การโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความ
เชื่อถือ ภาพลักษณ์ ความรู้ และแก้ไขข้อผิดพลาดในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
ลักษณะของการประชาสัมพันธ์
ลักษณะของการประชาสัมพันธ์มีดังต่อไปนี้
การประชาสัมพันธ์เป็นการสื่อสารสองทาง (Two-way communication) เป็นการสื่อสารจากผู้ส่งไป
ยังผู้รับเกี่ยวกับข่าวสารขององค์การที่ต้องการสื่อสารให้สาธารณชนรับทราบและเข้าใจ และยังเป็น
การสื่อสารย้อนกลับจากผู้รับคือ สาธารณชนไปยังองค์การเกี่ยวกับความคิดเห็นที่เกี่ยวกับองค์การ
การประชาสัมพันธ์อาจมีกลุ่มเป้ าหมายหลายกลุ่ม (Multiple target group) เช่น พนักงาน ลูกค้า ผู้ถือ
หุ้นชุมชน รัฐบาล หรือหน่วยงานต่างๆ เป็นต้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับวัตถุระสงค์ในการประชาสัมพันธ์ว่าต้องการ
ประชาสัมพันธ์ไปยังกลุ่มเป้ าหมายใดบ้าง
การประชาสัมพันธ์เป็นการสื่อสารเพื่อโน้มน้าวใจทั้งนี้การประชาสัมพันธ์ต้องตั้งอยู่บนหลักความ
จริงเพื่อมุ่งให้เกิดความเชื่อถือและปฏิบัติตามด้วยความสมัครใจ
การประชาสัมพันธ์เป็นการดาเนินงานอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ โดยคาดหวังผลต่อเนื่องในระยะ
ยาวเพื่อให้สาธารณชนมีความศรัทธาและมีความไว้เนื้อเชื่อใจต่อองค์การเพื่อให้องค์การสามารถดาเนิน
กิจการอยู่ในระยะยาวได้
การประชาสัมพันธ์เป็นการดาเนินงานอย่างเป็นระบบ โดยจะมีการวางแผนควบคุมและประเมินผล
ของการประชาสัมพันธ์เพื่อให้มั่นใจว่าการดาเนินการประชาสัมพันธ์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผล
องค์ประกอบของการประชาสัมพันธ์
ถ้าหากพิจารณาจากกระบวนการสื่อสารเพื่อการประชาสัมพันธ์แล้ว ก็สามารถจาแนกองค์ประกอบ
สาคัญของการประชาสัมพันธ์ออกเป็น 4 ประการ คือ
1. องค์กร สถาบันหรือหน่วยงาน
ได้แก่ กิจการที่บุคคลหรือคณะบุคคลได้จัดทาขึ้น เป็นแหล่งข่าว แหล่งข้อมูลในการเผยแพร่ข้อมูลต่าง ๆ
โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะดาเนินการใด ๆ ให้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี กิจการเหล่านี้อาจจะเป็นกิจการของรัฐบาล
รัฐวิสาหกิจ องค์การสาธารณกุศล และธุรกิจเอกชน เช่น รัฐบาล กระทรวง ทบวง กรม หน่วยราชการ
หรือหน่วยรัฐวิสาหกิจต่าง ๆ มูลนิธิ บริษัทห้างร้าน ธนาคารพาณิชย์ เป็นต้น
2. ข่าวสารประชาสัมพันธ์
เป็นข้อมูลข่าวสารที่องค์กร สถาบันหรือหน่วยงานต้องการเผยแพร่ได้แก่ เรื่องราวที่เป็นเนื้อหา สาระ
รูปภาพ สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมาย ที่สามารถสื่อสารความเข้าใจได้
3. สื่อประชาสัมพันธ์
ได้แก่ เรื่องราวที่เป็นเนื้อหา สาระ รูปภาพ สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมาย อาจจะเป็นสื่อคาพูด เช่น การ
สนทนา การประชุม การสัมมนา การอภิปราย การปาฐกถา ฯลฯ สื่อสิ่งพิมพ์ เช่น จดหมาย บัตรอวย
พร แผ่นปลิว หนังสือ วารสาร รูปลอก ฯลฯ หรือสื่อภาพและเสียง เช่น ถ่ายภาพ สไลด์ แผ่นโปร่งใส
วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ สไลด์มัลติวิชั่น เทปเสียง ภาพยนตร์ คอมพิวเตอร์ ฯลฯ ซึ่งเป็นสื่อที่
สามารถสื่อสารความเข้าใจได้ การเลือกใช้สื่อในการประชาสัมพันธ์มีความสาคัญ ถ้าเป็นบุคคลภายในอาจ
ใช้โทรทัศน์วงจรปิด เสียงตามสาย ประกาศข่าว จดหมายข่าว ถ้าเป็นประชาชนทั่วไป สื่อประชาสัมพันธ์
จะต้องเผยแพร่ข้อมูลได้ในวงกว้าง เช่น วิทยุ โทรทัศน์
4. กลุ่มประชาชนเป้ าหมายในการประชาสัมพันธ์
ได้แก่ กลุ่มบุคคลหรือประชาชนที่เป็นเป้ าหมายในการสื่อสารประชาสัมพันธ์ครั้งนั้น ๆ ดังนี้
4.1 กลุ่มประชาชนภายใน หมายถึง กลุ่มบุคลากร เจ้าหน้าที่ พนักงาน ขององค์กร สถาบันหรือหน่วยงาน
4.2 กลุ่มประชาชนภายนอก หมายถึง กลุ่มบุคคลที่อยู่ภายนอกองค์กร สถาบันหรือหน่วยงาน อันได้แก่
กลุ่มประชาชนที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน องค์การหรือสถาบันโดยตรง กลุ่มประชาชนในท้องถิ่น และกลุ่ม
ประชาชนทั่วไป
การประเมินเว็บไซต์
1. หน้าที่ของเว็บไซต์(Authority) เกี่ยวกับหน้าที่ของเว็บที่สร้างขึ้นนั้นต้องดูว่าใครหรือผู้ใช้เว็บนี้
อะไรคือความถูกต้อง เหมาะสม ชอบธรรม ระหว่างความสัมพันธ์ของเรื่องและการรับประกันคุณภาพของ
เว็บเพจนี้ที่มีต่อผู้ชม
2. ความถูกต้อง (Accuracy) แหล่งข้อมูลและข้อเท็จจริงที่นามาสร้างเว็บสามารถแยกแยะเป็น
ประเด็นรายการต่างๆ สามารถตรวจสอบย้อนหลังได้หรือไม่
3. จุดประสงค์(Objective) จุดมุ่งหมายในการสร้างชัดเจนและบอกความสัมพันธ์ของสิ่งที่ต้องการ
นั้นชัดเจน
4. ความเป็นปัจจุบัน (Currency) เว็บเพจที่สร้างขึ้นนั้นต้องแสดงวันที่ที่เป็นปัจจุบันด้วย เช่น บอกว่า
สร้างเมื่อใดและมีการแก้ไขครั้งหลังสุดเมื่อใด
5. ความครอบคลุม (Coverage) การสร้างเว็บไซต์ต้องให้ตรงกับจุดสนใจ หัวเรื่องมีความชัดเจน
เหมาะกับรูปภาพ โครงเรื่องและเนื้อหาสาระวิธีการค้นหาข้อมูลในเว็บไซต์ชัดเจน
แหล่งอ้างอิง : ประเภทและส่วนประกอบของเว็บไซต์.(2554).
http://www.websuay.com/th/web_page/web_component
การประเมินเว็บไซด์
การออกแบบและพัฒนาเว็บได้เพิ่มขึ้นโดยลาดับและนับวันจะยิ่งทวีจานวนขึ้น ในปัจจุบันมีเว็บเพจ
ออนไลน์ในระบบอินเทอร์เน็ตนับร้อย ๆ ล้านเว็บ แต่มีคาถามสาคัญที่ต้องมาหาคาตอบก็คือ เว็บแบบไหน
ที่มีคุณภาพดี เว็บแบบใดจึงจะถือว่าเป็นเว็บที่มีคุณค่า และเหมาะสมสาหรับนามาใช้ประโยชน์ เป็น
เรื่องที่ต้องตอบคาถามกันอยู่เสมอและยังไม่มีคาตอบที่ชัดเจน เมื่อพิจารณาแบบประเมินเว็บเพจของ ดร.
แนนซี อีเวอร์ฮาร์ท (Everhart, 1996) ภาควิชาบรรณารักษและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น
รัฐนิวยอร์ค สหรัฐอเมริกา ซึ่งกาหนดระดับการให้คะแนนเอาไว้อย่างน่าสนใจและน่าจะนามาขยายความ
เพื่อประโยชน์ในการประเมินคุณภาพของเว็บสาหรับนักออกแบบและพัฒนาเว็บ รวมถึงผู้ที่ เกี่ยวข้องใน
การจัดสารสนเทศผ่านระบบอินเทอร์เน็ต จะได้มีแนวทางในการตรวจสอบและประเมินคุณภาพที่สามารถ
อธิบายเหตุผลได้
โดยแนวคิดของอีเวอร์ฮาร์ท จะมีด้วยกัน 9 ด้านคือ
1. ความทันสมัย (Currency)
2. เนื้อหาและข้อมูล (Content and Information)
3. ความน่าเชื่อถือ (Authority)
4. การเชื่อมโยงข้อมูล (Navigation)
5. การปฏิบัติจริง (Experience)
6. ความเป็นมัลติมีเดีย (Multimedia)
7. การให้ข้อมูล (treatment)
8. การเข้าถึงข้อมูล (Access)
9. ความหลากหลายของข้อมูล (Miscellaneous)
การโปรโมทเว็บไซต์
คือ การโฆษณาเผยแพร่เว็บไซต์ที่เราสร้างขึ้นให้เป็นที่รู้จักอย่างทั่วถึง โดยเฉพาะให้เป็นที่รู้จักของผู้ที่ใช้
อินเทอร์เน็ต ถือเป็นกลยุทธ์อย่างหนึ่งสาหรับใช้แจ้งข่าวสาร เพื่อเชิญชวนให้นักทองเว็บได้เข้ามาเยี่ยมชม
เว็บไซต์ของตนโดยทั่วไปแล้วนักท่องเว็บมักจะทาการค้นหาข้อมูลของเว็บไซต์ผ่านทางเครื่องมือประเภท
เว็บไดเรกทอรี่ และ Search Engine จึงสามารถนามาใช้เป็นช่องทางในการโปรโมทเว็บไซต์
การโปรโมทเว็บไซต์
เป็นการโฆษณาผ่านทางสื่อหนังสือพิมพ์โดยการลงโฆษณาในหนังสือพิมพ์ทั่วๆไปเพื่อให้คนรู้จัก
และเข้าถึงได้โฆษณาผ่านทางบิลบอร์ดตามแหล่งชุมชน ถนนใหญ่ๆ หรือแหล่งที่มีคนผ่านในแต่ละ
วันเป็นจานวนมากโฆษณาผ่านสื่อรถยนต์ เช่น โฆษณาด้วยการติดแบนเนอร์หรือชื่อเว็บไซต์ข้าง
รถยนต์ของตัวเองหรือรถยนต์ประจาทาง ( รถเมล์ )ผ่านนามบัตร โดยการพิมพ์ชื่อเว็บไซต์หรือ
URL ลงบนนามบัตร ซึ่งถือว่าเป็นอีกช่องทางหนึ่งผ่านเสื้อที่สวมใส่ โดยการพิมพ์ชื่อเว็บไซต์ลงบน
เสื้อเพื่อให้ติดตาคนที่พบเห็นการโฆษณาผ่านถุงกระดาษ ถุงพลาสติก หรือแพคกิ้งข้างขวดหีบห่อ
ต่างๆ
การโปรโมทเว็บไซต์โดยใช้บริการของเว็บไดเรกทอรี่ มีทั้งแบบเสียค่าใช้จ่าย และไม่เสียค่าใช้จ่าย โดยหาก
ต้องการให้ผลลัพธ์ของการค้นหาปรากฏอยู่ในลาดับต้นๆ อาจต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นอีก ได้แก่
yahoo.com,mickinley.com และ google.com
ส่วนกรณีที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายผู้ใช้บริการจะต้องเป็นผู้จัดทาหรือกาหนดหมวดหมู่ที่
ต้องการขึ้นเอง โดยผลลัพธ์ที่ได้อาจไม่ปรากฏอยู่ลาดับต้นๆ โดยมีเว็บให้บริการได้แก่
sanook.com,hunsa.com,hotbot.com เป็นต้น
การเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction)เป็นการผสมผสานกันระหว่างเทคโนโลยี
ปัจจุบันกับกระบวนการออกแบบการเรียนการสอน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการเรียนรู้และแก้ปัญหาใน
เรื่องข้อจากัดทางด้านสถานที่และเวลา โดยการสอนบนเว็บจะประยุกต์ใช้คุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลด์
ไวด์ เว็บ ในการจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งการเรียนการสอนที่จัดขึ้น
ผ่านเว็บนี้อาจเป็นบางส่วนหรือทั้งหมดของกระบวนการเรียนการสอนก็ได้วิลด์ ไวด์ เว็บ เป็นบริการบน
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตซึ่งได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน เริ่มเข้ามาเป็น ที่รู้จักในวงการศึกษาใน
ประเทศไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2538 ที่ผ่านมาเว็บได้เข้ามามีบทบาทสาคัญทางการศึกษาและ กลายเป็นคลังแห่ง
ความรู้ที่ไร้พรมแดน ซึ่งผู้สอนได้ใช้เป็นทางเลือกใหม่ในการส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อเปิดประตูการศึกษาจาก
ห้องเรียนไปสู่โลกแห่งการเรียนรู้อันกว้างใหญ่ รวมทั้งการนาการศึกษาไปสู่ผู้ที่ขาดโอกาสด้วย ข้อจากัด
ทางด้านเวลาและสถานที่ (ถนอมพร เลาหจรัสแสง.2544)
การเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction) เป็นการผสมผสานกันระหว่างเทคโนโลยี ปัจจุบันกับ
กระบวนการออกแบบการเรียนการสอน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการเรียนรู้และแก้ปัญหาในเรื่องข้อจากัด
ทางด้านสถานที่และเวลา โดยการสอนบนเว็บจะประยุกต์ใช้คุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลด์ ไวด์ เว็บ ใน
การจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งการเรียนการสอนที่จัดขึ้นผ่านเว็บนี้อาจ
เป็นบางส่วนหรือทั้งหมดของกระบวนการเรียนการสอนก็ได้
ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บ
การใช้เว็บเพื่อการเรียนการสอนเป็นการนาเอาคุณสมบัติของอินเทอร์เน็ต มาออกแบบเพื่อใช้ใน
การศึกษา การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction) มีชื่อเรียกหลายลักษณะ เช่นการจัดการ
เรียนการสอนผ่านเว็บ(Web-Based Instruction) เว็บการเรียน(Web-Based Learning) เว็บฝึกอบรม (Web-
Based Training) อินเทอร์เน็ตฝึกอบรม (Internet-Based Training) อินเทอร์เน็ตช่วยสอน(Internet-Based
Instruction) เวิลด์ไวด์เว็บฝึกอบรม (WWW-Based Training) และเวิลด์ไวด์เว็บช่วยสอน (WWW-Based
Instruction) (สรรรัชต์ ห่อไพศาล. 2545) ทั้งนี้มีผู้นิยามและให้ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บ
เอาไว้หลายนิยาม ได้แก่
คาน (Khan, 1997) ได้ให้คาจากัดความของการเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction)ไว้ว่าเป็นการ
เรียนการสอนที่อาศัยโปรแกรมไฮเปอร์มีเดียที่ช่วยในการสอน โดยการใช้ประโยชน์จากคุณลักษณะและ
ทรัพยากรของอินเทอร์เน็ต มาสร้างให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมายโดยส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนรู้
อย่างมากมายและสนับสนุนการเรียนรู้ในทุกทาง
คลาร์ก (Clark, 1996) ได้ให้คาจากัดความของการเรียนการสอนผ่านเว็บว่า เป็นการเรียนการสอนรายบุคคล
