SlideShare a Scribd company logo
บ ท ที่ ٣ วิ ธี ก า ร ศึ ก ษ า                                              (Methodology)
งานเสาเข็ม
เสาเข็ ม เป็ น ส่ ว นประกอบของฐานรากในการถ่ า ยนำำา หนั ก ของฐานรากลงสู่ ดิ น
เนื่องจากต้องการลดขนาดของฐานราก กรณีฐานรากรับนำำา หนักจากเสามากและ
พืำ น ที่ ก่ อ สร้ า งจำา กั ด หรื อ ในกรณี ที่ ดิ น มี คุ ณ สมบั ติ ก ารรั บ นำำา หนั ก ได้ น้ อ ยเช่ น ดิ น
เหนียว เป็นต้น เสาเข็มที่นิยมใช้มีอยู่ 2 ประเภทใหญ่ๆคือ เสาเข็ม ตอก และเสา
เข็ ม เจาะ การที่ จ ะเลื อ กใช้ ป ระเภทของเสาเข็ ม ขึำ น อยู่ กั บ สิ่ ง แวดล้ อ มในพืำ น ที่
ก่อสร้าง เช่น เส้นทางคมนาคม สิ่งก่อสร้างใกล้เคียง สภาพชุมชน และขนาดพืำนที่
ของงานก่อสร้างเอง
3.1.1.การควบคุมและตรวจสอบงานเสาเข็มตอก
เสาเข็มตอกในปัจจุบันนีำทำาด้วยคอนกรีตอัดแรงซึ่งมีให้เลือกอยู่ 4 ชนิดคือ เสาเข็ม
สี่ เหลี่ย มตั น ใช้กั บดิ น แข็ง เสาเข็ม หน้ า ตั ด ตั ว ไอซึ่ ง ใช้ กั บ ดิ น เหนี ย วหรื อ ดิ น อ่ อ น
เพราะมีพืำนที่ผิวรับแรงเสียดทานได้มาก เสาเข็มแรงเหวี่ยงซึ่งมีรูปหน้าตัดกลมและ
มีรูอยู่ตรงกลางสามารถรับนำำาหนักได้มากกว่าเสาเข็มสองชนิดข้างต้นเพราะมีความ
แข็งแรงสูงจึงสามารถตอกลงได้ลึกมากกว่าอีกทัำงต้องใช้เครื่องมือตอกเฉพาะทาง
อี ก ด้ ว ยเสาเข็ ม หกเหลี่ ย มเส้ น ผ่ า นศู น ย์ ก ลาง 15 ซม. เป็ น เสาเข็ ม ที่ ผ ลิ ต ขึำ น มา
ทดแทนเสาเข็มไม้ ซึ่งจะใช้ในฐานรากดินอ่อนที่ต้องตอกเป็นกลุ่มการควบคุมงาน
และตรวจสอบงานเสาเข็ ม ให้ ถู ก ต้ อ งนัำ น ต้ อ งประกอบด้ ว ยคุ ณ ภาพของเสาเข็ ม
เครื่องมือที่สมรรถนะดี มีบุคคลากรที่มีประสบการณ์ รวมถึงขัำนตอนในการควบคุม
งานและตรวจสอบที่ดี จึงพอสรุปออกมาเป็นหัวข้อในการควบคุมและการตรวจสอบ
เสาเข็มได้ดังนีำ

1. ก่อนตอก
1.การขนส่งเสาเข็ม
2.การกองเสาเข็ม และการชักลากเสาเข็ม
3.การจัดลำาดับขัำนตอนการตอกเสาเข็ม และทางเดินปั้นจั่น
4.ขนาด รูปร่าง ความยาว อายุเข็ม ถูกต้องตามรูปแบบ และรายการประกอบแบบ
ก่อสร้าง
5.หัวเข็มได้ฉากกับแนวแกนหรือไม่ เอียงเกินข้อกำาหนดหรือไม่
6.หัวเข็มที่มีลวดโผล่ ซึ่งอาจเป็นอันตรายขณะตอกหรือไม่
7.หัวเข็มตามแบบมีหมุดไม้หรือไม่
8.คุณภาพคอนกรีตและเหล็กเสริมในตัวเข็ม
9.รอยแตกร้าวการโก่งงอของตัวเข็ม
10.ปั้นจั่นเหมาะสมกับการตอกหรือไม่
11.นำำาหนักลูกตุ้มเหมาะสมกับการตอกเข็มหรือไม่
12.มีเสาส่งยาวพอใช้หรือไม่
13.หมวกครอบกระสอบรองหัวเข็ม
14.นังร้านแข็งแรงดีหรือไม่
      ่
15.ในกรณีตอกใกล้สายไฟแรงสูงต้องหุ้มสายไฟ
16.ตำาแหน่งศูนย์เสาเข็ม โดยเฉพาะเข็มเอียงต้องให้แยกออกไป
17.อุปกณ์สำาหรับต่อเข็มในกรณีเข็มต่อ
18.การเตรียมจดข้อมูลในการตอกเข็ม
19.เงื่อนไขสัญญาต่อเข็ม กำาหนดด้วยความยาว หรือนับจำานวนที่ต้องการในแบบ
20.รายการก่อสร้างมีการทดสอบเสาเข็มหรือไม่
21.เตรียมแบบฟอร์มการจดจำานวนที่ต้องใช้และข้อมูลอื่น น้า หนักตุ้ม สูตรที่จะใช้
คำานวณ


2. ขณะตอก
1.การชักลาก
2.ดิ่ง
3.ตำาแหน่งหลังจากปักเสาเข็มแล้ว โดยวัดจากระยะของการตอก
4.ลูกตุ้มและเสาเข็มตรงศูนย์หรือไม่
5.ระยะยกลูกตุ้ม
6.การรองหัวเข็ม หมวกครอบ
7.มีการจดรายงานครบถ้วนหรือไม่
8.การคำานวณในแบบผิดหรือไม่
9.วิธีการตอกเสาเข็ม
10.ความปลอดภัยขณะตอก
11.ระดับหัวเสาเข็ม
12.หากเข็มตอกไม่ลง หรือ หัก หรือการคำา นวณค่าผิดปกติต้องรีบรายงานวิศวกร
ผู้รับผิดชอบทันที

3. หลังตอก
1.หากปักหมุดไว้หลายๆหมุดหมุดที่ปักไว้ล่วงหน้าเสียหายหรือถูกดินดันหรือไม่
2.ลักษณะความกว้างทัำงตำาแหน่งและแนวดิ่ง
3.ตำา แหน่งที่ทำา ได้จริงทำา เครื่องหมายแสดงตำา แหน่งเสาเข็มที่ตอกเสร็จแล้วใน
แต่ละวันลงในแบบเพื่อเป็นหลักฐาน และป้องกันการสับสน
4.ตรวจการเตรียมการทดสอบเสาเข็ม

3.1.2 การควบคุมและตรวจสอบงานเสาเข็มเจาะ

เสาเข็ ม เจาะ (Bored Piles) เป็ น เสาเข็ ม ที่ เ ป็ น ทางเลื อ กสำา หรั บ พืำ น ที่ ที่ มี ก าร
คมนาคมไม่สะดวกในการขนส่งเสาเข็มที่มีขนาดความยาวเข้าไปในพืำนที่ได้ หรือ
พืำ น ที่ ก่ อ สร้ า งคั บ แคบไม่ ส ามารถประกอบปั้ น จั่ น ได้ อี ก ทัำ ง ต้ อ งการลดความสั่ น
สะเทือนของการตอกเสาเข็ม ซึ่งอาจทำาให้อาคารข้างเคียงชำารุดหรือเสียได้
การควบคุมและตรวจงานเสาเข็มเจาะให้ได้คุณภาพนัำนสามารถสรุปเป็นหัวข้อได้
ดังนีำ