ที่นาเสนอโดยการใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์สาธารณะหรือส่วนบุคคล และแสดงผลในรูปของการใช้เว็บ
บราวเซอร์สามารถเข้าถึงข้อมูลที่ติดตั้งไว้ได้โดยผ่านเครือข่าย
รีแลน และกิลลานิ (Relan and Gillani, 1997) ได้ให้คาจากัดความของเว็บในการสอนเอาไว้ว่าเป็นการ
กระทาของคณะหนึ่งในการเตรียมการคิดในกลวิธีการสอนโดยกลุ่มคอนสตรัคติวิซึ่มและการเรียนรู้ใน
สถานการณ์ร่วมมือกัน โดยใช้ประโยชน์จากคุณลักษณะและทรัพยากรในเวิลด์ไวด์เว็บ
ประเภทของการเรียนการสอนผ่านเว็บ
การเรียนการสอนผ่านเว็บสามารถทาได้ในหลายลักษณะ โดยแต่ละเนื้อหาของหลักสูตรก็จะมีวิธีการจัดการ
เรียนการสอนผ่านเว็บที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งในประเด็นนี้มีนักการศึกษาหลายท่านได้ให้ข้อเสนอแนะ
เกี่ยวกับประเภทของการเรียนการสอนผ่านเว็บ ดังต่อไปนี้
พาร์สัน(Parson,1997) ได้แบ่งประเภทของการเรียนการสอนผ่านเว็บออกเป็น 3 ลักษณะคือ
1.เว็บช่วยสอนแบบรายวิชาอย่างเดียว (Stand - Alone Courses) เป็นรายวิชาที่มีเครื่องมือและแหล่งที่เข้าไป
ถึงและเข้าหาได้โดยผ่านระบบอินเทอร์เน็ตอย่างมากที่สุด ถ้าไม่มีการสื่อสารก็สามารถที่จะไปผ่านระบบ
คอมพิวเตอร์สื่อสารได้ลักษณะของเว็บช่วยสอนแบบนี้มีลักษณะเป็นแบบวิทยาเขตมีนักศึกษาจานวนมากที่
เข้ามาใช้จริงแต่จะมีการส่งข้อมูลจากรายวิชาทางไกล
2.เว็บช่วยสอนแบบเว็บสนับสนุนรายวิชา (Web Supported Courses) เป็นรายวิชาที่มีลักษณะเป็นรูปธรรมที่
มีการพบปะระหว่างครูกับนักเรียนและมีแหล่งให้มาก เช่น การกาหนดงานที่ให้ทาบนเว็บ การกาหนดให้
อ่าน การสื่อสารผ่านระบบคอมพิวเตอร์ หรือการมีเว็บที่สามารถชี้ตาแหน่งของแหล่งบนพื้นที่ของเว็บไซต์
โดยรวมกิจกรรมต่างๆ เอาไว้
3.เว็บช่วยสอนแบบศูนย์การศึกษา (Web Pedagogical Resources) เป็นชนิดของเว็บไซต์ที่มีวัตถุดิบเครื่องมือ
ซึ่งสามารถรวบรวมรายวิชาขนาดใหญ่เข้าไว้ด้วยกันหรือเป็นแหล่งสนับสนุนกิจกรรมทางการศึกษา ซึ่งผู้ที่
เข้ามาใช้ก็จะมีสื่อให้บริการอย่างรูปแบบอย่างเช่น เป็นข้อความ เป็นภาพกราฟิก การสื่อสารระหว่างบุคคล
และการทาภาพเคลื่อนไหวต่างๆ เป็นต้น
การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์
การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ (Site Structure Design)
คือ การจัดหมวดหมู่ และลาดับของเนื้อหา แล้วจัดทาเป็นแผนผังโครงสร้างเว็บไซต์ ซึ่งจะทาให้เรารู้
ว่ามีเนื้อหาอะไรบ้างภายในเว็บไซต์ และแต่ละหน้าเว็บเพจนั้นมีการเชื่อมโยงกันอย่างไร
โครงสร้างเว็บไซต์ที่ดีจะช่วยให้ผู้ชมไม่สับสนและค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว ไม่ควรเป็น
ลาดับที่ลึกหลายชั้นเกินไป เพราะผู้ใช้จะเบื่อเสียก่อน กว่าจะค้นหาเจอหน้าที่ต้องการ
1. รวบรวมข้อมูล เนื้อหาที่จะนามาสร้างเว็บ แล้วนามาจัดหมวดหมู่ และลาดับเนื้อหาก่อนหลัง
(ตัดส่วนที่ไม่จาเป็นออก) แล้ววางโครงสร้างเว็บไซต์ในภาพรวมทั้งหมด
2. จัดทาแผนผังโครงสร้างการเชื่อมโยงไฟล์ เป็นแผนผังที่แสดงโครงสร้างข้อมูล ลาดับชั้น และ
การเชื่อมโยงส่วนต่างๆ อย่างชัดเจน
3. ออกแบบหน้าแรกของเว็บไซต์ หรือที่เรียกว่า Home page
ขั้นตอนการออกแบบเว็บไซต์
ขั้นแรกออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์
ขั้นที่สองออกแบบการเชื่อมโยงไฟล์
ขั้นที่สามออกแบบหน้าโฮมเพ็จ (Home Page)
วิธีการออกแบบหน้าตาของเว็บไซต์อยู่ 3 รูปแบบ คือ
ออกแบบหน้าเว็บไซต์ที่เน้นการนาเสนอเนื้อหามากๆ
เป็นการออกแบบเว็บไซต์ที่มีการนาเสนอเนื้อหามากกว่ารูปภาพ โดยจะใช้โครงสร้างของตารางเป็น
หลัก เพื่อใส่ข้อความแบบหน้าสารบัญ และรูปภาพที่เป็นชิ้นเล็กๆได้
ออกแบบหน้าเว็บไซต์ที่เน้นภาพกราฟิกเป็นหลัก
เป็นการออกแบบเว็บไซต์ที่มีภาพกราฟิกที่สวยงามถูกจัดวางไว้ในหน้าโฮมเพจ ซึ่งแตกต่างจากข้อ
แรกมากเพราะจะไม่ค่อยมีข้อความในเว็บเพจ แต่จะเป็นการ Link ที่ภาพเพื่อเข้าไปยังหน้าเว็บเพจอื่นๆ
ต่อไป การสร้างเว็บไซต์แบบนี้จะให้โปรแกรม Photoshop สาหรับตกแต่งภาพก่อนนาไปใช้บนหน้าแว็บ
ออกแบบหน้าเว็บไซต์ที่มีทั้งภาพและเนื้อหา
เป็นการออกแบบหน้าเว็บไซต์ที่ผสมกันระหว่างข้อ1 และ 2 ข้างต้น โดยจะเน้นการจัดวางภาพที่ตัด
แบ่งเป็นชิ้นเล็กๆก่อน หลังจากนั้นจึงใส่ข้อความประกอบภาพลงไป เพื่อให้เว็บไซต์ของเรามีความสวยงาม
ด้วยภาพกราฟิกที่นามาประกอบและใส่เนื้อหาได้อย่างสมบูรณ์ด้วย
ประเภทของเว็บไซต์ออกเป็น 7 ประเภท ดังนี้
1. เว็บไซต์ส่วนตัว (Personal website) เป็นเว็บที่สร้างขึ้นเพื่อเผยแพร่ข้อมูลส่วนตัว เช่น ข้อมูล
เกี่ยวกับส่วนตัว การศึกษา การงาน ความสนใจ เป็นต้น
2. เว็บไซต์เพื่อธุรกิจการค้า (Promotional website) เว็บไซต์นี้มีจุดประสงค์ เพื่อการค้าขายสินค้า
การโฆษณาสินค้า การส่งเสริมการขาย ในเว็บไซต์จะมีข้อมูลของสินค้า ราคาและการบริการต่างๆ ซึ่งใน
ปัจจุบันตลาดประเภทนี้กาลังใช้กันมากขึ้น
3. เว็บไซต์ที่เสนอข่าวประจาวัน (Current website) เป็นเว็บที่เสนอข้อมูลประเภทข่าว ซึ่งจะ
เปลี่ยนไปเป็นประจาวัน เช่น เว็บไซต์ของหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ เดลินิวส์ เป็นต้น
4. เว็บไซต์ส่งเสริมการบริการเป็นสื่อกลางของข้อมูล (Share Information website) เป็นเว็บที่มี
จุดประสงค์ที่จะใช้เป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูลตามกลุ่มสนใจ เช่น แบ่งตามอาชีพ ตามงานอดิเรก เป็นต้น
5. เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นเพื่อชักชวนหรือโฆษณาชวนเชื่อ (Persuasive website) เป็นเว็บที่เชิญชวนหรือ
ชักนาให้เห็นคล้อยตามในเรื่องที่ผู้สร้างต้องการ
6. เว็บไซต์เพื่อการสอน (Instructional website) เป็นเว็บที่สร้างขึ้นเป็นการสอนโดยเฉพาะเป็น
รายวิชา (Course) อาจแยกย่อยเป็นหัวเรื่องเรื่องย่อยๆ ก็ได้ สาหรับเว็บไซต์ประเภทนี้จะจากัดผู้ใช้เฉพาะราย
7. เว็บไซต์ที่จากัดเฉพาะสมาชิก (Registrational website) เป็นเว็บไซต์ที่บริการเฉพาะสมาชิก
เท่านั้น ผู้ที่จะใช้ต้องลงทะเบียนตามราคาที่กาหนดโดยบัตรเครดิต หรือผ่านธนาคาร ผู้ให้บริการจึงจะให้
หมายเลขสมาชิกและรหัสผ่าน แต่การขายสินค้าหรือบริการใดๆ ของเว็บไซต์เหล่านี้ จะเชิญชวนผู้ที่สนใจ
โดยมีตัวอย่างสินค้าหรือบริการให้ศึกษาบางส่วนจนพอใจด้วย
องค์ประกอบของเว็บไซต์จะเป็นปัจจัยหลักที่มีผลต่อเว็บไซต์ ๆ หนึ่งในการที่จะประสบผลสาเร็จดังที่ตั้ง
วัตถุประสงค์ไว้หรือไม่ โดยทั่วไปประกอบด้วย
1. Domain Name :ชื่อและที่อยู่ของเว็บไซต์ในการเรียกข้อมูลเว็บไซต์ของท่านมาแสดงผล เช่น
www.yourcompany.com เป็นต้น ปัจจุบันมักจดชื่อ domain name ให้เป็นชื่อที่สื่อถึงสินค้าหรือบริการหรือ
เป็นชื่อองค์กร และอาศัยการทาประชาสัมพันธ์ผ่าน Search Engine และ Web Directory การเลือกใช้ชื่อ
เว็บไซต์ที่เหมาะสมก็มีส่วนในการทาให้เว็บไซต์ของคุณประสบความสาเร็จเช่นกัน
2. Design & Development : การออกแบบและจัดทาเว็บไซต์โดยทั่วไปแล้วสาหรับเว็บไซต์
ประชาสัมพันธ์องค์กรการออกแบบเว็บไซต์ เป็นเพียงส่วนที่ทาหน้าที่นาเสนอข้อมูลขององค์กร หรือบริษัท
ให้แก่ผู้เยี่ยมชมได้อย่างสะดวก และด้วยการออกแบบที่ดีที่จะสื่อถึงความเป็นเอกลักษณ์ขององค์กร หรือ
บริษัทจะนามาซึ่งความน่าเชื่อถือให้เกิดแก่ผู้เข้าเยี่ยมชมได้หากแต่มักมีคนเข้าใจผิดเกี่ยวกับการออกแบบ
เว็บไซต์ว่าเว็บไซต์ที่มีการออกแบบดีมีความสวยงาม และมีการนาเสนอที่น่าสนใจจะสามารถดึงดูด และเพิ่ม
ปริมาณผู้เข้าเยี่ยมชมได้ในความเป็นจริงแล้ว การเข้าถึงกลุ่มเป้ าหมายและเพิ่มปริมาณของผู้เข้าเยี่ยมชมนั้น
เป็นหน้าที่หลักของการทาประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ไม่ใช่จากการออกแบบและจัดทาเว็บไซต์
3. Content :เนื้อหาของเว็บไซต์ถือว่าเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดในองค์ประกอบของเว็บไซต์ เพราะคือสิ่งที่ผู้เยี่ยม
ชมค้นหาโดยปกติแล้วเราสามารถใส่เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับสินค้า หรือบริการขององค์กรของเราได้โดย
ละเอียด อีกทั้งจาต้องนาเสนออย่างชัดเจนอีกด้วย เช่น รูปภาพของสินค้า หรือสถานที่บริการ เป็นต้น จึงจะ
ทาให้ผู้เข้าเยี่ยมชมได้ประโยชน์จากการเข้าชมเว็บไซต์อย่างแท้จริงอันจานามาซึ่งผลประโยชน์ทางธุรกิจใน
อนาคตได้
4. Hosting : พื้นที่จัดวางและติดตั้งเว็บไซต์ เป็นองค์ประกอบที่สาคัญมากไม่น้อยกว่าเนื้อหาของเว็บไซต์
(Content) เพราะการเลือกผู้ให้บริการโฮสติ้งที่ดีมีการซัพพอร์ตลูกค้าที่ดีและรวดเร็ว เซิร์ฟเวอร์มีความ
เสถียรภาพสูง สามารถติดต่อเจ้าหน้าที่ที่ดูแลเซิร์ฟเวอร์ได้ตลอดเวลา คือหัวใจสาคัญในการเลือกผู้ให้บริการ
ด้านนี้ นอกจากความพร้อมในการออกแบบและจัดทาเว็บไซต์แล้ว เรายังมีความพร้อมอย่างยิ่งในการ
ให้บริการโฮสติ้งแก่ลูกค้าเราเป็นอย่างดีอีกด้วย ซึ่งทาให้เว็บไซต์และอีเมล์ของลูกค้าสามารถเข้าถึงได้
ตลอดเวลาอันส่งผลให้ธุรกิจของลูกค้ามีความต่อเนื่องในการทางานอยู่เสมอ
5. Promotion :การทาประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ เป็นองค์ประกอบที่สาคัญมากอีกอย่างหนึ่ง เมื่อเราได้จัดทา
เว็บไซต์เสร็จแล้วจะต้องอาศัยการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มเป้ าหมายมากที่สุดโดยอาศัย
วิธีการต่างผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ต เช่น Search Engine Submission, Registration Web Directory, Mailing
List, Banner Link Exchange เหล่านี้เป็นต้น นอกเหนือจากนี้ อาจใช้ชื่อ domain name ในการประชาสัมพันธ์
เว็บไซต์ผ่านสื่ออื่น ๆ เช่น ในนามบัตร, ใบปลิวหรือ โบรชัวร์ของบริษัท เป็นต้น
เว็บไซต์
เว็บไซต์(อังกฤษ: website, web site, Web site) หมายถึง หน้าเว็บเพจหลายหน้า ซึ่งเชื่อมโยงกันผ่านทาง
ไฮเปอร์ลิงก์ ส่วนใหญ่จัดทาขึ้นเพื่อนาเสนอข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์ โดยถูกจัดเก็บไว้ในเวิลด์ไวด์เว็บ หน้า
แรกของเว็บไซต์ที่เก็บไว้ที่ชื่อหลักจะเรียกว่า โฮมเพจ เว็บไซต์โดยทั่วไปจะให้บริการต่อผู้ใช้ฟรี แต่ใน
ขณะเดียวกันบางเว็บไซต์จาเป็นต้องมีการสมัครสมาชิกและเสียค่าบริการเพื่อที่จะดูข้อมูล ในเว็บไซต์นั้น ซึ่ง
ได้แก่ข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลตลาดหลักทรัพย์หรือข้อมูลสื่อต่างๆ ผู้ทาเว็บไซต์มีหลากหลายระดับ ตั้งแต่
สร้างเว็บไซต์ส่วนตัว จนถึงระดับเว็บไซต์สาหรับธุรกิจหรือองค์กรต่างๆ การเรียกดูเว็บไซต์โดยทั่วไปนิยม
เรียกดูผ่านซอฟต์แวร์ในลักษณะของ เว็บเบราว์เซอร์
โฮมเพจ
โฮมเพจ (Home Page) คือเว็บเพจหน้าแรกซึ่งเป็นทางเข้าหลักของเว็บไซต์ ปกติเว็บเพจทุกๆ หน้าในเว็บ
ไซท์จะถูกลิงค์ (โดยตรงหรือโดยอ้อมก็ตาม) มาจากโฮมเพจ ดังนั้นบางครั้งจึงมีผู้ใช้คาว่าโฮมเพจโดย
หมายถึงเว็บไซท์ทั้งหมด แต่ความจริงแล้วโฮมเพจหมายถึงหน้าแรกเท่านั้น ถ้าเปรียบกับร้านค้า โฮมเพจก็
เป็นเสมือนหน้าร้านนั่นเอง ดังนั้นจึงมักถูกออกแบบให้โดดเด่นและน่าสนใจมากที่สุด
เว็บเพจ
เว็บเพจ (Web Page) หมายถึง หน้าเอกสารของบริการ WWW ซึ่งตามปกติจะถูกเก็บอยู่ในรูปแบบไฟล์
HTML (Hyper Text Markup Language) โดยไฟล์ HTML 1 ไฟล์ก็คือเว็บเพจ 1 หน้านั่นเอง ภายในเว็บ
เพจอาจประกอบไปด้วยข้อความ ภาพ เสียง วิดีโอ และภาพเคลื่อนไหวแบบมัลติมีเดีย นอกจากนี้เว็บเพจ
แต่ละหน้าจะมีการเชื่อมโยงหรือ “ลิงค์” (Link) กัน เพื่อให้ผู้ชมเรียกดูเอกสารหน้าอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้
สะดวกอีกด้วย
ส่วนประกอบของหน้าเว็บไซต์
แบ่งออกเป็น 3 ส่วน
1. ส่วนหัวของเว็บเพ็จ (Page Header)