1.การเจาะเสาเข็มจะต้องรักษาระดับแนวดิ่งไม่เกิน 1:100 และค่าหนีศนย์ของ
                                                               ู
ปลอกเหล็ก
จะต้องไม่เกิน 5 เซนติเมตร
2.ตรวจสอบความลึกของดินที่เปลี่ยนแปลงไป ว่ามีการพังทลายของดินในหลุม
หรือไม่
3.วัดระดับก้นหลุมเจาะและความลาดเอียงให้ตรงตามแบบ
4.ใส่เหล็กเสริมให้ตรงตำา แหน่งและยึดให้มั่นคงแข็งแรง
5.ตรวจสอบระยะห่างของเสาเข็มที่เจาะในวันเดียวกันจะต้องห่างกันไม่น้อยกว่า 6
เท่าของเส้นผ่าศูนย์กลางของเสาเข็ม
6.ตรวจสอบระดับน้า ใต้ดิน และหาทางป้องกันไม่ให้น้า ซึมเข้าไปในหลุม
7.เทคอนกรีตผสมแห้งลงไปรองก้นหลุมก่อนประมาณ 1 โม่และใช้ลูกตุ้มตอก
ปลอกเหล็กกระทุ้งให้แน่นก่อน                       8.ขณะเทคอนกรีตต้องใช้
ท่อส่งคอนกรีต เพื่อป้องกันคอนกรีตแยกตัวและระวังไม่ให้วัสดุแปลกปลอมหล่น
ลงไปในหลุม 9.ตรวจสอบการวางท่อส่งคอนกรีตจะต้องไม่ชิดกับเหล็กเสริม
คอนกรีต                                                               1
0.ตรวจสอบระดับคอนกรีตที่เทในหลุมแต่ละครัำง เปรียบเทียบปริมาณคอนกรีตตาม
ที่คำานวณในแต่ละหลุมเทียบกับปริมาณคอนกรีตที่เทจริง
11.ตรวจสอบระดับเผื่อคอนกรีตที่หัวเสาเข็ม
12.ตรวจสอบการถอนปลอกเหล็ก จะต้องกระทา ก่อนที่คอนกรีตจะแข็งตัว
13.ตรวจสอบความสมบูรณ์ของเสาเข็ม ตามที่วิศวกรกำาหนด
14.ตรวจสอบความปลอดภัยในการเจาะจากผู้รับเหมา
ฐาน (Foundation)
        ฐานคือส่วนประกอบที่รับนำำาหนักของอาคาร ซึ่งรวมนำำา หนักของอาคารแล้ว
ถ่ายลงมายังเสา ผ่านฐานรากและลงสู่ดินขัำนตอนการทำา ฐานในขัำนแรกนัำน ควรมี
การเทคอนกรีตหยาบทับหน้าดิน ก่อนเทควรมีการทำา ความสะอาดเสาเข็มและใช้
ไฟเบอร์ตกแต่งเข็มให้ได้ระดับเสียก่อน แล้วเทคอนกรีตหยาบเพื่อเป็นแบบท้อง
ฐานและป้องกันสิ่งสกปรกเจือปนในคอนกรีตฐาน และให้เสาเข็มโผล่พ้นคอนกรีต
หยาบประมาณ 5 ซม.เพื่อให้มั่นใจว่าฐานได้ถ่ายแรงลงสู่ เสาเข็ม การเทคอนกรีต
หยาบนัำน ก็เพื่อเป็น ท้ อ งแบบวางตะแกรงเหล็ก ฐาน หลั งจากนัำน ใช้ ลูก ปูน หนุ น
ตะแกรงเหล็ก ทัำงด้านล่าง และด้านข้าง (ประมาณ 5 ซม.) เพื่อให้ปูนสามารถหุ้ม
เหล็กได้ทัำงหมด ก่อนการเทควร ทำา ให้พืำนที่ ที่จะเท มีความชุ่มชืำน ป้องกันดินดูด
นำำา จากคอนกรีต ซึ่งจะทำา ให้คอนกรีตลดความแข็งแรงลงอีกทัำงต้ องทา ความ
สะอาดตรวจขนาดของเหล็กเสริมให้ถูกต้อง ตรวจขนาดของแบบหล่อ ความแข็ง
แรงและความสะอาดให้แน่ใจก่อนการเทว่าไม่มีคราบโคลน หรือคราบปูนทราย ที่
หลุดง่ายติดอยู่ในระหว่างการเท ต้องมีการกระทุ้งคอนกรีตด้วยมือ หรือใช้เครื่อง
สั่ น (Vibrator) ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ เกิ ด โพรงหรื อ ช่ อ งว่ า งในเนืำ อ คอนกรี ต ควรมี ก าร
ควบคุมและตรวจสอบงานดังต่อไปนีำ

1.ตรวจสอบขนาดและตำาแหน่งของฐานให้ตรงกับแบบ
2.ตรวจสอบระยะศูนย์กลางของฐานและเสาตอม่อของอาคาร
3.ทำา shop Drawing ของฐานและตอม่อทุกต้นที่มีขนาดแตกต่างกัน
4.ตรวจสอบขนาดความกว้างความยาวและความลึกของหลุมฐานตามแบบโดยให้
ก้นหลุมมีพืำนที่เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน ปกติจะให้ห่างจากขอบฐานโดยรอบไม่
น้อยกว่า 0.25 เมตรการขุดดินให้ระวังดินพัง และดันเสาเข็มหักหรือขยับตัวถ้าดิน
พังให้ทำาการป้องกันด้วยการตอกเสาเข็มไม้ หรือเสาเข็มแผ่นเหล็ก
5.ตรวจสอบระดับหัวเสาเข็มให้ถูกต้องตามแบบ ถ้าหัวเสาเข็มแตกหรือบิ่นให้ทา
การแก้ไขก่อน
6.ตรวจสอบน้า และดินเลนในก้นหลุมฐานก่อนถ้ามีนำา และดินเลนให้เอาออกและ
ทำาความสะอาดหลุมก่อนการเททรายและคอนกรีตหยาบตามแบบ
7.ตรวจสอบเหล็กเสริมฐานให้ตรงตามแบบ
8.ก า ร ติ ด ตัำ ง เ ห ล็ ก เ ส ริ ม จ ะ ต้ อ ง ต ร ง ต า ม แ บ บ แ ล ะ ใ ช้ ลู ก ปู น ร อ ง ร ะ ย ะ หุ้ ม
คอนกรีตเสริมเหล็กตามข้อกำาหนดว่าด้วยมาตรฐานคอนกรีตเสริมเหล็ก
9.การติดตัง Anchor Boilt ในตอม่อจะต้องไม่ให้ชนกับเหล็กเสริมตอม่อ
10.การติดตัง Water Stop ในผนัง pit จะต้องตรงตามตำาแหน่งกึ่งกลางความหนา
ของผนัง ยึดโยงด้วยลวดผูกเหล็กห่างกันไม่เกิน 0.50 แน่นมั่นคง
11.การติดตัำงไม้แบบจะต้องได้ขนาดตามแบบ หนาแน่นมั่งคงแข็งแรง ไม่เคลื่อน
ขณะเทคอนกรีต
12.การเทคอนกรี ต ให้ เ ทเป็ น ชัำ น ๆ และเขย่ า โดยใช้ เ ครื่ อ งจีำ ค อนกรี ต ให้ แ น่ น ทุ ก
ระยะ
13.การถอดแบบหล่อคอนกรีตต้องกระทำา ด้วยความระมัดระวังไม่ให้คอนกรีตบิ่น
หรือแตกหากคอนกรีตมี รูพ รุน ยาวไม่เ กิน 2 นิำว ให้ซ่อมโดยด่ว น ถ้า มากกว่ า นีำ จะ
ต้องแจ้งให้วิศวกรทราบทันที
14.การบ่มคอนกรีต ให้กระทำา ภายหลังจากการเทคอนกรีต 24 ชั่วโมง ติดต่อกัน
เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 7 วัน หรือตามที่ระบุในแบบ
15.หลังจากถอดแบบฐานแล้วต้องรีบกลบหลุม อย่าให้นำาขัง
งานก่อสร้างคาน : ขั้นตอนการก่อสร้างคาน
        คานเป็นโครงสร้างทำาหน้าที่รับนำำา หนักของพืำน ผนัง แล้วจะถ่ายนำำา หนักไป
ยังที่รองรับได้แก่ เสา อีกทอดหนึ่ง คานที่อยู่ส่วนล่างสุดของบ้านหรืออาคารเรียก
ว่ า คานคอดิ น ส่ ว นคานที่ อ ยู่ ด้ า นบนจะเรี ย กตามชัำ น เช่ น คานชัำ น 2 คานชัำ น 3
เป็นต้น

ขั้ น ต อ น ก า ร ก่ อ ส ร้ า ง ค า น
1. ตรวจสอบระดับ ท้อ งคาน ระดับ หลั งคาน เพื่อ ให้ ระดับ ความสูง ของบ้ า น และ
ความสูงระหว่างชัำนต่อชัำนถูกต้องตามแบบก่อสร้าง และต้องดูว่าเสาตอม่ออยู่ตำ่า
หรือสูงกว่าระดับ + 0.00 หรือระดับ Offset ที่เสา เพื่อจะได้วางแผนการก่อสร้าง
ไ                  ด้                 ถู                 ก             ต้           อ                 ง
2. ติดตัำงท้องคานเพื่อวางเหล็กเสริม โดยที่ท้องคานจะมีขนาดเท่าใดนัำน ขึนอยู่กับ           ำ
แบบก่อสร้าง กรณีที่เป็นคานคอดินต้องมีที่ท้องคานวางอยู่บนดินก็จะใช้พืำนดินเป็น
ท้องคานซึ่งจะทำา การเท lean concrete ก่อนแล้วค่อยวางเหล็กเสริม แต่ถ้าคาน
คอดินอยู่สูงกว่าพืำนดินก็ควรทำานั่งร้านเตีำยๆ เพื่อวางท้องคานในกรณีที่เป็นคานชัำน
ที่ สู ง ขึำ น ไปจะทำา เป็ น นั่ ง ร้ า นสู ง หรื อ ตุ๊ ก ตารองรั บ ท้ อ งคาน หรื อ อาจใช้ นั่ ง ร้ า น
สำาเร็จรูปก็ได้ นั่งร้านที่รองรับท้องคานต้องสามารถรองรับนำำาหนักคานและนำำาหนัก
แ บ บ ห ล่ อ ไ ด้ เ มื่ อ เ ท ค อ น ก รี ต
3. การเสริมเหล็กต้องเป็นไปตามแบบก่อสร้างทัำงชนิด ขนาด จำานวนและตำาแหน่ง
การวางเหล็ ก เสริ ม การต่ อ ทาบต้ อ งตรงกั บ ตำา แหน่ ง ที่ เ กิ ด โมเมนต์ น้ อ ยที่ สุ ด
สำา หรับคานเหล็กเสริมบนให้ต่อทาบกลางคาน เหล็กเสริมล่างให้ต่อทาบทิ่ริมเสา
เหล็กปลอกระยะห่างตามแบบก่อสร้างกำา หนดและต้องเผื่อระยะหุ้มคอนกรีตด้วย
4. เมื่อเสริมเหล็กเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะทำา การติดตัำงแบบหล่อโดยแบบหล่อที่ใช้
อาจเป็นแบบเหล็กหรือไม้ก็ได้ แบบหล่อต้องได้ดิ่งมีคำา ยัน และตีรัดแบบหล่อให้
แ                     ข็                     ง                 แ                ร                     ง
5.หาระดับหลังคานเพื่อใช้ในการเทคอนกรีตส่วนมากการเทคอนกรีตคานจะเทลด
ร ะ ดั บ จ า ก ห ลั ง ค า น ป ร ะ ม า ณ 10 เ ซ น ติ เ ม ต ร เ พื่ อ ไ ว้ ก่ อ ส ร้ า ง พืำ น
                 6.ก่อนเทคอนกรีตควรทำาความสะอาดแบบหล่อ และราดนำำา หรือนำำา ปูน
แบบหล่ อ ให้ ชุ่ ม ก่ อ นการเทคอนกรี ต เพื่ อ ไม่ ใ ห้ แ บบหล่ อ ดู ด นำำา จากคอนกรี ต
7. ทำา การเทคอนกรีตแล้วทำา ให้คอนกรีตแน่นตัวโดยใช้เครื่องสั่นหรือกระทุ้งด้วย
มือ ควรระวังอย่าให้ถูกเหล็กเสริม และต้องตรวจสอบค่ายุบตัวของคอนกรีต และ
เก็บตัวอย่างคอนกรีตเพื่อทดสอบกำาลังอัดของคอนกรีต ว่าได้ตามที่ระบุไว้ในแบบ
หรือไม่ ในกรณีที่มีการหยุดเทคานให้หยุดเทที่กลางคานในแนวตัำงฉาก ควรเสียบ
เหล็ก Dowel เมื่อเทคอนกรีตแล้วก่อนคอนกรีตแข็งตัวความยาวตามแบบก่อสร้าง
ใ น ก ร ณี ที่ ใ ช้ พืำ น สำา                                     เ ร็ จ รู ป
8. เมื่อคอนกรีตแข็งตัวแล้ว ประมาณ 1 - 2 วัน สามารถถอดแบบข้างคานได้ แต่
ยั ง ค ง คำำา ยั น ไ ว้ จ น ก ว่ า จ ะ ไ ด้ 14 วั น ห รื อ 21 วั น นั บ จ า ก วั น ห ล่ อ
9. เมื่อถอดแบบแล้ว จะทำาการบ่มคอนกรีตเพื่อให้คอนกรีตพัฒนากำาลังได้ต่อเนื่อง
อาจใช้พลาสติกคลุม หรือใช้นำายาบ่มคอนกรีต บ่มชืนอย่างน้อย 7 วัน
                                                          ำ




งานก่ อ สร้ า งพื้ น : พื้ น วางบนดิ น พื้ น คอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก
หล่อในที่
        พืำนที่เราพบเห็นหลายแบบด้วยกัน คือ พืำนคอนกรีตเสริมเหล็กหล่อในที่ พืำน
สำาเร็จรูป พืำนไร้คาน พืำนคอนกรีตอัดแรง เป็นต้น ซึ่งพืำนส่วนใหญ่เป็นโครงสร้างที่
ทำา หน้ า ที่ รั บ นำำา หนั ก โดยตรง แล้ ว ค่ อ ยถ่ า ยนำำา หนั ก ลงสู่ ค าน เสา ฐานราก ตาม
ลำา ดั บ แต่ใ นการก่ อ สร้ า งบ้ า นพั ก อาศั ย หรื อ อาคารที่ ไ ม่ ใ หญ่ ม ากอาจใช้ เ ป็ น พืำ น
คอนกรีตเสริมเหล็กธรรมดา หรือใช้พนสำาเร็จรูปก็เพียงพอแล้ว
                                              ืำ

1. พื้นวางบนดิน

พืำนประเภทนีำนิยมใช้กับงานที่อยู่ในระดับพืำนดิน เช่น ทางเดินเท้า พืำนอาคาร บ้าน
พักอาศัย และโครงสร้างรับนำำาหนักมาก เช่น พืำนคลังสินค้า โรงงาน ถนน เป็นต้น

ขั้นตอนการก่อสร้างพื้นวางบนดิน

1.1.การเตรี ย มพืำ น ที่ สำา หรั บ วางเหล็ ก เสริ ม ส่ ว นที่ เ ป็ น ที่ ตำ่า เช่ น แอ่ ง ท้ อ งร่ อ ง
บริเวณที่เป็นหลุมเป็นบ่อ ต้องถมและทำาการบดอัดให้แน่น หากพืำนคอนกรีตขวาง
ทางนำำาไหล ต้องการทำาทางระบายนำำาออกก่อนบดอัดดิน โดยการบดอัดดินต้องได้
อัดแน่นตามแบบก่อสร้างระบุ

1.2.สำาหรับพืำนอาคารที่มีเสาอาคาร ควรทำาแบบหล่อกัำนแยกรอยต่อระหว่างเสากับ
พืำน เพื่อป้องกันการแตกร้าวของพืำน จากการทรุดตัว พร้อมทัำงทำา ระดับให้ได้ตาม
แบบก่อสร้าง รอยต่อของพืำน มีดังนีำ
Contraction joint มี ไ ว้ เ พื่ อ ให้ เ กิ ด การเคลื่ อ นตั ว ของคอนกรี ต เนื่ อ งจาก
คอนกรีตเกิดการหดตัวแบบแห้ง จากการที่นำาในคอนกรีตระเหยไปในอากาศ การ
หดตัวนีำทำาให้เกิดการแตกร้าวของคอนกรีตได้ การทำา Contraction joint เป็นการ
บังคับให้การแตกร้าว เกิดในตำา แหน่งที่กำา หนด โดยทั่ว ไป ควรทำา contraction
joint ที่ระยะห่างทุกๆ 24-35 เท่าของความหน้าแผ่นพืำน และแบ่งพืำนเป็นสี่เหลี่ยม
ชิำนเล็ก ๆ โดยให้อัตราส่วน ด้านยาวต่อด้านสัำน ไม่เกิน 1.5:1.0 ถ้าเป็นไปได้ ควร
กำาหนดเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส

Isolation joint เป็นรอยต่อที่ทำาขึำน เพื่อให้โครงสร้างคอนกรีตส่วนแนวดิ่ง เช่น
เสา ผนัง สามารถเลื่อนตัวอย่างอิสระจาก โครงสร้างคอนกรีตในแนวราบ เช่น พืำน
เพื่อไม่ให้เกิดการยึดรัำง อันเป็นสาเหตุให้เกิดการแตกร้า วของโครงสร้างในระยะ
ยาว

1.3.คั่นแผ่นพืำนด้วยวัสดุประเภทโฟมให้แยกออกจากผนังหรือคานประมาณ 1.5 -
2.5 ซม. และควรปรับระดับให้ลาดเอียงเล็กน้อยลงไปบริเวณประตูทางเข้า เพื่อ
ระบายนำำาฝน หรือนำำาจากการทำาความสะอาด

1.4.การวางเหล็กไม่ควรวางบนดิน ควรใช้แผ่นพลาสติกปูรองพืำนก่อนเพื่อป้องกัน
ดินด้านล่างดูดนำำาปูน และป้องกันความชืำนจากพืำนดินซึมผ่านแผ่นพืำนคอนกรีตขึำน
มา

1.5.จัดวางเหล็กเสริมให้ได้ขนาด ตำาแหน่ง และระยะถูกต้องตามแบบก่อสร้าง วาง
เหล็กเสริมด้านบนเพื่อป้องกันการแตกร้าวที่ผิวของคอนกรีต

1.6.ติ ด ตัำ ง แบบหล่ อ ด้ า นข้ า งพืำ น โดยเคลื อ บผิ ว แบบหล่ อ ด้ ว ยนำำา มั น หรื อ นำำา ยา
เคลือบแบบหล่อ เพื่อให้สามารถถอดแบบได้ง่าย รวมทัำงการทำาความสะอาดแบบ
หล่อก่อนการเทคอนกรีต

1.7.เทคอนกรีตโดยเริ่มต้นจากมุมด้านในออกมาสู่ด้านนอกแบ่งการเทคอนกรีตที
ละส่วนสลับกับการปาดแต่งเนืำอคอนกรีตให้เสมอกันและได้ระดับที่ต้องการ

1.8.ใช้เครื่องสั่นคอนกรีตช่วยทำาให้เนืำอคอนกรีตแน่น พร้อมทัำงปาดแต่งผิวหน้าให้
เรียบสวยงาม