เป็นส่วนที่อยู่ตอนบนสุดของหน้า และเป็นส่วนที่สาคัญที่สุดของหน้า เพราะเป็นส่วนที่ดึงดูดผู้ชมให้
ติดตามเนื้อหาภายในเว็บไซต์มักใส่ภาพกราฟิกเพื่อสร้างความประทับใจส่วนใหญ่ประกอบด้วย
- โลโก้ (Logo) เป็นสิ่งที่เว็บไซต์ควรมี เป็นตัวแทนของเว็บไซต์ได้เป็นอย่างดี และยังทาให้เว็บ
น่าเชื่อถือ
- ชื่อเว็บไซต์
- เมนูหลักหรือลิงค์ (Navigation Bar) เป็นจุดเชื่อมโยงไปสู่เนื้อหาของเว็บไซต์
2.ส่วนของเนื้อหา (Page Body)
เป็นส่วนที่อยู่ตอนกลางของหน้า ใช้แสดงข้อมูลเนื้อหาของเว็บไซต์ ซึ่งประกอบด้วยข้อความ,
ตารางข้อมูล ภาพกราฟิก วีดีโอ และอื่นๆ และอาจมีเมนูหลักหรือเมนูเฉพาะกลุ่มวางอยู่ในส่วนนี้ด้วย
สาหรับส่วนเนื้อหาควรแสดงใจความสาคัญที่เป็นหัวเรื่องไว้บนสุด ข้อมูลมีความกระชับ ใช้รูปแบบ
ตัวอักษรที่อ่านง่าย และจัด Layout ให้เหมาะสมและเป็นระเบียบ
3. ส่วนท้ายของหน้า (Page Footer)
เป็นส่วนที่อยู่ด้านล่างสุดของหน้า จะมีหรือไม่มีก็ได้ มักวางระบบนาทางที่เป็นลิงค์ข้อความง่าย ๆ และ
อาจแสดงข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาภายในเว็บไซต์ เช่น เจ้าของเว็บไซต์, ข้อความแสดงลิขสิทธิ์, วิธีการ
ติดต่อกับผู้ดูแลเว็บไซต์, คาแนะนาการใช้เว็บไซต์ เป็นต้น
ส่วนประกอบย่อยอื่นๆ ที่จาเป็น
1. Text เป็นข้อความปกติ โดยเราสามารถตกแต่งให้สวยงามและมีลูกเล่นต่างๆ ดังเช่นโปรแกรม
ประมวลคา
2. Graphic ประกอบด้วยรูปภาพ ลายเส้น ลายพื้น ต่างๆ มากมาย
3. Multimedia ประกอบด้วยรูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว และแฟ้มเสียง
4. Counter ใช้นับจานวนผู้ที่เข้ามาเยี่ยมชมเว็บไซต์ของเรา
5. Cool Links ใช้เชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์ของตนเองหรือเว็บไซต์ของคนอื่น
6. Forms เป็นแบบฟอร์มที่ให้ผู้เข้าเยี่ยมชม กรอกรายละเอียด แล้วส่งกลับมายังเว็บไซต์
7. Frames เป็นการแบ่งจอภาพเป็นส่วนๆ แต่ละส่วนก็จะแสดงข้อมูลที่แตกต่างกันและเป็นอิสระจาก
กัน
8. Image Maps เป็นรูปภาพขนาดใหญ่ที่กาหนดส่วนต่างๆ บนรูป เพื่อเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์อื่นๆ
9. JavaApplets เป็นโปรแกรมสาเร็จรูปเล็กๆ ที่ใส่ลงในเว็บไซต์ เพื่อให้การใช้งานเว็บไซต์มี
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร
การสื่อสาร
ชีวิตเป็นเรื่องของการเรียนรู้และสิ่งหนึ่งที่สาคัญและต้องมีการเรียนรู้คือ ความสัมพันธ์ หรือ มนุษย
สัมพันธ์ เพราะทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้มักเป็นบทเรียนของกันและกัน ถ้าไม่ใส่ใจเรียนรู้ซึ่งกันและกันก็จะ
อยู่ในโลกนี้ด้วยความยากลาบาก เพราะชีวิตจะมีคุณค่าและรู้สึกมีความสุขเมื่อได้แสดงออกอย่างที่รู้สึก มี
โอกาสเรียนรู้เรื่องราวและสิ่งใหม่ๆตามที่เราต้องการ
ดังนั้นความสาเร็จของมนุษย์ในการดารงชีวิตทั่วไปจึงมักมีข้อกาหนดไว้อย่างกว้างๆว่า เราจะต้อง
เข้ากับคนที่เราติดต่อด้วยให้ได้และต้องเข้าให้ได้ดี ด้วยการเรียนรู้ที่จะสร้างความสัมพันธ์ร่วมกัน โดยอาศัย
วิธีการสื่อสารและหลักจิตวิทยา ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์โดยทั่วไปมักถูกมองว่าเป็นเรื่องของศิลปะ
(Arts) มากกว่าศาสตร์(Science) ซึ่งก็หมายความว่า การเรียนรู้เกี่ยวกับความสัมพันธ์ของบุคคลแต่เพียงอย่าง
เดียว โดยขาดศาสตร์ของการสื่อสาร ย่อมขาดศิลปะในการนาไปปรับใช้ในชีวิตจริงให้ประสบความสาเร็จ
ได้
ความหมายของการสื่อสาร
ได้มีนักวิชาการหลายท่านให้ความหมายของการสื่อสารไว้ในหลายแง่มุมเช่น
จอร์จ เอ มิลเลอร์: เป็นการถ่ายทอดข่าวสารจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง
จอร์จเกิร์บเนอร์: เป็นการแสดงกริยาสัมพันธ์ทางสังคมโดยใช้สัญลักษณ์และระบบสาร
วิลเบอร์ ชแรมส์: เป็นการมีความเข้าใจร่วมกันต่อเครื่องหมายที่แสดงข่าวสารซึ่งสามารถสรุปให้เข้าใจได้
ง่ายๆคือ การถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารจากบุคคลฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่าผู้ส่งสารไปยังยังบุคคลอีกฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่า
ผู้รับสารโดยผ่านช่องทางในการสื่อสารโดยมีองค์ประกอบที่สาคัญคือ ผู้ส่งสาร(Sender) สาร(Message)
ช่องทาง(Channel) และตัวผู้รับสาร(Reciever) ซึ่งมักเรียกกันว่า SMCR
วัตถุประสงค์ของการสื่อสาร
การสื่อสารในชีวิตของแต่ละบุคคลนั้นล้วนมีวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกันออกไป และส่งผลต่อการ
ดาเนินชีวิตได้คือ ทาให้ไม่รู้สึกโดดเดี่ยว ทาให้ทราบการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น สร้างความสัมพันธ์ทางสังคม
ทาให้เกิดการแสดงออก ทาให้เกิดการพักผ่อนหย่อนใจ ทาให้เกิดการเรียนรู้ ทาให้เกิดกาลังใจ(หา
ภาพประกอบแต่ละประเภท)
ประเภทของการสื่อสาร
การสื่อสารภายในบุคคล(Intrapersonal Communication) การคิดหรือจินตนาการกับตัวเองเป็นการ
คิดไตร่ตรองกับตัวเองก่อนที่จะมีการสื่อสาร ประเภทอื่นต่อไป
การสื่อสารระหว่างบุคคล(Interpersonal Communication)
การที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปมาทาการสื่อสารกันอย่างมีวัตถุประสงค์ เช่นการพูดคุย ปรึกษาหารือ
ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
การสื่อสารกลุ่มย่อย(Small-group) Communication)
การสื่อสารที่มีบุคคลร่วมกันทาการสื่อสารเพื่อทากิจกรรมร่วมกันแต่จานวนไม่เกิน 25 คน เช่นชั้น
เรียนขนาดเล็ก ห้องประชุมขนาดเล็ก
การสื่อสารกลุ่มใหญ่(Large-group Communication)
การสื่อสารระหว่างคนจานวนมาก เช่นภายในห้องประชุมใหญ่ โรงภาพยนตร์ โรงละครชั้นเรียน
ขนาดใหญ่
การสื่อสารในองค์กร(Organization Communication)
การสื่อสารระหว่างสมาชิกภายในหน่วยงานเพื่อปฏิบัติงานให้สาเร็จลุล่วง เช่นการสื่อสารระหว่า
เพื่อนร่วมงาน
การสื่อสารมวลชน(Mass Communication)
การสื่อสารกับคนจานวนมากในหลายๆพื้นที่พร้อมกัน โดยใช้สื่อมวลชน เช่น หนังสือพิมพ์
นิตยสาร วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์เป็นสื่อกลาง เหมาะสาหรับการส่งข่าวสารไปยังผู้คนจานวนมากๆ
ในเวลาเดียวกัน
การสื่อสารระหว่างประเทศ(International Communication)
การสื่อสารระหว่างบุคคลที่มีความแตกต่างกันใน เชื้อชาติ ภาษา วัฒนธรรม การเมืองและสังคม
เช่นการสื่อสารทางการทูต การสื่อสารเจรจาต่อรองเพื่อการทาธุรกิจ
หลักออกแบบเว็บไซต์คือ การวางแผนการจัดลาดับ เนื้อหาสาระของเว็บไซต์ ออกเป็นหมวดหมู่ เพื่อจัดทา
เป็นโครงสร้างในการจัดวางหน้าเว็บเพจทั้งหมด เปรียบเสมือนแผนที่ ที่ทาให้เห็นโครงสร้างทั้งหมดของ
เว็บไซต์ ช่วยในนักออกแบบเว็บไซต์ไม่ให้หลงทาง การจัดโครงสร้างของเว็บไซต์ มีจุดมุ่งหมายสาคัญคือ
การที่จะทาให้ผู้เข้าเยี่ยมชม สามารถค้นหาข้อมูลในเว็บเพจได้อย่างเป็นระบบ ซึ่งถือว่าเป็นขั้นตอนที่สาคัญ
ที่สามารถสร้างความสาเร็จให้กับผู้ที่ทาหน้าที่ในการออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ (Webmaster) การ
ออกแบบโครงสร้างหรือจัดระเบียบของข้อมูลที่ชัดเจน แยกย่อยเนื้อหาออกเป็นส่วนต่าง ๆ ที่สัมพันธ์กัน
และให้อยู่ในมาตรฐานเดียวกัน จะช่วยให้น่าใช้งานและง่าย ต่อการเข้าอ่านเนื้อหาของผู้ใช้เว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์ ควรพิจารณาดังนี้
1. กาหนดวัตถุประสงค์ โดยพิจารณาว่าเป้ าหมายของการสร้างเว็บไซต์นี้ทาเพื่ออะไร
2. ศึกษาคุณลักษณะของผู้ที่เข้ามาใช้ว่ากลุ่มเป้ าหมายใดที่ผู้สร้างต้องการสื่อสาร ข้อมูลอะไรที่พวกเขา
ต้องการโดยขั้นตอนนี้ควรปฏิบัติควบคู่ไปกับขั้นตอนที่หนึ่ง
3. วางแผนเกี่ยวกับการจัดรูปแบบโครงสร้างเนื้อหาสาระ การออกแบบเว็บไซต์ต้องมีการจัด
โครงสร้างหรือจัดระเบียบข้อมูลที่ชัดเจน การที่เนื้อหามี ความต่อเนื่องไปไม่สิ้นสุดหรือกระจายมากเกินไป
อาจทาให้เกิดความสับสนต่อผู้ใช้ได้ฉะนั้นจึงควรออกแบบให้มีลักษณะที่ชัดเจนแยกย่อยออกเป็นส่วนต่าง
ๆ จัดหมวดหมู่ในเรื่องที่สัมพันธ์กัน รวมทั้งอาจมีการแสดงให้ผู้ใช้เห็นแผนที่โครงสร้างเพื่อป้ องกันความ
สับสนได้
4. กาหนดรายละเอียดให้กับโครงสร้าง ซึ่งพิจารณาจากวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้โดยตั้งเกณฑ์ในการใช้
เช่น ผู้ใช้ควรทาอะไรบ้าง จานวนหน้าควรมีเท่าใด มีการเชื่อมโยง มากน้อยเพียงใด
5. หลังจากนั้น จึงทาการสร้างเว็บไซต์แล้วนาไปทดลองเพื่อหาข้อผิดพลาดและทาการแก้ไขปรับปรุง
แล้วจึงนาเข้าสู่เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นขั้นสุดท้าย
การออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ที่ดี จะช่วยกลุ่มผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลสารสนเทศเป็นอย่างมาก การออกแบบ
เว็บไซต์ที่ดีควรประกอบด้วย
1. โครงสร้างที่ชัดเจน ผู้ออกแบบเว็บไซต์ควรจัดโครงสร้างหรือจัดระเบียบของข้อมูลที่ชัดเจน แยก
ย่อยเนื้อหาออกเป็นส่วนต่าง ๆ ที่สัมพันธ์กันและให้อยู่ในมาตรฐานเดียวกัน จะช่วยให้น่าใช้งานและง่าย ต่อ
การอ่านเนื้อหาของผู้ใช้
2. การใช้งานที่ง่าย ลักษณะของเว็บที่มีการใช้งานง่ายจะช่วยให้ผู้ใช้รู้สึกสบายใจต่อการอ่านและ
สามารถทาความเข้าใจกับเนื้อหาได้อย่างเต็มที่ โดยไม่ต้องมาเสียเวลาอยู่กับการทาความเข้าใจ การใช้งานที่
สับสนด้วยเหตุนี้ผู้ออกแบบจึงควรกาหนดปุ่มการใช้งานที่ชัดเจน เหมาะสม โดยเฉพาะปุ่มควบคุมเส้นทาง
การเข้าสู่เนื้อหา (Navigation) ไม่ว่าจะเป็นเดินหน้า ถอยหลัง หากเป็นเว็บไซต์ที่มีเว็บเพจจานวนมาก ควรจะ
จัดทาแผนผังของเว็บไซต์(Site Map) ที่ช่วยให้ผู้ใช้ทราบว่า ตอนนี้อยู่ ณ จุดใด หรือเครื่องมือสืบค้น (Search
Engine) ที่ช่วยในการค้นหาหน้าที่ที่ต้องการ
3. การเชื่อมโยงที่ดี ลักษณะไฮเปอร์เท็กซ์ที่ใช้ในการเชื่อมโยง ควรอยู่ในรูปแบบที่เป็นมาตรฐาน ทั่วไปและ
ต้องระวังเรื่องของตาแหน่งในการเชื่อมโยง การที่จานวนการเชื่อมโยงมากและกระจัดกระจายอยู่ทั่วไปใน
หน้าอาจก่อให้เกิดความสับสน นอกจากนี้คาที่ใช้สาหรับการเชื่อมโยงจะต้องเข้าใจง่ายมีความชัดเจนและไม่
สั้นจนเกินไป นอกจากนี้ในแต่ละเว็บเพจที่สร้างขึ้นมาควรมีจุดเชื่อมโยงกลับมายังหน้าแรกของเว็บไซต์ที่
กาลังใช้งานอยู่ด้วย ทั้งนี้เผื่อว่าผู้ใช้เกิดหลงทาง และไม่ทราบว่าจะทาอย่างต่อไปดีจะได้มีหนทางกลับมาสู่
จุดเริ่มต้นใหม่ ระวังอย่าให้มีหน้าที่ไม่มีการเชื่อมโยง (Orphan Page) เพราะจะทาให้ผู้ใช้ไม่รู้จะทาอย่างไร
ต่อไป
4. ความเหมาะสมในหน้าจอ เนื้อหาที่นาเสนอในแต่ละหน้าจอควรสั้น กระชับ และทันสมัย หลีกเลี่ยงการใช้
หน้าจอที่มีลักษณะการเลื่อนขึ้นลง (Scrolling) แต่ถ้าจาเป็นต้องมี ควรจะให้ข้อมูลที่มี ความสาคัญอยู่บริเวณ
ด้านบนสุดของหน้าจอ หลีกเลี่ยงการใช้กราฟิกด้านบนของหน้าจอ เพราะถึงแม้จะดูสวยงาม แต่จะทาให้ผู้ใช้
เสียเวลาในการได้รับข้อมูลที่ต้องการ แต่หากต้องมีการใช้ภาพประกอบก็ควรใช้เฉพาะที่มีความสัมพันธ์กับ
เนื้อหาเท่านั้น นอกจากนี้การใช้รูปภาพเพื่อเป็นพื้นหลัง (Background) ไม่ควรเน้นสีสันที่ฉูดฉาดมากนัก
เพราะอาจจะไปลดความเด่นชัดของเนื้อหาลง ควรใช้ภาพที่มีสีอ่อน ๆ ไม่สว่างจนเกินไปรวมไปถึงการใช้
เทคนิคต่าง ๆ เช่น ภาพเคลื่อนไหว หรือตัวอักษรวิ่ง (Marquees) ซึ่งอาจจะเกิดการรบกวนการอ่านได้ควรใช้
เฉพาะที่จาเป็นจริง ๆ เท่านั้นตัวอักษรที่นามาแสดงบนจอภาพควรเลือกขนาดที่อ่านง่าย ไม่มีสีสันและ
ลวดลายมากเกินไป
5.ความรวดเร็ว ความรวดเร็วเป็นสิ่งสาคัญประการหนึ่งที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ ผู้ใช้จะเกิดอาการเบื่อหน่าย
และหมดความสนใจกับเว็บที่ใช้เวลาในการแสดงผลนาน สาเหตุสาคัญที่จะทาให้การแสดงผลนานคือการ
ใช้ภาพกราฟิกหรือภาพเคลื่อนไหว

More Related Content

What's hot

การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์น.หนู ว.แหวน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kiattipong Sriwichai
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์1
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์1การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์1
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์1น.หนู ว.แหวน
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์1
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์1การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์1
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์1น.หนู ว.แหวน
 
ส่วนนำรายงาน
ส่วนนำรายงานส่วนนำรายงาน
ส่วนนำรายงานTangkwa Tom
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์Noo Pui Chi Chi
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์Aunchisa Phongchana
 
ระบบลงทะเบียนชุมชุม
ระบบลงทะเบียนชุมชุมระบบลงทะเบียนชุมชุม
ระบบลงทะเบียนชุมชุมNoppakhun Suebloei
 

What's hot (12)

การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์1
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์1การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์1
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์1
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์1
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์1การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์1
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์1
 
ส่วนนำรายงาน
ส่วนนำรายงานส่วนนำรายงาน
ส่วนนำรายงาน
 
00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
1พ
1พ1พ
1พ
 
ปก
ปกปก
ปก
 
ระบบลงทะเบียนชุมชุม
ระบบลงทะเบียนชุมชุมระบบลงทะเบียนชุมชุม
ระบบลงทะเบียนชุมชุม
 

Similar to เล็ก

หนังสือเล่มเล็กก
หนังสือเล่มเล็กกหนังสือเล่มเล็กก
หนังสือเล่มเล็กกprawanya
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กprawanya
 
โครงสร้างเว็บไซต์
โครงสร้างเว็บไซต์โครงสร้างเว็บไซต์
โครงสร้างเว็บไซต์Pongpitak Toey
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์qnlivyatan
 
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงานChamp Wachwittayakhang
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กMelody Moon
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์chayanit kaewjankamol
 

Similar to เล็ก (20)

หนังสือเล่มเล็กก
หนังสือเล่มเล็กกหนังสือเล่มเล็กก
หนังสือเล่มเล็กก
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็ก
 
3
33
3
 
3
33
3
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
 
โครงสร้างเว็บไซต์
โครงสร้างเว็บไซต์โครงสร้างเว็บไซต์
โครงสร้างเว็บไซต์
 
00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
3
33
3
 
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็ก
 
ปก
ปกปก
ปก
 
00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ปก 1
ปก 1ปก 1
ปก 1
 
ปก 1
ปก 1ปก 1
ปก 1
 

More from PoMpam KamOlrat

หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร(แนท)
หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร(แนท)หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร(แนท)
หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร(แนท)PoMpam KamOlrat
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1PoMpam KamOlrat
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1PoMpam KamOlrat
 
เล่มเล็ก
เล่มเล็กเล่มเล็ก
เล่มเล็กPoMpam KamOlrat
 
ว เคราะห Web
ว เคราะห  Webว เคราะห  Web
ว เคราะห WebPoMpam KamOlrat
 
วิเคราะห์เว็บ
วิเคราะห์เว็บวิเคราะห์เว็บ
วิเคราะห์เว็บPoMpam KamOlrat
 
หล กการและทฤษฏ การส__อสาร
หล กการและทฤษฏ การส__อสารหล กการและทฤษฏ การส__อสาร
หล กการและทฤษฏ การส__อสารPoMpam KamOlrat
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กPoMpam KamOlrat
 

More from PoMpam KamOlrat (10)

Re
ReRe
Re
 
หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร(แนท)
หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร(แนท)หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร(แนท)
หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร(แนท)
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
21
2121
21
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
เล่มเล็ก
เล่มเล็กเล่มเล็ก
เล่มเล็ก
 
ว เคราะห Web
ว เคราะห  Webว เคราะห  Web
ว เคราะห Web
 
วิเคราะห์เว็บ
วิเคราะห์เว็บวิเคราะห์เว็บ
วิเคราะห์เว็บ
 
หล กการและทฤษฏ การส__อสาร
หล กการและทฤษฏ การส__อสารหล กการและทฤษฏ การส__อสาร
หล กการและทฤษฏ การส__อสาร
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 