1.9.ทำา การบ่ มคอนกรี ตต่ อ เนื่อ งอย่า งน้ อย 7 วัน เพื่ อให้ค อนกรี ตสามารถพั ฒนา
กำาลังได้เต็มที่

2. พื้นคอนกรีตเสริมเหล็กหล่อในที่

สามารถก่อสร้างได้ 2 ลักษณะคือ การก่อสร้างพืำนร่วมกับคาน หรือการก่อสร้างพืำน
หลังการเทคานแล้วเสร็จ

2.1 การก่อสร้างพื้นหล่อในที่ มีขั้นตอนดังนี้
2.1.1.ตรวจสอบระดับหลังคาน ระดับท้องพืำนให้ถูกต้องตามแบบก่อสร้าง

2.1.2.การติ ด ตัำ ง นั่ ง ร้ า นเพื่ อ ก่ อ สร้ า งพืำ น อาจทำา ไปพร้ อ มกั บ ท้ อ งคาน หรื อ อาจ
ก่อสร้างคานแล้วเสร็จก่อนแล้วค่อยติดตัำงท้องพืำน โดยมีคำายันที่เพียงพอ แข็งแรง
สามารถรับนำำาหนักของคอนกรีต ไม้แบบ และนำำาหนักจรของคนงานขณะปฏิบัติงาน
ได้

2.1.3.จัดวางเหล็กเสริมคาน พืำน ให้ได้ขนาด ตำาแหน่ง และระยะถูกต้องตามแบบ
ก่อสร้าง

2.1.4.ทำาการเข้าแบบคานและพืำน พร้อมทัำงคำำายันแบบหล่อให้แข็งแรงสามารถรับ
แรงดันคอนกรีตได้ และหาระดับการเทคอนกรีต

2.1.5.ตรวจสอบแบบหล่อว่ามีรอยรั่วหรือเข้าแบบสนิทหรือไม่ ถ้าติดตัำงแบบหล่อ
สนิทแล้ว ทำาความสะอาดแบบหล่อ และฉีดนำำาหรือราดนำำาปูนก่อนเทคอนกรีตเพื่อ
ป้องกันไม่ให้ไม้แบบดูดนำำาจากคอนกรีต

2.1.6.เทคอนกรีตและใช้เครื่องสั่นคอนกรีตทำา ให้คอนกรีตแน่น ตัว พร้อมทัำงเก็บ
ตัวอย่างคอนกรีตเพื่อนำาไปทดสอบหากำาลังอัด

2.1.7.เมื่อคอนกรีตแข็งตัวแล้ว ประมาณ 1-2 วัน ถอดแบบด้านข้าง และทำาการบ่ม
คอนกรีตส่วนคำำายันทิำงไว้อีก 14 วันแล้วจึงถอดออก

การก่อสร้างพืำน พร้อมคานจะช่วยเพิ่มความสามารถในการรับนำำา หนักบรรทุกของ
คานได้ เพราะพฤติกรรมของคานจะเปลี่ยนจากรูปสี่เหลี่ยมผืน ผ้า ไปเป็น รูปตัวที
หรือตัวไอ

พื้น post-tension

       ระบบคอนกรี ตอั ดแรงที่ใ ช้ กั บ โครงสร้ า งมี ทัำ ง ชนิ ด Pre-tensioning และ Post-
tensioning แต่สำาหรับองค์อาคารหล่อกับที่ปกติจะใช้ชนิด Post-tensioning โครงสร้าง
ที่นิยมใช้คอนกรีตอัดแรงชนิดนีำได้แก่ แผ่นพืนไร้คาน(Flat Slab) เพราะสะดวกในการ
                                            ำ
ทำางานและแระหยัดค่าก่อสร้าง

ขัำนตอนในการก่อสร้างแผ่นพืำนระบบนีำคือ

1.ตัำงแบบหล่อพร้อมคำำายัน

2.วางเหล็กเสริมธรรมดาด้านล่าง(Normal Reinforcement)

3.ใส่ Shear Head (ถ้าต้องใช้)

4.วางลวดที่ใช้ในการอัดแรง (Prestressing Strands         หรือ   Tendons)
5.วางเหล็กเสริมธรรมดาด้านบน

6.เสริมเหล็กพิเศษตรงช่องเปิดและมุมแหลมต่างๆ

       จำานวนและตำาแหน่งของเหล็กเสริมธรรมดาและ Tendons จะมีระบุอยู่ในแบบ
แล้ ว อย่ า งชั ด เจนสำา หรั บ งานวางเหล็ ก เสริ ม ธรรมดาก็ ป ฎิ บั ติ เ ช่ น เดี ย วกั บ งาน
คอนกรีตเสริมเหล็กทั่วไป การวางลวดสำาหรับอัดแรงนอกจากจะตรวจตำาแหน่งและ
จำานวนให้ตรงตามแบบแล้วจะต้องตรวจสอบสิ่งต่างๆดังต่อไปนีำด้วยคือ

1.การก่อสร้างแผ่นพืำนระบบคอนกรีตอัดแรงทีหลัง(Post-tensioned Concrete Slab)

   1.1 Unbonded Tendon

   -Profile   ของลวดกำา (Tendon) ความถูกต้องของระยะจากลวดกำาจนถึงผิวคอนกรีต
   สำา คั ญมาก เนื่ องจากความหนาของแผ่ น พืำ น ไร้ คานนัำน น้ อยมาก เช่น 200-250
   มิลลิเมตรเท่านัำนหากวางลวดผิดไปเพียง 10 มิลลิเมตร จะทำา ให้เกิดหน่วยแรง
   ดึ ง เพิ่ ม ขึำ น ในคอนกรี ต มากพอที่ จ ะทำา ให้ เ กิ ด การแตกร้ า วได้ ฉ ะนัำ น ก่ อ นเท
   คอนกรีต ทุก ครัำ งจะต้ องตรวจสอบระยะดัง กล่า วให้ต รงตามแบบ Shop Drawing
   ทุกๆจุดปกติผิดพลาดได้ไม่เกิน ± 5 มิลลิเมตร

   -ลวดชนิ ด Unbonded  คื อ ลวดกำา ที่ มี วั ส ดุ หุ้ ม เช่ น กระดาษยางมะตอย หรื อ ท่ อ
   พลาสติ ก จะต้ อ งตรวจสอบความสมบู ร ณ์ ข องเปลื อ ที่ หุ้ ม ถ้ า ใช้ ก ระดาษยาง
   มะตอยพันหุ้มจะต้องตรวจสอบว่ามีส่วนใดชำารุดบ้างหากพบว่ากระดาษที่พันฉีก
   ขาดจะต้องซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพดีทุกแห่งก่อนเทคอนกรีต

   -การวางลวดกำา ไม่ควรอยู่ชิดขอบช่องเปิดขนาดใหญ่จนเกินไป                   เพราะเมื่อเกิด
   แรงอัดแล้วอาจเกิดการแตกร้าวบริเวณนัำนได้

   -Anchorage ที่อยู่ตรงปลายของลวดกำาก็ต้องระมัดระวังมาก พยายามอย่าให้เกิด
   เป็นซอกเล็กๆที่คอนกรีตอาจลงไม่ถึงหรือลงงไปได้เฉพาะปูนทราย เพราะจุด
   นัำนจะเป็นจุดที่ต้องรับแรงอัดสูงสุด ตัว Anchorage เองก็ต้องตรวจสอบให้ตรงกับ
   ตัวอย่างที่ได้รับอนุมัติแล้วมิฉะนัำนอาจชำารุดได้ในขณะถ่ายแรง

   1.2.Bonded Tendon    ขัำนตอนต่อไปก็คือการดึงลวดซึ่งจะต้องระมัดระวังในสิ่งต่อ
   ไปนีำคือ

   -ก่อนการดึงลวดต้องตรวจสอบจนแน่ใจว่ากำา ลังอัดของคอนกรีตที่เทแล้วมีค่า
   ไม่น้อยกว่าที่กำาหนด
-อุปกรณ์ที่ใช้ในการดึงลวดจะต้อง Calibrateอย่างสมำ่าเสมอโดยสถาบันที่เชื่อถือ
    ได้เพื่อป้องกันมิให้เกิดการอ่านค่อผิดพลาดได้อันอาจทำาให้ดึงจนเส้นลวดขาด
    หรือ ดึงน้อยเกินไปซึ่งเป็นอันตรายทัำงสองกรณี

    -การ Calibration นีำ จ ะต้ อ งทำา เป็ น ระยะๆผู้ ค วบคุ ม งานจะต้ อ งตรวจสอบผลการ
    Calibration ทุกครัำง

    -เพื่อเป็นการตรวจสอบอีกอย่างหนึ่งควบคู่กับการอ่านสเกลในมาตรวัดความดัน
    จะต้องทำาการวัดการยืดตัว (Elongation) ของลวดกำา ว่าตรงตามที่คำา นวณไว้หรือ
    ไม่หากแตกต่างกันมากผิดปกติจะต้องรับรายงานวิศวกรทันทีปกติติไม่ควรเกิน
    ±5%