เล็ก

  • 2. รายชื่อผู้จัดทา นางสาวชนากานต์ต่อพันธ์ รหัส 533410080308 นางสาวเบญจพร แสงสุวอ รหัส 533410080313 นายศราวุฒิ จันทะมาลา รหัส 533410080344 ปี 4 หมู่ 3 สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
  • 3. การพัฒนาเว็บไซต์ สิ่งแรกที่นักพัฒนาเว็บควรทาเมื่อเริ่มต้นพัฒนาเว็บไซต์ คือ กาหนดกรอบกระบวนการทางาน (Framework) ที่แสดงให้เห็นถึงขั้นตอนของการพัฒนาเว็บ และรายละเอียดของงานในแต่ละขั้นตอน ตั้งแต่ เริ่มต้นกระบวนการจนกระทั่งสิ้นสุดกระบวนการ เพื่อให้การพัฒนาเว็บเป็นไปอย่างมีแบบแผน ถึงแม้ว่า การกาหนดกรอบการทางานจะเป็นขั้นตอนที่มีความยุ่งยากแต่ก็เป็นเครื่องมือสาคัญที่ช่วยให้การพัฒนาเว็บ สาเร็จลุล่วงตรงตามวัตถุประสงค์ได้ เพราะกรอบการทางานจะช่วยป้ องกันความผิดพลาด และความสับสน ในระหว่างการพัฒนาเว็บ โดยนักพัฒนาเว็บสามารถย้อนกลับมาตรวจสอบงานตามกรอบการทางานใน ภายหลังได้กรอบการทางานหรือแบบจาลองกระบวนการ (Process Model) ที่ใช้เพื่อพัฒนาเว็บมีหลาย รูปแบบ ยกตัวอย่าง เช่น แบบจาลองกระบวนการในรูปแบบ Agile Process (XP, Scrum, DSDM, FDD และ AM) แบบจาลองลาดับเชิงเส้น (Linear Sequential Model : LSM) เป็นต้น สาหรับในที่นี้จะขอ แบบจาลองกระบวนการที่พัฒนาขึ้นโดย Jesse James Garrett ซึ่งจาแนกกระบวนการพัฒนาเว็บออกเป็น 5 ขั้นตอน ได้แก่ การสร้างกลยุทธ์ในการออกแบบ (Strategy Plane) การกาหนดขอบเขตของข้อมูล (Scope Plane) การทาโครงสร้างข้อมูล (Structrue Plane) การ ออกแบบโครงร่างเว็บเพจ (Skeleton Plane) และการออกแบบรูปลักษณ์ของเว็บเพจ (Surface Plane) การสร้างกลยุทธ์ในการออกแบบ (Strategy Plane) เป็นขั้นตอนการวิเคราะห์ปัจจัยหลัก 3 ประการ คือ ผู้ใช้ องค์กร และคู่แข่ง เพื่อทราบเป้ าหมายหรือแนวทางในการพัฒนาเว็บไซต์ โดยปัจจัยทั้ง 3 ประการ มีรายละเอียดดังนี้ - ผู้ใช้ (User) เป็นการวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ โดยการศึกษาหรือทาการสารวจจากผู้ใช้ที่ เป็นกลุ่มเป้ าหมายเพื่อตอบคาถามว่า เมื่อผู้ใช้เข้ามายังหน้าเว็บแล้ว ต้องการได้รับข้อมูลใดกลับไปบ้าง มี ฟังก์ชันหรือการใช้งานรูปแบบใดบนเว็บไซต์ที่ผู้ใช้ต้องการ และปัญหาหรือข้อบกพร่องที่เกิดจากการใช้ งานเว็บที่ได้พบ - องค์กร (Organization) เป็นการวิเคราะห์เป้ าหมายทางธุรกิจ (Business Goal) ทั้งในส่วน เงินทุน บุคลากร และความเป็นไปได้ที่จะพัฒนาเว็บไซต์ขึ้นมาเพื่อใช้งาน รวมทั้งการเก็บรวบรวมข้อมูล ขององค์กรที่จาเป็นต่อการออกแบบหน้าเว็บ เช่น โลโก้ (Logo) แบนเนอร์ (Banner) หรือการโฆษณา ประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ เหล่านี้จะช่วยให้ผู้ใช้จดจาเว็บไซต์ได้ง่ายขึ้น
  • 4. - คู่แข่ง (Competitor) เป็นการประเมินขอบเขตข้อมูล รูปแบบนาเสนอ และเป้าหมายทางการค้า ของบริษัทคู่แข่ง เพื่อพิจารณาจุดอ่อนและจุดแข็งของการออกแบบเว็บ แล้วนามาประยุกต์ใช้ในการพัฒนา เว็บของบริษัทต่อไป การกาหนดขอบเขตของข้อมูล (Scope Plane) เป็นการสรุปขอบเขตของข้อมูลที่ควรมีบนหน้าเว็บให้ ชัดเจนขึ้น เนื่องจากผู้ออกแบบบางคนอาจมีเทคนิคนาเสนอข้อมูลที่ชื่นชอบ หรือมีแนวทางพัฒนาเว็บหลาย วิธีจนทาให้เกิดความสับสนขั้นตอนนี้จึงเป็นการสรุปแนวทางพัฒนาเว็บ โดยพิจารณาขอบเขตข้อมูลให้ สอดคล้องกับเป้ าหมายที่ได้จากการวิเคราะห์ ปัจจัย 3 ประการในขั้นตอนแรก สามารถจาแนกข้อมูลบน เว็บไซต์ออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ - เนื้อหา (Content Requirements) เป็นข้อมูลทั่วไปที่นาเสนอให้กับผู้ใช้งาน เช่น ข้อความ บรรยาย รูปภาพ หรือ เสียงเพลง เป็นต้น - การใช้งาน (Functional Specfications) เป็นระบบการทางานหรือการใช้งานบนหน้าเว็บ ซึ่ง มักจะเป็นงานที่ต้องมีการปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกับผู้ใช้ เข่น การับส่ง E-mail การประมวลผลค่าข้อมูลของ แบบฟอร์ม โปรแกรมสนทนาระหว่างผู้ใช้ เป็นต้น การจัดทาโครงการสร้างข้อมูล (Structrue Plane) ภายหลังจากที่ได้กาหนดขอบเขตข้อมูลแล้ว ก็เริ่มต้น กาหนดความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาและหน้าที่งานบนเว็บไซต์โดยขั้นตอนนี้ประกอบด้วยงาน 2 ลักษณะ ดังนี้ - การออกแบบส่วนปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ (Interaction Design) เป็นการออกแบบหน้าเว็บสาหรับงาน ที่มีลักษณะโต้ตอบกับผู้ใช้ เช่น การสั่งซื้อสินค้า การกรอกแบบฟอร์ม และการรับส่ง E-mail เป็นต้น สถาปัตยกรรมข้อมูล (Information Architecture) เป็นการกาหนดโครงสร้างของเนื้อหาทั้งหมดที่จะ นาเสนอบนเว็บไซต์ โดยเชื่อมโยงเว็บเพจแต่ละส่วนไว้ด้วยกันตามความสัมพันธ์ของระบบงาน เพื่อให้ ข้อมูลเคลื่อนที่อย่างเป็นระบบจนผู้ใช้งานไม่รู้สึกสะดุดหรือข้ามขั้นตอนเมื่อเรียกใช้หน้าเว็บนั้น โครงสร้างการนาเสนอเนื้อหาของเว็บมี 4 ชนิดได้แก่ Linear Structrue, Hierarchical Structure, Grid Structure และ Network Structure
  • 5. 1. โครงสร้างเชิงเส้น (Linear Structrue) เป็นโครงสร้างเนื้อหาที่จัดเรียงลาดับหน้าเว็บเพื่อเข้าถึง ข้อมูลไว้ตายตัวโดยผู้ใช้จะต้องเข้าถึงหน้าเว็บในแนวเส้นตรง กล่าวคือ เข้าถึงหน้าเว็บทีละหน้าตามลาดับ ขั้นตอนไปจนถึงหน้าเว็บปลายทางที่ต้องการ ข้อดีของการจัดวางโครงสร้างเนื้อหาลักษณะนี้ คือ การ ออกแบบไม่ยุ่งยากและข้อมูลเป็นระเบียบ แต่ข้อเสีย คือ ต้องใช้เวลามากกว่าจะเข้าถึงหน้าเว็บที่ต้องการได้ เพราะต้องผ่านหน้าเว็บที่ไม่จาเป็นหลายขั้นตอน 2. โครงสร้างแบบลาดับขั้น (Hierarchical Structure) เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “โครงสร้างต้นไม้(Tree Structure) ” เป็นโครงสร้างที่นิยมใช้งาน โดยจัดลาดับการเข้าถึงข้อมูลตามความสัมพันธ์จากหัวข้อใหญ่ ไปจนถึงหัวข้อย่อยแตกออกไป ข้อดีของการจัดวางโครงสร้างเนื้อหาลักษณะนี้ คือ ข้อมูลถูกจัดวางอย่าง เป็นระบบ ทาให้มองความสัมพันธ์ของข้อมูลแต่ละส่วนได้เป็นอย่างดี ข้อเสีย คือ การออกแบบมีความ ซับซ้อนเพิ่มขึ้น และต้องการออกแบบให้โครงสร้างต้นไม้มีความสมดุล 3. โครงสร้างแบบตาราง (Grid Structure) เป็นโครงสร้างเนื้อหาที่เพิ่มเส้นทางการเชื่อมโยงข้อมูล มากขึ้น เพื่อให้การเข้าถึงเว็บเพจมีความยืดหยุ่น กล่าวคือ ผู้ใช้สามารถเปลี่ยนทิศทางการเข้าถึงผ่านข้อมูล ทางหน้าเว็บอื่นๆได้ จึงนับเป็นข้อดีประการสาคัญของโครงสร้างลักษณะนี้ แต่ข้อเสีย คือ การออกแบบมี ความซับซ้อนสูง และต้องระวังผู้ใช้หลงเส้นทางการเชื่อมโยงด้วย 4. โครงสร้างเครือข่าย (Network Structure) เป็นโครงสร้างเนื้อหาที่มีความยืดหยุ่นในการเข้าถึง ข้อมูลมากที่สุดเพราะทุกเว็บเพจถูกเชื่อมโยงไว้ด้วยกัน ดังนั้นผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลผ่านทางหน้าเว็บใดๆ ไปยังหน้าเว็บปลายทางที่ต้องการได้ ข้อดีของการจัดวางโครงสร้างเนื้อหาลักษณะนี้ จึงเป็นความยืดหยุ่นที่ ผู้ออกแบบกาหนดให้กับผู้ใช้งาน แต่ข้อเสีย คือ การออกแบบมีความซับซ้อนมาก จึงต้องอาศัยความ เชี่ยวชาญของผู้ออกแบบสูง
  • 6. กระบวนการพัฒนาเว็บไซต์ กระบวนการในการสร้างและออกแบบเว็บมีกระบวนการพื้นฐานอยู่ด้วยกัน 5 ขั้นตอนคือ 1. การวางแผน (Planning) เป็นขั้นตอนที่ผู้สร้างเว็บจะต้องรวบรวมข้อมูลที่ต้องการจะนา มาสร้างเว็บ กาหนดวัตถุประสงค์และกลุ่มเป้ าหมาย จากนั้นกาหนดขอบเขตและความต้องการของเว็บว่า จะต้องมีอะไรบ้าง เช่น ขนาดของหน้าจอภาพ บราวเซอร์ที่จะใช้ฯลฯ องค์ประกอบและเครื่องมือที่จะต้อง ใช้ ต้องการมีกระดานข่าว ห้องสนทนา ฯลฯ รวมถึงขั้นตอนและกระบวนการในการบารุงรักษาอย่างเป็น ระบบ การวางแผนเบื้องต้นของการสร้างเว็บสาหรับ Dreamweaver คือ - กาหนดพื้นที่จัดเก็บเว็บในเครื่องคอมพิวเตอร์ - กาหนดพื้นที่ติดตั้งเว็บเมื่อสร้างเสร็จ 2. การออกแบบ (Design) เป็นขั้นตอนที่นาข้อมูลและแผนที่วางไว้ไปปฏิบัติ โดยการลงมือปฏิบัติโดย จัดพิมพ์เนื้อหา กาหนดการเชื่อมโยง และคุณลักษณะอื่นที่ต้องใช้ในเว็บ การออกแบบก็จะเน้นที่การจัด หน้าจอของเว็บให้สอดคล้องกันและระมัดระวังปัญหาต่าง ๆ ในการออกแบบ - การเลือกเนื้อหา เป็นส่วนสาคัญของการเริ่มต้นสร้างเว็บเพจ ผู้เยี่ยมชนแต่ละกลุ่มจะค้นหาข้อมูลที่ แตกต่างกัน เว็บเพจแต่ละหน้าจะสนองตอบต่อผู้ชมไม่เหมือนกัน การเลือกเนื้อหาที่ดีเนื้อหาน่าสนใจและ ใหม่เสมอจะทาให้ผู้ชมกลับมาเยี่ยมใหม่อีกครั้ง การใส่ข้อมูลปริมาณมากเกินความจาเป็นจะทาให้เว็บเพจดู หนาแน่น ผู้ชมอึดอัด ไม่ดึงดูดความสนใจ 3. การพัฒนา (Development) เป็นขั้นตอนที่ต่อเนื่องจากการออกแบบและการสร้าง โดย เน้นไปที่การตกแต่งและเสริมเครื่องมือต่าง ๆ สาหรับเว็บ เช่น การกาหนดสี ภาพ การใช้ Flash ช่วยให้เว็บ เร้าความสนใจ และเพิ่มเติมเทคนิคต่าง ๆ ของโปรแกรมสนับสนุนการสร้างเว็บ 4. การติดตั้ง (Publishing) เป็นขั้นตอนที่จะนาเอาเว็บที่ได้สร้างขึ้นเข้าไปติดตั้งในเว็บเซอร์เวอร์เพื่อให้แสดง ผลได้ในระบบอินเทอร์เน็ต หรือจะเรียกว่า การอับโหลด (Up load) ซึ่งเป็นขั้นตอนที่จะต้องดาเนินการอยู่ เสมอเมื่อสร้างเว็บเสร็จ
  • 7. 5. การบารุงรักษา (Maintenance) เป็นขั้นตอนประเมินผลและติดตามผลการติดตั้งเว็บไซต์ ว่ามีข้อขัดข้องหรือต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเว็บเพิ่มเติมให้ทันสมัยอยู่เสมอ อาจจะเรียกได้ว่าขั้นตอนการ อับเดท (Up date การประชาสัมพันธ์ (เสนีย์แดงวัง 2525 ; วิจิตร อาวะกุล 2526) ความหมายของการประชาสัมพันธ์ การประชาสัมพันธ์มักจะถูกเข้าใจสับสนกับการโฆษณา คนจานวนมากมักจะเข้าใจว่าการโฆษณาและ การประชาสัมพันธ์มีความหมายเหมือนกันจนบางทีเราเรียกการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์เป็น “การโฆษณาประชาสัมพันธ์” ซึ่งในความเป็นจริงการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์มีความแตกต่างกัน พอสมควร ดังนี้ การโฆษณา (Advertising) เป็นการกระทาการใดๆ อันเป็นการชักจูงใจต่อกลุ่มเป้ าหมายเฉพาะโดย มีวัตถุประสงค์เพื่อการจาหน่ายสินค้าหรือบริการ ซึ่งอาศัยสื่อมวลชน (Mass media) ในการส่งผ่านข้อมูล ข่าวสารซึ่งต้องเสียค่าใช้จ่ายและมิได้เป็นไปในรูปส่วนตัว การประชาสัมพันธ์ (Public Relation) เป็นการติดต่อสื่อสารจากองค์การไปสู่สาธารณชนที่เกี่ยวข้อง รวมถึงรับฟังความคิดเห็นและประชามติจากสาธารณชนที่มีต่อองค์การโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความ เชื่อถือ ภาพลักษณ์ ความรู้ และแก้ไขข้อผิดพลาดในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
  • 8. ลักษณะของการประชาสัมพันธ์ ลักษณะของการประชาสัมพันธ์มีดังต่อไปนี้ การประชาสัมพันธ์เป็นการสื่อสารสองทาง (Two-way communication) เป็นการสื่อสารจากผู้ส่งไป ยังผู้รับเกี่ยวกับข่าวสารขององค์การที่ต้องการสื่อสารให้สาธารณชนรับทราบและเข้าใจ และยังเป็น การสื่อสารย้อนกลับจากผู้รับคือ สาธารณชนไปยังองค์การเกี่ยวกับความคิดเห็นที่เกี่ยวกับองค์การ การประชาสัมพันธ์อาจมีกลุ่มเป้ าหมายหลายกลุ่ม (Multiple target group) เช่น พนักงาน ลูกค้า ผู้ถือ หุ้นชุมชน รัฐบาล หรือหน่วยงานต่างๆ เป็นต้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับวัตถุระสงค์ในการประชาสัมพันธ์ว่าต้องการ ประชาสัมพันธ์ไปยังกลุ่มเป้ าหมายใดบ้าง การประชาสัมพันธ์เป็นการสื่อสารเพื่อโน้มน้าวใจทั้งนี้การประชาสัมพันธ์ต้องตั้งอยู่บนหลักความ จริงเพื่อมุ่งให้เกิดความเชื่อถือและปฏิบัติตามด้วยความสมัครใจ การประชาสัมพันธ์เป็นการดาเนินงานอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ โดยคาดหวังผลต่อเนื่องในระยะ ยาวเพื่อให้สาธารณชนมีความศรัทธาและมีความไว้เนื้อเชื่อใจต่อองค์การเพื่อให้องค์การสามารถดาเนิน กิจการอยู่ในระยะยาวได้ การประชาสัมพันธ์เป็นการดาเนินงานอย่างเป็นระบบ โดยจะมีการวางแผนควบคุมและประเมินผล ของการประชาสัมพันธ์เพื่อให้มั่นใจว่าการดาเนินการประชาสัมพันธ์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล
  • 9. องค์ประกอบของการประชาสัมพันธ์ ถ้าหากพิจารณาจากกระบวนการสื่อสารเพื่อการประชาสัมพันธ์แล้ว ก็สามารถจาแนกองค์ประกอบ สาคัญของการประชาสัมพันธ์ออกเป็น 4 ประการ คือ 1. องค์กร สถาบันหรือหน่วยงาน ได้แก่ กิจการที่บุคคลหรือคณะบุคคลได้จัดทาขึ้น เป็นแหล่งข่าว แหล่งข้อมูลในการเผยแพร่ข้อมูลต่าง ๆ โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะดาเนินการใด ๆ ให้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี กิจการเหล่านี้อาจจะเป็นกิจการของรัฐบาล รัฐวิสาหกิจ องค์การสาธารณกุศล และธุรกิจเอกชน เช่น รัฐบาล กระทรวง ทบวง กรม หน่วยราชการ หรือหน่วยรัฐวิสาหกิจต่าง ๆ มูลนิธิ บริษัทห้างร้าน ธนาคารพาณิชย์ เป็นต้น 2. ข่าวสารประชาสัมพันธ์ เป็นข้อมูลข่าวสารที่องค์กร สถาบันหรือหน่วยงานต้องการเผยแพร่ได้แก่ เรื่องราวที่เป็นเนื้อหา สาระ รูปภาพ สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมาย ที่สามารถสื่อสารความเข้าใจได้
  • 10. 3. สื่อประชาสัมพันธ์ ได้แก่ เรื่องราวที่เป็นเนื้อหา สาระ รูปภาพ สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมาย อาจจะเป็นสื่อคาพูด เช่น การ สนทนา การประชุม การสัมมนา การอภิปราย การปาฐกถา ฯลฯ สื่อสิ่งพิมพ์ เช่น จดหมาย บัตรอวย พร แผ่นปลิว หนังสือ วารสาร รูปลอก ฯลฯ หรือสื่อภาพและเสียง เช่น ถ่ายภาพ สไลด์ แผ่นโปร่งใส วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ สไลด์มัลติวิชั่น เทปเสียง ภาพยนตร์ คอมพิวเตอร์ ฯลฯ ซึ่งเป็นสื่อที่ สามารถสื่อสารความเข้าใจได้ การเลือกใช้สื่อในการประชาสัมพันธ์มีความสาคัญ ถ้าเป็นบุคคลภายในอาจ ใช้โทรทัศน์วงจรปิด เสียงตามสาย ประกาศข่าว จดหมายข่าว ถ้าเป็นประชาชนทั่วไป สื่อประชาสัมพันธ์ จะต้องเผยแพร่ข้อมูลได้ในวงกว้าง เช่น วิทยุ โทรทัศน์ 4. กลุ่มประชาชนเป้ าหมายในการประชาสัมพันธ์ ได้แก่ กลุ่มบุคคลหรือประชาชนที่เป็นเป้ าหมายในการสื่อสารประชาสัมพันธ์ครั้งนั้น ๆ ดังนี้ 4.1 กลุ่มประชาชนภายใน หมายถึง กลุ่มบุคลากร เจ้าหน้าที่ พนักงาน ขององค์กร สถาบันหรือหน่วยงาน 4.2 กลุ่มประชาชนภายนอก หมายถึง กลุ่มบุคคลที่อยู่ภายนอกองค์กร สถาบันหรือหน่วยงาน อันได้แก่ กลุ่มประชาชนที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน องค์การหรือสถาบันโดยตรง กลุ่มประชาชนในท้องถิ่น และกลุ่ม ประชาชนทั่วไป
  • 11. การประเมินเว็บไซต์ 1. หน้าที่ของเว็บไซต์(Authority) เกี่ยวกับหน้าที่ของเว็บที่สร้างขึ้นนั้นต้องดูว่าใครหรือผู้ใช้เว็บนี้ อะไรคือความถูกต้อง เหมาะสม ชอบธรรม ระหว่างความสัมพันธ์ของเรื่องและการรับประกันคุณภาพของ เว็บเพจนี้ที่มีต่อผู้ชม 2. ความถูกต้อง (Accuracy) แหล่งข้อมูลและข้อเท็จจริงที่นามาสร้างเว็บสามารถแยกแยะเป็น ประเด็นรายการต่างๆ สามารถตรวจสอบย้อนหลังได้หรือไม่ 3. จุดประสงค์(Objective) จุดมุ่งหมายในการสร้างชัดเจนและบอกความสัมพันธ์ของสิ่งที่ต้องการ นั้นชัดเจน 4. ความเป็นปัจจุบัน (Currency) เว็บเพจที่สร้างขึ้นนั้นต้องแสดงวันที่ที่เป็นปัจจุบันด้วย เช่น บอกว่า สร้างเมื่อใดและมีการแก้ไขครั้งหลังสุดเมื่อใด 5. ความครอบคลุม (Coverage) การสร้างเว็บไซต์ต้องให้ตรงกับจุดสนใจ หัวเรื่องมีความชัดเจน เหมาะกับรูปภาพ โครงเรื่องและเนื้อหาสาระวิธีการค้นหาข้อมูลในเว็บไซต์ชัดเจน แหล่งอ้างอิง : ประเภทและส่วนประกอบของเว็บไซต์.(2554). http://www.websuay.com/th/web_page/web_component การประเมินเว็บไซด์ การออกแบบและพัฒนาเว็บได้เพิ่มขึ้นโดยลาดับและนับวันจะยิ่งทวีจานวนขึ้น ในปัจจุบันมีเว็บเพจ ออนไลน์ในระบบอินเทอร์เน็ตนับร้อย ๆ ล้านเว็บ แต่มีคาถามสาคัญที่ต้องมาหาคาตอบก็คือ เว็บแบบไหน ที่มีคุณภาพดี เว็บแบบใดจึงจะถือว่าเป็นเว็บที่มีคุณค่า และเหมาะสมสาหรับนามาใช้ประโยชน์ เป็น เรื่องที่ต้องตอบคาถามกันอยู่เสมอและยังไม่มีคาตอบที่ชัดเจน เมื่อพิจารณาแบบประเมินเว็บเพจของ ดร. แนนซี อีเวอร์ฮาร์ท (Everhart, 1996) ภาควิชาบรรณารักษและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น รัฐนิวยอร์ค สหรัฐอเมริกา ซึ่งกาหนดระดับการให้คะแนนเอาไว้อย่างน่าสนใจและน่าจะนามาขยายความ เพื่อประโยชน์ในการประเมินคุณภาพของเว็บสาหรับนักออกแบบและพัฒนาเว็บ รวมถึงผู้ที่ เกี่ยวข้องใน การจัดสารสนเทศผ่านระบบอินเทอร์เน็ต จะได้มีแนวทางในการตรวจสอบและประเมินคุณภาพที่สามารถ อธิบายเหตุผลได้
  • 12. โดยแนวคิดของอีเวอร์ฮาร์ท จะมีด้วยกัน 9 ด้านคือ 1. ความทันสมัย (Currency) 2. เนื้อหาและข้อมูล (Content and Information) 3. ความน่าเชื่อถือ (Authority) 4. การเชื่อมโยงข้อมูล (Navigation) 5. การปฏิบัติจริง (Experience) 6. ความเป็นมัลติมีเดีย (Multimedia) 7. การให้ข้อมูล (treatment) 8. การเข้าถึงข้อมูล (Access) 9. ความหลากหลายของข้อมูล (Miscellaneous) การโปรโมทเว็บไซต์ คือ การโฆษณาเผยแพร่เว็บไซต์ที่เราสร้างขึ้นให้เป็นที่รู้จักอย่างทั่วถึง โดยเฉพาะให้เป็นที่รู้จักของผู้ที่ใช้ อินเทอร์เน็ต ถือเป็นกลยุทธ์อย่างหนึ่งสาหรับใช้แจ้งข่าวสาร เพื่อเชิญชวนให้นักทองเว็บได้เข้ามาเยี่ยมชม เว็บไซต์ของตนโดยทั่วไปแล้วนักท่องเว็บมักจะทาการค้นหาข้อมูลของเว็บไซต์ผ่านทางเครื่องมือประเภท เว็บไดเรกทอรี่ และ Search Engine จึงสามารถนามาใช้เป็นช่องทางในการโปรโมทเว็บไซต์ การโปรโมทเว็บไซต์ เป็นการโฆษณาผ่านทางสื่อหนังสือพิมพ์โดยการลงโฆษณาในหนังสือพิมพ์ทั่วๆไปเพื่อให้คนรู้จัก และเข้าถึงได้โฆษณาผ่านทางบิลบอร์ดตามแหล่งชุมชน ถนนใหญ่ๆ หรือแหล่งที่มีคนผ่านในแต่ละ วันเป็นจานวนมากโฆษณาผ่านสื่อรถยนต์ เช่น โฆษณาด้วยการติดแบนเนอร์หรือชื่อเว็บไซต์ข้าง รถยนต์ของตัวเองหรือรถยนต์ประจาทาง ( รถเมล์ )ผ่านนามบัตร โดยการพิมพ์ชื่อเว็บไซต์หรือ URL ลงบนนามบัตร ซึ่งถือว่าเป็นอีกช่องทางหนึ่งผ่านเสื้อที่สวมใส่ โดยการพิมพ์ชื่อเว็บไซต์ลงบน เสื้อเพื่อให้ติดตาคนที่พบเห็นการโฆษณาผ่านถุงกระดาษ ถุงพลาสติก หรือแพคกิ้งข้างขวดหีบห่อ ต่างๆ
  • 13. การโปรโมทเว็บไซต์โดยใช้บริการของเว็บไดเรกทอรี่ มีทั้งแบบเสียค่าใช้จ่าย และไม่เสียค่าใช้จ่าย โดยหาก ต้องการให้ผลลัพธ์ของการค้นหาปรากฏอยู่ในลาดับต้นๆ อาจต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นอีก ได้แก่ yahoo.com,mickinley.com และ google.com ส่วนกรณีที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายผู้ใช้บริการจะต้องเป็นผู้จัดทาหรือกาหนดหมวดหมู่ที่ ต้องการขึ้นเอง โดยผลลัพธ์ที่ได้อาจไม่ปรากฏอยู่ลาดับต้นๆ โดยมีเว็บให้บริการได้แก่ sanook.com,hunsa.com,hotbot.com เป็นต้น การเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction)เป็นการผสมผสานกันระหว่างเทคโนโลยี ปัจจุบันกับกระบวนการออกแบบการเรียนการสอน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการเรียนรู้และแก้ปัญหาใน เรื่องข้อจากัดทางด้านสถานที่และเวลา โดยการสอนบนเว็บจะประยุกต์ใช้คุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลด์ ไวด์ เว็บ ในการจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งการเรียนการสอนที่จัดขึ้น ผ่านเว็บนี้อาจเป็นบางส่วนหรือทั้งหมดของกระบวนการเรียนการสอนก็ได้วิลด์ ไวด์ เว็บ เป็นบริการบน เครือข่ายอินเทอร์เน็ตซึ่งได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน เริ่มเข้ามาเป็น ที่รู้จักในวงการศึกษาใน ประเทศไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2538 ที่ผ่านมาเว็บได้เข้ามามีบทบาทสาคัญทางการศึกษาและ กลายเป็นคลังแห่ง ความรู้ที่ไร้พรมแดน ซึ่งผู้สอนได้ใช้เป็นทางเลือกใหม่ในการส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อเปิดประตูการศึกษาจาก ห้องเรียนไปสู่โลกแห่งการเรียนรู้อันกว้างใหญ่ รวมทั้งการนาการศึกษาไปสู่ผู้ที่ขาดโอกาสด้วย ข้อจากัด ทางด้านเวลาและสถานที่ (ถนอมพร เลาหจรัสแสง.2544) การเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction) เป็นการผสมผสานกันระหว่างเทคโนโลยี ปัจจุบันกับ กระบวนการออกแบบการเรียนการสอน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการเรียนรู้และแก้ปัญหาในเรื่องข้อจากัด ทางด้านสถานที่และเวลา โดยการสอนบนเว็บจะประยุกต์ใช้คุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลด์ ไวด์ เว็บ ใน การจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งการเรียนการสอนที่จัดขึ้นผ่านเว็บนี้อาจ เป็นบางส่วนหรือทั้งหมดของกระบวนการเรียนการสอนก็ได้
  • 14. ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บ การใช้เว็บเพื่อการเรียนการสอนเป็นการนาเอาคุณสมบัติของอินเทอร์เน็ต มาออกแบบเพื่อใช้ใน การศึกษา การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction) มีชื่อเรียกหลายลักษณะ เช่นการจัดการ เรียนการสอนผ่านเว็บ(Web-Based Instruction) เว็บการเรียน(Web-Based Learning) เว็บฝึกอบรม (Web- Based Training) อินเทอร์เน็ตฝึกอบรม (Internet-Based Training) อินเทอร์เน็ตช่วยสอน(Internet-Based Instruction) เวิลด์ไวด์เว็บฝึกอบรม (WWW-Based Training) และเวิลด์ไวด์เว็บช่วยสอน (WWW-Based Instruction) (สรรรัชต์ ห่อไพศาล. 2545) ทั้งนี้มีผู้นิยามและให้ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บ เอาไว้หลายนิยาม ได้แก่ คาน (Khan, 1997) ได้ให้คาจากัดความของการเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction)ไว้ว่าเป็นการ เรียนการสอนที่อาศัยโปรแกรมไฮเปอร์มีเดียที่ช่วยในการสอน โดยการใช้ประโยชน์จากคุณลักษณะและ ทรัพยากรของอินเทอร์เน็ต มาสร้างให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมายโดยส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนรู้ อย่างมากมายและสนับสนุนการเรียนรู้ในทุกทาง คลาร์ก (Clark, 1996) ได้ให้คาจากัดความของการเรียนการสอนผ่านเว็บว่า เป็นการเรียนการสอนรายบุคคล ที่นาเสนอโดยการใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์สาธารณะหรือส่วนบุคคล และแสดงผลในรูปของการใช้เว็บ บราวเซอร์สามารถเข้าถึงข้อมูลที่ติดตั้งไว้ได้โดยผ่านเครือข่าย รีแลน และกิลลานิ (Relan and Gillani, 1997) ได้ให้คาจากัดความของเว็บในการสอนเอาไว้ว่าเป็นการ กระทาของคณะหนึ่งในการเตรียมการคิดในกลวิธีการสอนโดยกลุ่มคอนสตรัคติวิซึ่มและการเรียนรู้ใน สถานการณ์ร่วมมือกัน โดยใช้ประโยชน์จากคุณลักษณะและทรัพยากรในเวิลด์ไวด์เว็บ ประเภทของการเรียนการสอนผ่านเว็บ การเรียนการสอนผ่านเว็บสามารถทาได้ในหลายลักษณะ โดยแต่ละเนื้อหาของหลักสูตรก็จะมีวิธีการจัดการ เรียนการสอนผ่านเว็บที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งในประเด็นนี้มีนักการศึกษาหลายท่านได้ให้ข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับประเภทของการเรียนการสอนผ่านเว็บ ดังต่อไปนี้ พาร์สัน(Parson,1997) ได้แบ่งประเภทของการเรียนการสอนผ่านเว็บออกเป็น 3 ลักษณะคือ 1.เว็บช่วยสอนแบบรายวิชาอย่างเดียว (Stand - Alone Courses) เป็นรายวิชาที่มีเครื่องมือและแหล่งที่เข้าไป ถึงและเข้าหาได้โดยผ่านระบบอินเทอร์เน็ตอย่างมากที่สุด ถ้าไม่มีการสื่อสารก็สามารถที่จะไปผ่านระบบ คอมพิวเตอร์สื่อสารได้ลักษณะของเว็บช่วยสอนแบบนี้มีลักษณะเป็นแบบวิทยาเขตมีนักศึกษาจานวนมากที่ เข้ามาใช้จริงแต่จะมีการส่งข้อมูลจากรายวิชาทางไกล