    -ลำา ดับการดึงและหน่วยแรงในการดึงจะต้องเป็นไปตามที่วิศวกรกำา หนดไม่ใช่
    ว่าจะดึงเส้นไหนก่อนก็ได้ ปกติวิศวกรจะต้องทำา แผนการดึงไว้ให้ ซึ่งผู้ควบคุม
    งานจะต้องดูแลให้การดึงลวดเป็นไปตามนัำน

    -อันตรายจากการทำางานมีเหมือนกันเช่น   ในขณะดึงลวด การถอดแบบหล่อหรือ
    คำำายันออกก่อนที่จะดึงลวดหรือก่อนที่โครงสร้างชัำนนัำนจะเสร็จสมบูรณ์(เช่น ยัง
    ไม่ได้หล่อคอนกรีตใน Columm Pocket) จะทำาให้แผ่นพืำนที่เทไว้แล้วนัำนพังลงมา
    ได้ทันที

           ในการเทคอนกรีตแผ่นพืำนไร้คานจะเป็นคอนกรีตเสริมเหล็กธรรมดา หรือ
    คอนกรีตอัดแรงก็ตามควรจะทำา คำำา ยันต่อเนื่องลงมาอีก 2-3 ชัำนเพราะปกติแผ่น
    พืำนชนิดนีำจะมีนำาหนักของคอนกรีตมากกว่านำำาหนักบรรทุกจรที่คำานวณออกแบบ
    ไว้หากคำำายันเพียงชัำนเดียวอาจทำาให้เกิดรอยร้าวที่แผ่นพืำนชัำนถัดลงมาได้

2.ระบบชินส่วนหล่อสำาเร็จ
        ำ

         ร ะ บ บ ชิำ น ส่ ว น ห ล่ อ สำา เ ร็ จ ใ น ที่ นีำ ห ม า ย ถึ ง ก า ร ห ล่ อ อ ง ค์ อ า ค า ร
คอนกรีตเสริม เหล็ก เช่น พืำน คาน ผนัง บันได ตลอดจนแผงกัน สาด แผงกัน ตก
และชิำนส่วนทางสถาปัตยกรรมอื่นๆในทางปฎิบัติสำาหรับอาคารทั่วไปมักนิยมใช้แต่
เพียงพืำน ค.ส.ล. สำา เร็จรูปซึ่งมีขายทั่วไปสำา หรับผนัง คาน และบันไดมีใช้กันบ้าง
แต่ มั ก จะเป็ น ผู้ รั บ เหมาก่ อ สร้ า งเป็ น ผู้ ห ล่ อ ขึำ น มาใช้ เ องตามความสามารถของ
บุคลากรและเครื่องใช้ในการยกติดตัำงที่ตนมีอยู่

        ในการควบคุมงานก่อสร้างที่ใช้ระบบชิำนส่วนหล่อสำา เร็จนีำสิ่งที่ควรจะเอาใจ
ใส่มีดังต่อไปนีำคือ

-การควบคุมคุณภาพของชิำนส่วน

-การทำาระดับของที่รองรับ
-การยกติดตัำง

2.1   การควบคุมคุณภาพของชิำนส่วน

        ในกรณีที่ชิำนส่วนผลิตจากโรงงาน ผู้ควบคุมงานควรจะไปดูที่โรงงานเป็นระ
ยะๆเพื่อตรวจดูการหล่อชิำนส่วน การดึงลวด (ถ้าใช้ระบบคอนกรีตอัดแรง) การบ่ม
คอนกรีต การทดสอบกำาลังของคอนกรีต การทำาแบบหล่อซึ่งเป็นผลถึงขนาดและ
หน้าตัดของชิำนส่วน ตลอดจนการขนส่ง หากเป็นชิำนส่วนที่ผู้รับเหมาก่อสร้างหล่อ
ขึำน เอง ณ สถานที่ก่อสร้าง ก่อนอื่นจะต้องทำา Shop Drawing แสดงรายละเอียดใน
การออกแบบ และวิธีการติดตัำงเพื่อขออนุมัติก่อน

2.2   การทำาระดับของที่รองรับ

       ในกรณีที่ใช้พืำนหล่อสำาเร็จชนิดวางบนคานจะต้องทำาระดับคานให้เรียนอย่า
ให้เป็นคลื่นเพราะจะทำาให้พืำนสูงๆ ตำ่า ๆ อันจะเป็นเหตุที่ทำา ให้ต้องเทคอนกรีตทับ
หน้า (Topping) หนาเกินไปซึ่งถ้าใส่เหล็กเสริมไม่พอพืำนจะแตกร้าวได้หรือหากวาง
ชิำนส่วนไม่เต็มหน้าตัวพืำนเองก็อาจจะหักได้เมื่อรับนำำาหนักบรรทุกเต็มที่ อีกประการ
หนึ่งก่อนการหล่อคานที่รองรับพืำน จะต้องตรวจดูว่า ในแบบระบุใ ห้มี การฝั งเหล็ ก
เดือย (Dowel Bar หรือ Shear Key) หรือไม่ถ้ามีก็จะต้องตรวจขนาดและตำาแหน่งที่ฝัง
ให้ถูกต้อง

2.3   การยกติดตัำง

       การยกชิำนส่วนหล่อสำาเร็จเข้าที่เป็นขัำนตอนที่สำา คัญมากนับตัำงแต่การเลือก
ใช้อุปกรณ์การยกจะต้องพอเหมาะกับนำำาหนักของชิำนส่วนไม่ควรใช้ปั้นจั่นขนาดเล็ก
ยกชิำนส่วนขนาดใหญ่เกินกำา ลัง เพราะอาจหล่นถูกโครงสร้า งหรือพืำน ที่ว างเข้าที่
เรียบร้อยแล้วชำา รุดเสียหายได้ในบางครัำงชิำนส่วนของพืำนมีขนาดกว้างยาวไม่เท่า
กันจะต้องดูว่าไม่วางผิดที่ เพราะถ้าวางผิดจะต้องรืำอใหม่ทำาให้เสียเวลาปกติการที่
เลือกใช้ระบบหล่อสำา เร็จนีำประการสำา คัญคือ ต้องการความรวดเร็วในการก่อสร้าง
หากการยกติดตัำงมีอุปสรรคดังกล่า วข้า งต้ น แทนที่ง านจะเร็ ว ตามเป้ า หมายกลับ
ล่าช้ากว่ากำาหนด

      ระบบพืำ น หล่ อ สำา เร็ จ บางชนิ ด ใช้ ค อนกรี ต ทั บ หน้ า (Topping) เป็ น ส่ ว น
โครงสร้ า งของตั ว พืำ น เองด้ ว ยฉะนัำ น ผู้ ค วบคุ ม งานจะต้ อ งศึ ก ษาการทำา งานของ
ระบบพืำนชนิดนีำให้ดี ข้อสำาคัญจะต้องอ่านคำาแนะนำาของผู้ผลิตให้เข้าใจและปฎิบัติ
ตามโดยเคร่งครัด เช่น ตามคำาแนะนำากำาหนดให้ใช้ไม้แบบและคำำายันรองรับก่อนที่
จะเทคอนกรีตทับหน้า ผู้ควบคุมงานก็จะต้องจัดทำา คำำา ยันให้มีขนาดและระยะห่าง
ตามที่กำาหนด ไม่ควรเสี่ยงเป็นอันขาด เพราะอาจถึงกับวิบัติได้
คำำายัน(Shoring)

       คำำา ยั น สำา หรั บ แบบหล่ อ คอนกรี ต ทำา หน้ า ที่ เ ป็ น เสาถ่ า ยนำำา หนั ก ของแบบ
คอนกรีตและส่วนประกอบต่างๆลงพืำนล่างที่ยันไว้ อาจจะเป็นไม้ เหล็กแป๊ป หรือ
เหล็กรูปพรรณ ส่วนประกอบหลักของคำำายันก็คือเรื่องโก่งดุ้ง เพราะคำำายันทำาหน้าที่
เสมือนเสาซึ่งเป็นชิำนส่วนโครงสร้างรับแรงอัด ดังนัำนจึงอาจจะต้องมีการยึดรัำงเพื่อ
ป้องกันการดุ้งที่บริเวณกึ่งกลางความสูงหรือระหว่างช่วงความสูงของคำำายันนัำน ใน
บางกรณีอาจใช้นั่งร้านเหล็กประกอบเป็นชุดๆ ทำา หน้าที่เป็นคำำา ยันได้เช่นกัน โดย
ปรับปรุงชิำนส่วนประกอบให้ทำาหน้าที่ได้เหมือนกัน

   การใช้คำายันไม้ตามหลักควรจะแยกเป็น 2 ท่อนตีตะปูแนบติดกันเพื่อสามารถจะ
ปรับระดับได้ง่าย และสามารถถอดแบบได้สะดวกกว่า แป้น รองรับส่ว นบนอาจตี
ขวางด้วยไม้หน้า 1 3 เป็นตุ๊กตารูปสามเหลี่ยม สำา หรับแป้นขาหยั่งนิยมใช้แผ่น
ไม้หรือเศษไม้วางแบนราบเพื่อกระจายแรงให้ถ่ายแผ่มากขึำนส่วนการยึดรัำงระหว่าง
คำำา ยันแต่ละตัว จะต้องได้รับการตรวจสอบเกี่ยวกับการดุ้งให้ละเอียดให้ละเอียด
โดยยึดในแนวราบหรือแนวทแยงเพื่อลดความชะลูดของคำำายันลง