  • 15. 2.เว็บช่วยสอนแบบเว็บสนับสนุนรายวิชา (Web Supported Courses) เป็นรายวิชาที่มีลักษณะเป็นรูปธรรมที่ มีการพบปะระหว่างครูกับนักเรียนและมีแหล่งให้มาก เช่น การกาหนดงานที่ให้ทาบนเว็บ การกาหนดให้ อ่าน การสื่อสารผ่านระบบคอมพิวเตอร์ หรือการมีเว็บที่สามารถชี้ตาแหน่งของแหล่งบนพื้นที่ของเว็บไซต์ โดยรวมกิจกรรมต่างๆ เอาไว้ 3.เว็บช่วยสอนแบบศูนย์การศึกษา (Web Pedagogical Resources) เป็นชนิดของเว็บไซต์ที่มีวัตถุดิบเครื่องมือ ซึ่งสามารถรวบรวมรายวิชาขนาดใหญ่เข้าไว้ด้วยกันหรือเป็นแหล่งสนับสนุนกิจกรรมทางการศึกษา ซึ่งผู้ที่ เข้ามาใช้ก็จะมีสื่อให้บริการอย่างรูปแบบอย่างเช่น เป็นข้อความ เป็นภาพกราฟิก การสื่อสารระหว่างบุคคล และการทาภาพเคลื่อนไหวต่างๆ เป็นต้น การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ (Site Structure Design) คือ การจัดหมวดหมู่ และลาดับของเนื้อหา แล้วจัดทาเป็นแผนผังโครงสร้างเว็บไซต์ ซึ่งจะทาให้เรารู้ ว่ามีเนื้อหาอะไรบ้างภายในเว็บไซต์ และแต่ละหน้าเว็บเพจนั้นมีการเชื่อมโยงกันอย่างไร โครงสร้างเว็บไซต์ที่ดีจะช่วยให้ผู้ชมไม่สับสนและค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว ไม่ควรเป็น ลาดับที่ลึกหลายชั้นเกินไป เพราะผู้ใช้จะเบื่อเสียก่อน กว่าจะค้นหาเจอหน้าที่ต้องการ 1. รวบรวมข้อมูล เนื้อหาที่จะนามาสร้างเว็บ แล้วนามาจัดหมวดหมู่ และลาดับเนื้อหาก่อนหลัง (ตัดส่วนที่ไม่จาเป็นออก) แล้ววางโครงสร้างเว็บไซต์ในภาพรวมทั้งหมด 2. จัดทาแผนผังโครงสร้างการเชื่อมโยงไฟล์ เป็นแผนผังที่แสดงโครงสร้างข้อมูล ลาดับชั้น และ
  • 16. การเชื่อมโยงส่วนต่างๆ อย่างชัดเจน 3. ออกแบบหน้าแรกของเว็บไซต์ หรือที่เรียกว่า Home page ขั้นตอนการออกแบบเว็บไซต์ ขั้นแรกออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ ขั้นที่สองออกแบบการเชื่อมโยงไฟล์
  • 17. ขั้นที่สามออกแบบหน้าโฮมเพ็จ (Home Page) วิธีการออกแบบหน้าตาของเว็บไซต์อยู่ 3 รูปแบบ คือ ออกแบบหน้าเว็บไซต์ที่เน้นการนาเสนอเนื้อหามากๆ เป็นการออกแบบเว็บไซต์ที่มีการนาเสนอเนื้อหามากกว่ารูปภาพ โดยจะใช้โครงสร้างของตารางเป็น หลัก เพื่อใส่ข้อความแบบหน้าสารบัญ และรูปภาพที่เป็นชิ้นเล็กๆได้ ออกแบบหน้าเว็บไซต์ที่เน้นภาพกราฟิกเป็นหลัก เป็นการออกแบบเว็บไซต์ที่มีภาพกราฟิกที่สวยงามถูกจัดวางไว้ในหน้าโฮมเพจ ซึ่งแตกต่างจากข้อ แรกมากเพราะจะไม่ค่อยมีข้อความในเว็บเพจ แต่จะเป็นการ Link ที่ภาพเพื่อเข้าไปยังหน้าเว็บเพจอื่นๆ ต่อไป การสร้างเว็บไซต์แบบนี้จะให้โปรแกรม Photoshop สาหรับตกแต่งภาพก่อนนาไปใช้บนหน้าแว็บ ออกแบบหน้าเว็บไซต์ที่มีทั้งภาพและเนื้อหา เป็นการออกแบบหน้าเว็บไซต์ที่ผสมกันระหว่างข้อ1 และ 2 ข้างต้น โดยจะเน้นการจัดวางภาพที่ตัด แบ่งเป็นชิ้นเล็กๆก่อน หลังจากนั้นจึงใส่ข้อความประกอบภาพลงไป เพื่อให้เว็บไซต์ของเรามีความสวยงาม ด้วยภาพกราฟิกที่นามาประกอบและใส่เนื้อหาได้อย่างสมบูรณ์ด้วย
  • 18. ประเภทของเว็บไซต์ออกเป็น 7 ประเภท ดังนี้ 1. เว็บไซต์ส่วนตัว (Personal website) เป็นเว็บที่สร้างขึ้นเพื่อเผยแพร่ข้อมูลส่วนตัว เช่น ข้อมูล เกี่ยวกับส่วนตัว การศึกษา การงาน ความสนใจ เป็นต้น 2. เว็บไซต์เพื่อธุรกิจการค้า (Promotional website) เว็บไซต์นี้มีจุดประสงค์ เพื่อการค้าขายสินค้า การโฆษณาสินค้า การส่งเสริมการขาย ในเว็บไซต์จะมีข้อมูลของสินค้า ราคาและการบริการต่างๆ ซึ่งใน ปัจจุบันตลาดประเภทนี้กาลังใช้กันมากขึ้น 3. เว็บไซต์ที่เสนอข่าวประจาวัน (Current website) เป็นเว็บที่เสนอข้อมูลประเภทข่าว ซึ่งจะ เปลี่ยนไปเป็นประจาวัน เช่น เว็บไซต์ของหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ เดลินิวส์ เป็นต้น 4. เว็บไซต์ส่งเสริมการบริการเป็นสื่อกลางของข้อมูล (Share Information website) เป็นเว็บที่มี จุดประสงค์ที่จะใช้เป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูลตามกลุ่มสนใจ เช่น แบ่งตามอาชีพ ตามงานอดิเรก เป็นต้น 5. เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นเพื่อชักชวนหรือโฆษณาชวนเชื่อ (Persuasive website) เป็นเว็บที่เชิญชวนหรือ ชักนาให้เห็นคล้อยตามในเรื่องที่ผู้สร้างต้องการ 6. เว็บไซต์เพื่อการสอน (Instructional website) เป็นเว็บที่สร้างขึ้นเป็นการสอนโดยเฉพาะเป็น รายวิชา (Course) อาจแยกย่อยเป็นหัวเรื่องเรื่องย่อยๆ ก็ได้ สาหรับเว็บไซต์ประเภทนี้จะจากัดผู้ใช้เฉพาะราย 7. เว็บไซต์ที่จากัดเฉพาะสมาชิก (Registrational website) เป็นเว็บไซต์ที่บริการเฉพาะสมาชิก เท่านั้น ผู้ที่จะใช้ต้องลงทะเบียนตามราคาที่กาหนดโดยบัตรเครดิต หรือผ่านธนาคาร ผู้ให้บริการจึงจะให้ หมายเลขสมาชิกและรหัสผ่าน แต่การขายสินค้าหรือบริการใดๆ ของเว็บไซต์เหล่านี้ จะเชิญชวนผู้ที่สนใจ โดยมีตัวอย่างสินค้าหรือบริการให้ศึกษาบางส่วนจนพอใจด้วย องค์ประกอบของเว็บไซต์จะเป็นปัจจัยหลักที่มีผลต่อเว็บไซต์ ๆ หนึ่งในการที่จะประสบผลสาเร็จดังที่ตั้ง วัตถุประสงค์ไว้หรือไม่ โดยทั่วไปประกอบด้วย 1. Domain Name :ชื่อและที่อยู่ของเว็บไซต์ในการเรียกข้อมูลเว็บไซต์ของท่านมาแสดงผล เช่น www.yourcompany.com เป็นต้น ปัจจุบันมักจดชื่อ domain name ให้เป็นชื่อที่สื่อถึงสินค้าหรือบริการหรือ เป็นชื่อองค์กร และอาศัยการทาประชาสัมพันธ์ผ่าน Search Engine และ Web Directory การเลือกใช้ชื่อ เว็บไซต์ที่เหมาะสมก็มีส่วนในการทาให้เว็บไซต์ของคุณประสบความสาเร็จเช่นกัน
  • 19. 2. Design & Development : การออกแบบและจัดทาเว็บไซต์โดยทั่วไปแล้วสาหรับเว็บไซต์ ประชาสัมพันธ์องค์กรการออกแบบเว็บไซต์ เป็นเพียงส่วนที่ทาหน้าที่นาเสนอข้อมูลขององค์กร หรือบริษัท ให้แก่ผู้เยี่ยมชมได้อย่างสะดวก และด้วยการออกแบบที่ดีที่จะสื่อถึงความเป็นเอกลักษณ์ขององค์กร หรือ บริษัทจะนามาซึ่งความน่าเชื่อถือให้เกิดแก่ผู้เข้าเยี่ยมชมได้หากแต่มักมีคนเข้าใจผิดเกี่ยวกับการออกแบบ เว็บไซต์ว่าเว็บไซต์ที่มีการออกแบบดีมีความสวยงาม และมีการนาเสนอที่น่าสนใจจะสามารถดึงดูด และเพิ่ม ปริมาณผู้เข้าเยี่ยมชมได้ในความเป็นจริงแล้ว การเข้าถึงกลุ่มเป้ าหมายและเพิ่มปริมาณของผู้เข้าเยี่ยมชมนั้น เป็นหน้าที่หลักของการทาประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ไม่ใช่จากการออกแบบและจัดทาเว็บไซต์ 3. Content :เนื้อหาของเว็บไซต์ถือว่าเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดในองค์ประกอบของเว็บไซต์ เพราะคือสิ่งที่ผู้เยี่ยม ชมค้นหาโดยปกติแล้วเราสามารถใส่เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับสินค้า หรือบริการขององค์กรของเราได้โดย ละเอียด อีกทั้งจาต้องนาเสนออย่างชัดเจนอีกด้วย เช่น รูปภาพของสินค้า หรือสถานที่บริการ เป็นต้น จึงจะ ทาให้ผู้เข้าเยี่ยมชมได้ประโยชน์จากการเข้าชมเว็บไซต์อย่างแท้จริงอันจานามาซึ่งผลประโยชน์ทางธุรกิจใน อนาคตได้ 4. Hosting : พื้นที่จัดวางและติดตั้งเว็บไซต์ เป็นองค์ประกอบที่สาคัญมากไม่น้อยกว่าเนื้อหาของเว็บไซต์ (Content) เพราะการเลือกผู้ให้บริการโฮสติ้งที่ดีมีการซัพพอร์ตลูกค้าที่ดีและรวดเร็ว เซิร์ฟเวอร์มีความ เสถียรภาพสูง สามารถติดต่อเจ้าหน้าที่ที่ดูแลเซิร์ฟเวอร์ได้ตลอดเวลา คือหัวใจสาคัญในการเลือกผู้ให้บริการ ด้านนี้ นอกจากความพร้อมในการออกแบบและจัดทาเว็บไซต์แล้ว เรายังมีความพร้อมอย่างยิ่งในการ ให้บริการโฮสติ้งแก่ลูกค้าเราเป็นอย่างดีอีกด้วย ซึ่งทาให้เว็บไซต์และอีเมล์ของลูกค้าสามารถเข้าถึงได้ ตลอดเวลาอันส่งผลให้ธุรกิจของลูกค้ามีความต่อเนื่องในการทางานอยู่เสมอ 5. Promotion :การทาประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ เป็นองค์ประกอบที่สาคัญมากอีกอย่างหนึ่ง เมื่อเราได้จัดทา เว็บไซต์เสร็จแล้วจะต้องอาศัยการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มเป้ าหมายมากที่สุดโดยอาศัย วิธีการต่างผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ต เช่น Search Engine Submission, Registration Web Directory, Mailing List, Banner Link Exchange เหล่านี้เป็นต้น นอกเหนือจากนี้ อาจใช้ชื่อ domain name ในการประชาสัมพันธ์ เว็บไซต์ผ่านสื่ออื่น ๆ เช่น ในนามบัตร, ใบปลิวหรือ โบรชัวร์ของบริษัท เป็นต้น
  • 20. เว็บไซต์ เว็บไซต์(อังกฤษ: website, web site, Web site) หมายถึง หน้าเว็บเพจหลายหน้า ซึ่งเชื่อมโยงกันผ่านทาง ไฮเปอร์ลิงก์ ส่วนใหญ่จัดทาขึ้นเพื่อนาเสนอข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์ โดยถูกจัดเก็บไว้ในเวิลด์ไวด์เว็บ หน้า แรกของเว็บไซต์ที่เก็บไว้ที่ชื่อหลักจะเรียกว่า โฮมเพจ เว็บไซต์โดยทั่วไปจะให้บริการต่อผู้ใช้ฟรี แต่ใน ขณะเดียวกันบางเว็บไซต์จาเป็นต้องมีการสมัครสมาชิกและเสียค่าบริการเพื่อที่จะดูข้อมูล ในเว็บไซต์นั้น ซึ่ง ได้แก่ข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลตลาดหลักทรัพย์หรือข้อมูลสื่อต่างๆ ผู้ทาเว็บไซต์มีหลากหลายระดับ ตั้งแต่ สร้างเว็บไซต์ส่วนตัว จนถึงระดับเว็บไซต์สาหรับธุรกิจหรือองค์กรต่างๆ การเรียกดูเว็บไซต์โดยทั่วไปนิยม เรียกดูผ่านซอฟต์แวร์ในลักษณะของ เว็บเบราว์เซอร์
  • 21. โฮมเพจ โฮมเพจ (Home Page) คือเว็บเพจหน้าแรกซึ่งเป็นทางเข้าหลักของเว็บไซต์ ปกติเว็บเพจทุกๆ หน้าในเว็บ ไซท์จะถูกลิงค์ (โดยตรงหรือโดยอ้อมก็ตาม) มาจากโฮมเพจ ดังนั้นบางครั้งจึงมีผู้ใช้คาว่าโฮมเพจโดย หมายถึงเว็บไซท์ทั้งหมด แต่ความจริงแล้วโฮมเพจหมายถึงหน้าแรกเท่านั้น ถ้าเปรียบกับร้านค้า โฮมเพจก็ เป็นเสมือนหน้าร้านนั่นเอง ดังนั้นจึงมักถูกออกแบบให้โดดเด่นและน่าสนใจมากที่สุด
  • 22. เว็บเพจ เว็บเพจ (Web Page) หมายถึง หน้าเอกสารของบริการ WWW ซึ่งตามปกติจะถูกเก็บอยู่ในรูปแบบไฟล์ HTML (Hyper Text Markup Language) โดยไฟล์ HTML 1 ไฟล์ก็คือเว็บเพจ 1 หน้านั่นเอง ภายในเว็บ เพจอาจประกอบไปด้วยข้อความ ภาพ เสียง วิดีโอ และภาพเคลื่อนไหวแบบมัลติมีเดีย นอกจากนี้เว็บเพจ แต่ละหน้าจะมีการเชื่อมโยงหรือ “ลิงค์” (Link) กัน เพื่อให้ผู้ชมเรียกดูเอกสารหน้าอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้ สะดวกอีกด้วย
  • 23. ส่วนประกอบของหน้าเว็บไซต์ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน 1. ส่วนหัวของเว็บเพ็จ (Page Header) เป็นส่วนที่อยู่ตอนบนสุดของหน้า และเป็นส่วนที่สาคัญที่สุดของหน้า เพราะเป็นส่วนที่ดึงดูดผู้ชมให้ ติดตามเนื้อหาภายในเว็บไซต์มักใส่ภาพกราฟิกเพื่อสร้างความประทับใจส่วนใหญ่ประกอบด้วย - โลโก้ (Logo) เป็นสิ่งที่เว็บไซต์ควรมี เป็นตัวแทนของเว็บไซต์ได้เป็นอย่างดี และยังทาให้เว็บ น่าเชื่อถือ - ชื่อเว็บไซต์ - เมนูหลักหรือลิงค์ (Navigation Bar) เป็นจุดเชื่อมโยงไปสู่เนื้อหาของเว็บไซต์ 2.ส่วนของเนื้อหา (Page Body) เป็นส่วนที่อยู่ตอนกลางของหน้า ใช้แสดงข้อมูลเนื้อหาของเว็บไซต์ ซึ่งประกอบด้วยข้อความ, ตารางข้อมูล ภาพกราฟิก วีดีโอ และอื่นๆ และอาจมีเมนูหลักหรือเมนูเฉพาะกลุ่มวางอยู่ในส่วนนี้ด้วย สาหรับส่วนเนื้อหาควรแสดงใจความสาคัญที่เป็นหัวเรื่องไว้บนสุด ข้อมูลมีความกระชับ ใช้รูปแบบ ตัวอักษรที่อ่านง่าย และจัด Layout ให้เหมาะสมและเป็นระเบียบ