 คำำายันเหล็กส่วนใหญ่จะเป็นเหล็กแป๊ปขนาดเดียวตลอดความยาวหรือสองขนาด
สวมกันได้พอเหมาะ ปรับระยะได้โดยใช้สลักเสียบผ่า นรูที่ เจาะไว้ที่แ ป๊ปตัว นอก
แป๊ปตัวในจะนิ่งอยู่บนสลักนีำ หรืออาจจะปรับได้ด้วยเกลียวโดยให้แป๊ปตัวนอกนั่ง
อยู่บนแป้นเกลียวที่ปรับ แป้นรองรับตัวบนนิยมสวมไว้ในตัวเสายัน ซึ่งอาจปรับหน้า
แปลนได้เล็กน้อยหรืออาจปรับไม่ได้ แต่อาจดัดแปลงให้สอดคล้องกับการใช้งาน
แต่ละอย่าง แป้นขาหยั่งที่ส่วนล่างอาจเป็นเหล็กหล่อมีรูกลวงสำา หรับเสียบท่อแป๊
ปลงได้พอดี หรืออาจเป็นเกลียวระยะสัำนๆ เพื่อการยึดกับเสาคำำา ยันได้อย่างมั่นคง
อนึ่งการยึดระหว่างเสาเพื่อป้องกันการดุ้งอาจทำา ได้โดยการใช้ตัว รัด ทัำงแป้น บน
แป้นขาหยั่ง และตัวปรับระดับ รวมทัำงตัวรัดกับดุ้ง อย่างไรก็ดีลักษณะของชิำนส่วน
ประกอบเหล่านีำอาจแตกต่างกันตามบริษัทผู้ผลิตหรือการใช้งานเฉพาะอย่าง แต่ใน
หลักการแล้วก็เพื่อผลประโยชน์อันเดียวกัน

  การใช้นั่งร้านทำา คำำา ยันใช้ได้ในหลายๆกรณี เพราะนั่งร้านสำา เร็จรูปส่วนใหญ่จะ
เบา แต่อาจเป็นปัญหาเกี่ยวกับระดับได้ เพราะคำำายันแต่ละท่อนจะมีความยาวจำากัด
อาจจะเป็ น 1.20,1.50,1.80,2.00 หรื อ 2.40 เมตร ตามบริ ษั ท ผู้ ผ ลิ ต ดั ง นัำ น จึ ง ต้ อ ง
ดัดแปลงให้มีการปรับระดับได้ที่แป้นรับส่วนบนและแป้นขาหยั่งส่วนล่า ง ข้อควร
พิจารณาประกอบการใช้นั่งร้านเป็นคำำายันคือกำาลังความสามารถรับแรงในแนวแกน
โดยศึ ก ษารายละเอี ย ดของผู้ ผ ลิ ต อย่ า งถี่ ถ้ ว น และอาจจะต้ อ งพิ จ ารณาถึ ง
เสถียรภาพตลอดถึงวิธีการยึดเกาะกับตัวโครงสร้างข้างเคียงเพื่อลดค่าความชลูด
และเพิ่มกำาลังความสามารถในการรับแรง


หมอนหนุนเหล็กเสริม

   การควบคุมระยะหุ้มของเหล็กเสริมในโครงสร้างคอนกรีตเสริม เหล็กจำา เป็นจะ
ต้องใช้หมอนหนุนเหล็กให้เข้าที่ ในการก่อสร้างโดยทั่วๆไปยังคงใช้วิธีการหล่อลูก
ปูนให้ได้ความหนาตามต้องการ แล้วใช้ผูกเข้ากับเหล็กเสริมตอนเข้าแบบข้างหรือ
หนุนรองรับได้ในกรณีที่เป็นแบบพืำน แต่ในปัจจุบันเริ่มมีการผลิตหมอนหนุนเหล็ก
เสริมสำาเร็จรูปทำาจากวัสดุอื่น เช่นเหล็กชุบพลาสติกหรือพลาสติก ออกจำาหน่ายใน
ท้องตลาดบ้างเช่น กัน แต่การใช้งานยัง ไม่แ พร่ ห ลายเท่ า ที่ ควร อาจจะเนื่อ งจาก
ราคาค่ อ นข้ า งสู ง เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ การหล่ อ ลู ก ปู น หนุ น อี ก ทัำ ง การควบคุ ม
คุณภาพของงานหล่อคอนกรีตยังไม่พิถีพิถันถึงขัำนที่ไม่ยอมให้ใช้

    การหล่อลูกปูน หนุน ถ้าเผื่อไม่ห นามากนักจะใช้วิธีการตอกคิำว กัำนแบบข้า งบน
แผ่นไม้อัดซึ่งวางบนพืำนราบให้ได้ความหนาตามที่ต้องการเช่น 2,3,4,5 เซนติเมตร
ตามลำาดับหลังจากนัำนจะใช้ปูนทรายเทบนแผ่นไม้อัดแล้วใช้เกรียงปาดให้ได้ความ
หนาตามขอบคิำ ว กัำ น ไว้ ตี ต ารางตามขนาดของลู ก ปู น คร่ า วๆเพื่ อ ให้ รู้ ตำา แหน่ ง
ศูนย์กลางแล้วจึงเอาลวดผูกเหล็กพับกลางเสียบฝังในเนืำอปูน โดยโผล่ 2 ปลายขึำน
มาเพื่อใช้ผูกกับเหล็กเสริมได้และเมื่อปูนทรายหมาด อาจใช้เกรียงหรือเหล็กแบน
กรีดตามรอยแบ่งขนาดลูกปูนออกเป็นลูกเต๋าเล็กๆหลังจากนัำนจะต้องบ่มด้วยการ
ฉีดนำำาจนได้กำาลัง ข้อควรระวังในการหล่อลูกปูนแบบนีำคือส่วนผสมปูนทรายจะต้อง
ไม่เหลวมาก คือมีสัดส่วนนำำาต่อซีเมนต์น้อยเพื่อให้ได้กำาลังสูงพอจะป้องกันการซึม
ได้พอควร และในการเสียบลวดผูกเหล็กลงในเนืำอปูนจะต้องให้ฝังและยึดเกาะที่ดี
เพื่อการใช้งานที่ดี ในกรณีที่ต้องการการหนุนเหล็กเสริมที่หนามากเช่น 7,10 หรือ
12 เซนติเ มตร อาจจะต้ องกัำน แบบหล่อ เป็ น ลู ก เต๋า โดยใช้ค อนกรี ต ที่ ผ สมด้ ว ยหิ น
เล็กใช้แ ทนปูน ทรายเพื่อ ที่ จะให้ มีกำา ลั งสู งและแข็ งแรงขึำน การฝั งลวดผูก เหล็ ก
แทนที่จะฝังเพียงลูก ละคู่อาจจะต้องมากกว่า 2 หรือ 3 คู่เพื่อป้องกัน การพลิ กตัว
จากนำำา หนักของลูกปูนเองในกรณีที่ผูกยันข้างแบบ แต่ถ้าเป็น กรณีการหนุนท้อง
แบบก็อาจจะใช้แค่ 2 คู่ก็พอ กำาลังของลูกปูนที่หล่อนีำไม่ควรจะน้อยกว่ากำา ลังของ
คอนกรีตที่จะใช้หล่อโครงสร้างส่วนนัำนๆ

   หมอนหนุน ที่ทำา ด้วยเหล็กเส้น มีสองแบบ คือหมอนหนุน เฉพาะจุ ดและหมอน
หนุน เป็นแถบ ปลายขาที่หนุน ส่ว นที่แตะกับแบบหล่อคอนกรีตอาจจะพอกหุ้ม ไว้
ด้วยเซรามิกหรือพลาสติกแข็งเพื่อป้องกันการเป็นสนิม และเพื่อให้สีกลมกลืนกับ
เนืำอคอนกรีต อนึ่งการหนุนแบบดังกล่า วนีำจะใช้ไ ด้ทัำงในกรณีของผิวแบบเป็น ไม้
ไม้อัด หรือเหล็ก ส่วนความหนาของคอนกรีตจะแตกต่างกันตามความยาวขาซึ่งผู้
ผลิตจะระบุไว้ในคู่มือการใช้

  การหนุน เหล็กเสริมบนในกรณีข องเหล็ ก เสริม ในคานอาจจะไม่จำา เป็น เพราะ
สามารถใช้เหล็กปลอกเป็นส่วนช่วย หรือถ้าไม่มีเหล็กปลอกก็อาจใช้เหล็กขวางยึด
ระหว่างเหล็กปลอกก็สามารถจะยึดเหล็กให้เข้าที่ได้ แต่ในกรณีของเหล็กพืำนอาจ
จะงอเหล็กตามเพื่อยันไว้กับเหล็กเสริม ล่า ง อย่างไรก็ตามถ้า จะมีการหนุน เหล็ก
เสริม บนจากแบบหล่อเลยก็อาจจะกระทำา ได้โดยใช้ เหล็ก หนุ น แต่อ าจจะเกะกะ
เหล็กเสริมล่างและไม่สะดวก

   หมอนหนุนเหล็กเสริมที่ทำา ด้วยพลาสติกเพิ่งจะเริ่มมีบทบาทในวงการก่อสร้าง
ลักษณะรูปร่างมักจะมีขนาดบางและเล็ก ทัำงนีำเพื่อให้แทนที่เนืำอคอนกรีตน้อยที่สุด
จึงมักจะเป็น พลาสติกที่มีกำา ลั งสู ง บางชนิ ดปลายที่ ยึด ติด กั บ เหล็ กจะทำา เป็น ตัว
ล็อค ยึดติดแน่นกับเหล็กเสริมเลย ส่วนปลายด้านที่ยันกับแบบอาจจะเป็นแป้นยัน
กับแบบเฉยๆ หรือถ้าเผื่อเป็นกรณีของไม้แบบอาจจะใช้เป็นเดือยเสียบเข้าไม้ลึก
พอที่จะเพิ่มความมั่นคง และกับการขยับเขยืำอนในขณะที่เทคอนกรีต




   ประเภทงาน             ความลึก/ความสูง              ประเภทเครื่องมือตรวจวัด
                                                            พฤติกรรม
                      พื้นที่ทั่วไป   พื้นที่ดิน
                                      เหนียว
                                         อ่อน
งานขุดดิน       ความลึก        ความลึก ไม่ ต้ อ งติ ด ตั้ ง เครื่ อ งมื อ ตรวจวั ด
                  น้อยกว่า ١     น้อยกว่า ٥ (ตรวจวัดด้วยสายตา)
                    ٥ เมตร          เมตร

                   ความลึก     ความลึก หมุ ด วั ด การเคลื่ อ นตั ว ที่ ผิ ว ดิ น
                   ตั้งแต่ ١٥ ตังแต่ ٥ ถึง (Surface Monuments)
                                ้
                  ถึง ٢٥ เมตร ١٠ เมตร

                   ความลึก        ความลึก      1.หมุ ด วั ด การเคลื่ อ นตั ว ที่ ผิ ว ดิ น
                   มากกว่า        มากกว่า      (Surface Monuments) และ

                   ٢٥ เมตร        ١٠ เมตร      2.ท่ อ วั ด ก า ร เ ค ลื่ อ น ตั ว ด้ า น
                                               ข้าง(Inclinometers)


   งานถมดิน        ความสูง        ความสูง ไม่ ต้ อ งติ ด ตั้ ง เครื่ อ งมื อ ตรวจวั ด
                  น้อยกว่า ٥     น้อยกว่า ٤ (ตรวจวัดด้วยสายตา)
                     เมตร           เมตร
                      ความสูง     ความสูง หมุ ด วั ด การเคลื่ อ นตั ว ที่ ผิ ว ดิ น
                  ตังแต่ ٥ ถึง ١ ตังแต่ ٤ ถึง (Surface Monuments)
                    ้              ้
                      ٠ เมตร         ٧ เมตร

                   ความสูง       ความสูง       1.หมุ ด วั ด การเคลื่ อ นตั ว ที่ ผิ ว ดิ น
                  มากกว่า١٠      มากกว่า٧      (Surface Monuments) และ
                    เมตร           เมตร
                                               2.ท่อวัดการเคลื่อนตัวด้านข้าง (Inc
                                               linometers)

                                               ٣.ม า ต ร วั ด ค ว า ม ดั น นำ้า
                                               (Piezometers)




งาน Slipform

1. วัตถุประสงค์
2. อุปกรณ์

٢.١ แผ่นผิว, คานรองรับ, โครงยก, ชานชาลาทำางาน, นังร้านแขวน และระบบแจ็
                                                      ่
คหรือไฮโดรลิคซึ่งแต่ละชิำนส่วนจะมีหน้าที่หลัก ดังต่อไปนีำ



3. วิธีการ

١.ออกแบบ Slip Form และคำานวณอัตราส่วนผสมคอนกรีต (Mix design Concer
t)ที่เหมาะสม พร้อม Pump Concert ให้เหมาะสมกับประเภทและขนาดของงาน
อาคาร
٢.ปรับสภาพพืำนที่หน้างานก่อสร้างให้พร้อมที่จะปฏิบัติงานก่อสร้าง
٣.ดำาเนินการประกอบโครง Slip Form โดยรอบพืำนที่ตอม่อที่จะเทคอนกรีตทัำงสอง
ตอม่อที่อยู่ติดกัน
٤.ดำาเนินการประกอบคานโครงเหล็กยึดระหว่างโครง Slip Form ทัำงสองตอม่อ
٥.ดำาเนินการประกอบปิดแบบหล่อด้านข้างสูง 1 เมตร
٦.ดำาเนินการประกอบคานยึดปากแบบ และเตรียมช่องพืำนที่ที่จะเทคอนกรีตเป็น
ช่วงๆ ระยะห่างไม่เกินช่วงละ 2 เมตร.
٧.ติดตัำงกระบอกไฮโดรลิคกับคานยึดคร่อมปากแบบ โดยติดตัำงคานละ 2 ตัว
พร้อมใส่เหล็กผ่านแกนกระบอกไฮโดรลิคเพื่อใช้คำายันแบบในการเลื่อน
      1.      ตรวจสอบแนวดิงของแกนเหล็กคำำายัน เพือบังคับทิศทางการเคลือนที่
                                ่                        ่                    ่
              ของแบบ Slip Form ให้อยูในแนวดิง
                                          ่         ่
      2.      ต่อสายไฮโดรลิกจากระบอกไฮโดรลิคที่ติดตัำงบนคานยึดปากแบบทุก
              ตัวเข้าสู่แม่ปั้มไฮโดรลิคที่ติดตัำงไว้ระหว่างตอม่อที่จะเทคอนกรีตทัำง
              สอง
      3.      การเลื่อนแบบ Slip Form ขึนในแนวดิ่งจะอาศัยแม่ปั้มไฮโดรลิคที่ติด
                                            ำ
              ตัำงไว้ระหว่างตอม่อทัำงสองเพียง         ตัวเดียวเพื่ออัดแรงดันไฮโดรลิค
              เข้ากระบอกไฮโดรลิคที่ติดตัำงไว้บนคานยึดเหนือปากแบบพร้อมกัน
              ทุกตัว
      4.      การเคลื่อนตัวขึำนแต่ละครัำงแบบหล่อ Slip Form ทัำงชุด(ทัำงสอง
              ตอม่อ) จะยกขึำนประมาณ 2 เซนติเมตรต่อครัำง ระยะห่างกันประมาณ
              5 นาทีต่อ 1 ครัำงพร้อมตรวจเช็คระดับ Slip Form ให้อยู่ในแนวดิ่ง
              และแนวราบเสมอ
      5.      เตรียมอัตรากำาลังแรงงาน เครื่องจักรเครื่องมือให้เพียงพอสำาหรับงาน
              ที่ทำาอย่างต่อเนื่อง
      6.      เทคอนกรีตและควบคุมการทำางานตามหลักการเทคอนกรีตโดยให้มี
              การกระจายตัวอย่างสมำ่าเสมอ
การเทคอนกรีตด้วยแบบ Slip Form
การเทคอนกรีตด้วยแบบ Slip Form

     1.      เมื่ อ ประกอบแบบ Slip Form และได้ ต รวจสอบระบบต่ า งๆ
             เสร็จแล้ว จึงดำาเนินการเทคอนกรีตลงในแบบ Slip Form ให้
             มีชั้นความหนาของเนื้อคอนกรีตสมำ่าเสมอทั่วทั้งแบบ โดยให้
             ความหนาแต่ละชั้นไม่ ควรเกิ น 25 เซนติเมตร แล้วเทวนไป
             เรื่อยๆ จนเต็มแบบ Slip Form
     2.      หลังจากเริ่มเทคอนกรีตผ่านไป 4 ชั่วโมง จึงทำาการเลื่อนแบบ
             หล่อขึ้นทุกๆ 5 นาที ซึ่งจะเลื่อนขึ้น 2 เซนติเมตร ทุกๆ 5 นาที
             และเทคอนกรีตต่อเนื่องไป
     3.      เลื่อนแบบหล่อพร้อมเทคอนกรีตตามข้อ 2 ต่อไปเรื่อยๆ จนถึง
             ระดับที่ต้องการแล้ว จึงหยุดเทชั่วคราว
     4.      เมื่อเทคอนกรีตถึงระดับที่ต้องการและหยุดเทชั่วคราว ให้แต่ง
             ผิ ว ระดั บ คอนกรี ต ให้ เ สมอกั น และค่ อ ยๆ เคลื่ อ นแบบ Slip
             Form เป็นช่วงเวลา (Step) ทุกๆ 5 นาที จนกระทั่งแบบหล่อ
             ด้านล่างของคอนกรีตประมาณ 60 เซนติเมตร จึงหยุด
     5.      เมื่ อจะทำา คอนกรี ตต่ อ ดำา เนิน การตามข้ อ 1 ถึง ข้อ 4 ต่อ ไป
             เรื่อยจนแล้วเสร็จความต้องการ
การถอดแบบ
      เมื่ อ แบบเลื่ อ นได้ ขั บ เคลื่ อ นไปถึ ง ระดั บ สู ง สุ ด แจ็ ค แม่ แ รงหรื อ ไฮ
โดรลิคที่ยกก็จะหยุดทำา งาน แต่ยังถอดออกไม่ได้จนกว่ าจะให้ นำ้า หนัก
ของแบบเลื่ อนถ่ ายลงสู่ กำา แพงโดยใช้วิ ธีก ารฝั งหั วน็ อตไว้ ก่อ นที่ จ ะถึ ง
ยอด และเมื่อถึงแล้วจึงเอา น็อตตัวผูขันเข้าไปในรูน็อตนั้น แล้วปล่อยแจ็
                                             ้
คหรือไฮโดรลิค ให้ทิ้งนำ้าหนักลงบนน็อตและถ่ายแรงลงกำาแพง หลังจาก
นั้นจะเริ่มถอดแม่แรงและโครงยกได้ ส่วนแท่นยืนจะต้องใช้เป็นแบบหล่อ
พื้นเครื่องกว้าน เมื่อพื้นเสร็จก็สามารถถอดนั่งร้านแขวนและแบบแผ่นผิว
ออกเป็นชินๆ ได้ การถอดแบบแท่นยืนอาจแยกออกเป็นส่วนๆ ชิ้นเล็กๆ
             ้
หรือหย่อนลงทังชุดก็ยอมทำาได้ แต่ตองเว้นช่องเพือร้อยเชือกหย่อนลงด้วย
                ้        ่                 ้                  ่
รอกและปันจันตามแต่สะดวกเพือย้ายไปทำางาน ขึนตอนอืนต่อไป
            ้ ่                        ่                    ้         ่
คานรองรับ, โครงยก, ชานชาลาทำางาน, นั่งร้านแขวน และระบบแจ็คหรือไฮโดร
ลิคซึ่งแต่ละชิำนส่วนจะมีหน้าที่หลัก ดังต่อไปนีำ