  • 24. 3. ส่วนท้ายของหน้า (Page Footer) เป็นส่วนที่อยู่ด้านล่างสุดของหน้า จะมีหรือไม่มีก็ได้ มักวางระบบนาทางที่เป็นลิงค์ข้อความง่าย ๆ และ อาจแสดงข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาภายในเว็บไซต์ เช่น เจ้าของเว็บไซต์, ข้อความแสดงลิขสิทธิ์, วิธีการ ติดต่อกับผู้ดูแลเว็บไซต์, คาแนะนาการใช้เว็บไซต์ เป็นต้น ส่วนประกอบย่อยอื่นๆ ที่จาเป็น 1. Text เป็นข้อความปกติ โดยเราสามารถตกแต่งให้สวยงามและมีลูกเล่นต่างๆ ดังเช่นโปรแกรม ประมวลคา 2. Graphic ประกอบด้วยรูปภาพ ลายเส้น ลายพื้น ต่างๆ มากมาย 3. Multimedia ประกอบด้วยรูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว และแฟ้มเสียง 4. Counter ใช้นับจานวนผู้ที่เข้ามาเยี่ยมชมเว็บไซต์ของเรา 5. Cool Links ใช้เชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์ของตนเองหรือเว็บไซต์ของคนอื่น 6. Forms เป็นแบบฟอร์มที่ให้ผู้เข้าเยี่ยมชม กรอกรายละเอียด แล้วส่งกลับมายังเว็บไซต์ 7. Frames เป็นการแบ่งจอภาพเป็นส่วนๆ แต่ละส่วนก็จะแสดงข้อมูลที่แตกต่างกันและเป็นอิสระจาก กัน 8. Image Maps เป็นรูปภาพขนาดใหญ่ที่กาหนดส่วนต่างๆ บนรูป เพื่อเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์อื่นๆ 9. JavaApplets เป็นโปรแกรมสาเร็จรูปเล็กๆ ที่ใส่ลงในเว็บไซต์ เพื่อให้การใช้งานเว็บไซต์มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
  • 25. หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร การสื่อสาร ชีวิตเป็นเรื่องของการเรียนรู้และสิ่งหนึ่งที่สาคัญและต้องมีการเรียนรู้คือ ความสัมพันธ์ หรือ มนุษย สัมพันธ์ เพราะทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้มักเป็นบทเรียนของกันและกัน ถ้าไม่ใส่ใจเรียนรู้ซึ่งกันและกันก็จะ อยู่ในโลกนี้ด้วยความยากลาบาก เพราะชีวิตจะมีคุณค่าและรู้สึกมีความสุขเมื่อได้แสดงออกอย่างที่รู้สึก มี โอกาสเรียนรู้เรื่องราวและสิ่งใหม่ๆตามที่เราต้องการ ดังนั้นความสาเร็จของมนุษย์ในการดารงชีวิตทั่วไปจึงมักมีข้อกาหนดไว้อย่างกว้างๆว่า เราจะต้อง เข้ากับคนที่เราติดต่อด้วยให้ได้และต้องเข้าให้ได้ดี ด้วยการเรียนรู้ที่จะสร้างความสัมพันธ์ร่วมกัน โดยอาศัย วิธีการสื่อสารและหลักจิตวิทยา ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์โดยทั่วไปมักถูกมองว่าเป็นเรื่องของศิลปะ (Arts) มากกว่าศาสตร์(Science) ซึ่งก็หมายความว่า การเรียนรู้เกี่ยวกับความสัมพันธ์ของบุคคลแต่เพียงอย่าง เดียว โดยขาดศาสตร์ของการสื่อสาร ย่อมขาดศิลปะในการนาไปปรับใช้ในชีวิตจริงให้ประสบความสาเร็จ ได้ ความหมายของการสื่อสาร ได้มีนักวิชาการหลายท่านให้ความหมายของการสื่อสารไว้ในหลายแง่มุมเช่น จอร์จ เอ มิลเลอร์: เป็นการถ่ายทอดข่าวสารจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง จอร์จเกิร์บเนอร์: เป็นการแสดงกริยาสัมพันธ์ทางสังคมโดยใช้สัญลักษณ์และระบบสาร วิลเบอร์ ชแรมส์: เป็นการมีความเข้าใจร่วมกันต่อเครื่องหมายที่แสดงข่าวสารซึ่งสามารถสรุปให้เข้าใจได้ ง่ายๆคือ การถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารจากบุคคลฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่าผู้ส่งสารไปยังยังบุคคลอีกฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่า ผู้รับสารโดยผ่านช่องทางในการสื่อสารโดยมีองค์ประกอบที่สาคัญคือ ผู้ส่งสาร(Sender) สาร(Message) ช่องทาง(Channel) และตัวผู้รับสาร(Reciever) ซึ่งมักเรียกกันว่า SMCR วัตถุประสงค์ของการสื่อสาร การสื่อสารในชีวิตของแต่ละบุคคลนั้นล้วนมีวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกันออกไป และส่งผลต่อการ ดาเนินชีวิตได้คือ ทาให้ไม่รู้สึกโดดเดี่ยว ทาให้ทราบการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น สร้างความสัมพันธ์ทางสังคม ทาให้เกิดการแสดงออก ทาให้เกิดการพักผ่อนหย่อนใจ ทาให้เกิดการเรียนรู้ ทาให้เกิดกาลังใจ(หา ภาพประกอบแต่ละประเภท)
  • 26. ประเภทของการสื่อสาร การสื่อสารภายในบุคคล(Intrapersonal Communication) การคิดหรือจินตนาการกับตัวเองเป็นการ คิดไตร่ตรองกับตัวเองก่อนที่จะมีการสื่อสาร ประเภทอื่นต่อไป การสื่อสารระหว่างบุคคล(Interpersonal Communication) การที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปมาทาการสื่อสารกันอย่างมีวัตถุประสงค์ เช่นการพูดคุย ปรึกษาหารือ ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง การสื่อสารกลุ่มย่อย(Small-group) Communication) การสื่อสารที่มีบุคคลร่วมกันทาการสื่อสารเพื่อทากิจกรรมร่วมกันแต่จานวนไม่เกิน 25 คน เช่นชั้น เรียนขนาดเล็ก ห้องประชุมขนาดเล็ก การสื่อสารกลุ่มใหญ่(Large-group Communication) การสื่อสารระหว่างคนจานวนมาก เช่นภายในห้องประชุมใหญ่ โรงภาพยนตร์ โรงละครชั้นเรียน ขนาดใหญ่ การสื่อสารในองค์กร(Organization Communication) การสื่อสารระหว่างสมาชิกภายในหน่วยงานเพื่อปฏิบัติงานให้สาเร็จลุล่วง เช่นการสื่อสารระหว่า เพื่อนร่วมงาน การสื่อสารมวลชน(Mass Communication) การสื่อสารกับคนจานวนมากในหลายๆพื้นที่พร้อมกัน โดยใช้สื่อมวลชน เช่น หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์เป็นสื่อกลาง เหมาะสาหรับการส่งข่าวสารไปยังผู้คนจานวนมากๆ ในเวลาเดียวกัน การสื่อสารระหว่างประเทศ(International Communication) การสื่อสารระหว่างบุคคลที่มีความแตกต่างกันใน เชื้อชาติ ภาษา วัฒนธรรม การเมืองและสังคม เช่นการสื่อสารทางการทูต การสื่อสารเจรจาต่อรองเพื่อการทาธุรกิจ หลักออกแบบเว็บไซต์คือ การวางแผนการจัดลาดับ เนื้อหาสาระของเว็บไซต์ ออกเป็นหมวดหมู่ เพื่อจัดทา
  • 27. เป็นโครงสร้างในการจัดวางหน้าเว็บเพจทั้งหมด เปรียบเสมือนแผนที่ ที่ทาให้เห็นโครงสร้างทั้งหมดของ เว็บไซต์ ช่วยในนักออกแบบเว็บไซต์ไม่ให้หลงทาง การจัดโครงสร้างของเว็บไซต์ มีจุดมุ่งหมายสาคัญคือ การที่จะทาให้ผู้เข้าเยี่ยมชม สามารถค้นหาข้อมูลในเว็บเพจได้อย่างเป็นระบบ ซึ่งถือว่าเป็นขั้นตอนที่สาคัญ ที่สามารถสร้างความสาเร็จให้กับผู้ที่ทาหน้าที่ในการออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ (Webmaster) การ ออกแบบโครงสร้างหรือจัดระเบียบของข้อมูลที่ชัดเจน แยกย่อยเนื้อหาออกเป็นส่วนต่าง ๆ ที่สัมพันธ์กัน และให้อยู่ในมาตรฐานเดียวกัน จะช่วยให้น่าใช้งานและง่าย ต่อการเข้าอ่านเนื้อหาของผู้ใช้เว็บไซต์ หลักการออกแบบเว็บไซต์ ควรพิจารณาดังนี้ 1. กาหนดวัตถุประสงค์ โดยพิจารณาว่าเป้ าหมายของการสร้างเว็บไซต์นี้ทาเพื่ออะไร 2. ศึกษาคุณลักษณะของผู้ที่เข้ามาใช้ว่ากลุ่มเป้ าหมายใดที่ผู้สร้างต้องการสื่อสาร ข้อมูลอะไรที่พวกเขา ต้องการโดยขั้นตอนนี้ควรปฏิบัติควบคู่ไปกับขั้นตอนที่หนึ่ง 3. วางแผนเกี่ยวกับการจัดรูปแบบโครงสร้างเนื้อหาสาระ การออกแบบเว็บไซต์ต้องมีการจัด โครงสร้างหรือจัดระเบียบข้อมูลที่ชัดเจน การที่เนื้อหามี ความต่อเนื่องไปไม่สิ้นสุดหรือกระจายมากเกินไป อาจทาให้เกิดความสับสนต่อผู้ใช้ได้ฉะนั้นจึงควรออกแบบให้มีลักษณะที่ชัดเจนแยกย่อยออกเป็นส่วนต่าง ๆ จัดหมวดหมู่ในเรื่องที่สัมพันธ์กัน รวมทั้งอาจมีการแสดงให้ผู้ใช้เห็นแผนที่โครงสร้างเพื่อป้ องกันความ สับสนได้ 4. กาหนดรายละเอียดให้กับโครงสร้าง ซึ่งพิจารณาจากวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้โดยตั้งเกณฑ์ในการใช้ เช่น ผู้ใช้ควรทาอะไรบ้าง จานวนหน้าควรมีเท่าใด มีการเชื่อมโยง มากน้อยเพียงใด 5. หลังจากนั้น จึงทาการสร้างเว็บไซต์แล้วนาไปทดลองเพื่อหาข้อผิดพลาดและทาการแก้ไขปรับปรุง แล้วจึงนาเข้าสู่เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นขั้นสุดท้าย การออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ที่ดี จะช่วยกลุ่มผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลสารสนเทศเป็นอย่างมาก การออกแบบ เว็บไซต์ที่ดีควรประกอบด้วย 1. โครงสร้างที่ชัดเจน ผู้ออกแบบเว็บไซต์ควรจัดโครงสร้างหรือจัดระเบียบของข้อมูลที่ชัดเจน แยก ย่อยเนื้อหาออกเป็นส่วนต่าง ๆ ที่สัมพันธ์กันและให้อยู่ในมาตรฐานเดียวกัน จะช่วยให้น่าใช้งานและง่าย ต่อ การอ่านเนื้อหาของผู้ใช้
  • 28. 2. การใช้งานที่ง่าย ลักษณะของเว็บที่มีการใช้งานง่ายจะช่วยให้ผู้ใช้รู้สึกสบายใจต่อการอ่านและ สามารถทาความเข้าใจกับเนื้อหาได้อย่างเต็มที่ โดยไม่ต้องมาเสียเวลาอยู่กับการทาความเข้าใจ การใช้งานที่ สับสนด้วยเหตุนี้ผู้ออกแบบจึงควรกาหนดปุ่มการใช้งานที่ชัดเจน เหมาะสม โดยเฉพาะปุ่มควบคุมเส้นทาง การเข้าสู่เนื้อหา (Navigation) ไม่ว่าจะเป็นเดินหน้า ถอยหลัง หากเป็นเว็บไซต์ที่มีเว็บเพจจานวนมาก ควรจะ จัดทาแผนผังของเว็บไซต์(Site Map) ที่ช่วยให้ผู้ใช้ทราบว่า ตอนนี้อยู่ ณ จุดใด หรือเครื่องมือสืบค้น (Search Engine) ที่ช่วยในการค้นหาหน้าที่ที่ต้องการ 3. การเชื่อมโยงที่ดี ลักษณะไฮเปอร์เท็กซ์ที่ใช้ในการเชื่อมโยง ควรอยู่ในรูปแบบที่เป็นมาตรฐาน ทั่วไปและ ต้องระวังเรื่องของตาแหน่งในการเชื่อมโยง การที่จานวนการเชื่อมโยงมากและกระจัดกระจายอยู่ทั่วไปใน หน้าอาจก่อให้เกิดความสับสน นอกจากนี้คาที่ใช้สาหรับการเชื่อมโยงจะต้องเข้าใจง่ายมีความชัดเจนและไม่ สั้นจนเกินไป นอกจากนี้ในแต่ละเว็บเพจที่สร้างขึ้นมาควรมีจุดเชื่อมโยงกลับมายังหน้าแรกของเว็บไซต์ที่ กาลังใช้งานอยู่ด้วย ทั้งนี้เผื่อว่าผู้ใช้เกิดหลงทาง และไม่ทราบว่าจะทาอย่างต่อไปดีจะได้มีหนทางกลับมาสู่ จุดเริ่มต้นใหม่ ระวังอย่าให้มีหน้าที่ไม่มีการเชื่อมโยง (Orphan Page) เพราะจะทาให้ผู้ใช้ไม่รู้จะทาอย่างไร ต่อไป 4. ความเหมาะสมในหน้าจอ เนื้อหาที่นาเสนอในแต่ละหน้าจอควรสั้น กระชับ และทันสมัย หลีกเลี่ยงการใช้ หน้าจอที่มีลักษณะการเลื่อนขึ้นลง (Scrolling) แต่ถ้าจาเป็นต้องมี ควรจะให้ข้อมูลที่มี ความสาคัญอยู่บริเวณ ด้านบนสุดของหน้าจอ หลีกเลี่ยงการใช้กราฟิกด้านบนของหน้าจอ เพราะถึงแม้จะดูสวยงาม แต่จะทาให้ผู้ใช้ เสียเวลาในการได้รับข้อมูลที่ต้องการ แต่หากต้องมีการใช้ภาพประกอบก็ควรใช้เฉพาะที่มีความสัมพันธ์กับ เนื้อหาเท่านั้น นอกจากนี้การใช้รูปภาพเพื่อเป็นพื้นหลัง (Background) ไม่ควรเน้นสีสันที่ฉูดฉาดมากนัก เพราะอาจจะไปลดความเด่นชัดของเนื้อหาลง ควรใช้ภาพที่มีสีอ่อน ๆ ไม่สว่างจนเกินไปรวมไปถึงการใช้ เทคนิคต่าง ๆ เช่น ภาพเคลื่อนไหว หรือตัวอักษรวิ่ง (Marquees) ซึ่งอาจจะเกิดการรบกวนการอ่านได้ควรใช้ เฉพาะที่จาเป็นจริง ๆ เท่านั้นตัวอักษรที่นามาแสดงบนจอภาพควรเลือกขนาดที่อ่านง่าย ไม่มีสีสันและ ลวดลายมากเกินไป 5.ความรวดเร็ว ความรวดเร็วเป็นสิ่งสาคัญประการหนึ่งที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ ผู้ใช้จะเกิดอาการเบื่อหน่าย และหมดความสนใจกับเว็บที่ใช้เวลาในการแสดงผลนาน สาเหตุสาคัญที่จะทาให้การแสดงผลนานคือการ ใช้ภาพกราฟิกหรือภาพเคลื่อนไหว