More Related Content

Viewers also liked

2014 holden - databricks umd scala crash course
2014   holden - databricks umd scala crash course2014   holden - databricks umd scala crash course
2014 holden - databricks umd scala crash course
Holden Karau
 
Bs 2
Bs   2Bs   2
ส่วนคำนวณวงจร Power supply
ส่วนคำนวณวงจร Power supplyส่วนคำนวณวงจร Power supply
ส่วนคำนวณวงจร Power supply
Golfgolf Happines
 
Women's Golf Report Apr2012
Women's Golf Report Apr2012Women's Golf Report Apr2012
Women's Golf Report Apr2012
Golf Belles
 
Visual resume
Visual resumeVisual resume
Visual resume
James McCubbins
 
แหล่งจ่ายไฟ
แหล่งจ่ายไฟแหล่งจ่ายไฟ
แหล่งจ่ายไฟ
Golfgolf Happines
 
Introducing Apache Spark's Data Frames and Dataset APIs workshop series
Introducing Apache Spark's Data Frames and Dataset APIs workshop seriesIntroducing Apache Spark's Data Frames and Dataset APIs workshop series
Introducing Apache Spark's Data Frames and Dataset APIs workshop series
Holden Karau
 
Praktikum sistem basisdata nahot frastian s kom
Praktikum sistem basisdata nahot frastian s komPraktikum sistem basisdata nahot frastian s kom
Praktikum sistem basisdata nahot frastian s komNahot Frastian, M.Kom
 
Mahasiswa Tingkat Akhir
Mahasiswa Tingkat Akhir Mahasiswa Tingkat Akhir
Mahasiswa Tingkat Akhir
Deny Ferdyansyah
 

Viewers also liked (20)

2014 holden - databricks umd scala crash course
2014   holden - databricks umd scala crash course2014   holden - databricks umd scala crash course
2014 holden - databricks umd scala crash course
 
Bs 2
Bs   2Bs   2
Bs 2
 
Jaringan komputer 7
Jaringan komputer 7Jaringan komputer 7
Jaringan komputer 7
 
FRSA Flash 27 April 2012
FRSA Flash 27 April 2012FRSA Flash 27 April 2012
FRSA Flash 27 April 2012
 
Chrismas in cuba
Chrismas in cuba Chrismas in cuba
Chrismas in cuba
 
FRSA Flash 5 April 2012
FRSA Flash 5 April 2012FRSA Flash 5 April 2012
FRSA Flash 5 April 2012
 
ส่วนคำนวณวงจร Power supply
ส่วนคำนวณวงจร Power supplyส่วนคำนวณวงจร Power supply
ส่วนคำนวณวงจร Power supply
 
Jaringan komputer 12
Jaringan komputer 12Jaringan komputer 12
Jaringan komputer 12
 
FRSA Flash 13 April 2012
FRSA Flash 13 April 2012FRSA Flash 13 April 2012
FRSA Flash 13 April 2012
 
Women's Golf Report Apr2012
Women's Golf Report Apr2012Women's Golf Report Apr2012
Women's Golf Report Apr2012
 
P1 jarkom
P1 jarkomP1 jarkom
P1 jarkom
 
P2 jarkom
P2 jarkomP2 jarkom
P2 jarkom
 
Visual resume
Visual resumeVisual resume
Visual resume
 
แหล่งจ่ายไฟ
แหล่งจ่ายไฟแหล่งจ่ายไฟ
แหล่งจ่ายไฟ
 
Imperialismo
ImperialismoImperialismo
Imperialismo
 
Introducing Apache Spark's Data Frames and Dataset APIs workshop series
Introducing Apache Spark's Data Frames and Dataset APIs workshop seriesIntroducing Apache Spark's Data Frames and Dataset APIs workshop series
Introducing Apache Spark's Data Frames and Dataset APIs workshop series
 
Frsa flash 10 feb12
Frsa flash 10 feb12Frsa flash 10 feb12
Frsa flash 10 feb12
 
FRSA Flash 16 March 2012
FRSA Flash 16 March 2012FRSA Flash 16 March 2012
FRSA Flash 16 March 2012
 
Praktikum sistem basisdata nahot frastian s kom
Praktikum sistem basisdata nahot frastian s komPraktikum sistem basisdata nahot frastian s kom
Praktikum sistem basisdata nahot frastian s kom
 
Mahasiswa Tingkat Akhir
Mahasiswa Tingkat Akhir Mahasiswa Tingkat Akhir
Mahasiswa Tingkat Akhir
 

More from Golfgolf Happines

ส่วนคำนวณวงจร Power supply
ส่วนคำนวณวงจร Power supplyส่วนคำนวณวงจร Power supply
ส่วนคำนวณวงจร Power supplyGolfgolf Happines
 
ส่วนคำนวณวงจร Power supply
ส่วนคำนวณวงจร Power supplyส่วนคำนวณวงจร Power supply
ส่วนคำนวณวงจร Power supply
Golfgolf Happines
 
ส่วนคำนวณวงจร Power supply
ส่วนคำนวณวงจร Power supplyส่วนคำนวณวงจร Power supply
ส่วนคำนวณวงจร Power supply
Golfgolf Happines
 
28march2012 jaturapat pakkawanit 532118042
28march2012 jaturapat pakkawanit 53211804228march2012 jaturapat pakkawanit 532118042
28march2012 jaturapat pakkawanit 532118042
Golfgolf Happines
 
9feb2012 53211804
9feb2012 532118049feb2012 53211804
9feb2012 53211804
Golfgolf Happines
 
26jan2012 jaturapat pakkawanit 532118042
26jan2012 jaturapat pakkawanit 53211804226jan2012 jaturapat pakkawanit 532118042
26jan2012 jaturapat pakkawanit 532118042
Golfgolf Happines
 
Control relay
Control relayControl relay
Control relay
Golfgolf Happines
 
081254
081254081254
081254
081254081254

More from Golfgolf Happines (12)

ส่วนคำนวณวงจร Power supply
ส่วนคำนวณวงจร Power supplyส่วนคำนวณวงจร Power supply
ส่วนคำนวณวงจร Power supply
 
ส่วนคำนวณวงจร Power supply
ส่วนคำนวณวงจร Power supplyส่วนคำนวณวงจร Power supply
ส่วนคำนวณวงจร Power supply
 
ส่วนคำนวณวงจร Power supply
ส่วนคำนวณวงจร Power supplyส่วนคำนวณวงจร Power supply
ส่วนคำนวณวงจร Power supply
 
28march2012 jaturapat pakkawanit 532118042
28march2012 jaturapat pakkawanit 53211804228march2012 jaturapat pakkawanit 532118042
28march2012 jaturapat pakkawanit 532118042
 
9feb2012 53211804
9feb2012 532118049feb2012 53211804
9feb2012 53211804
 
26jan2012 jaturapat pakkawanit 532118042
26jan2012 jaturapat pakkawanit 53211804226jan2012 jaturapat pakkawanit 532118042
26jan2012 jaturapat pakkawanit 532118042
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
Control relay
Control relayControl relay
Control relay
 
081254
081254081254
081254
 
081254
081254081254
081254
 
081254
081254081254
081254
 

งานเสาเข็..

  • 1. บ ท ที่ ٣ วิ ธี ก า ร ศึ ก ษ า (Methodology) งานเสาเข็ม เสาเข็ ม เป็ น ส่ ว นประกอบของฐานรากในการถ่ า ยนำำา หนั ก ของฐานรากลงสู่ ดิ น เนื่องจากต้องการลดขนาดของฐานราก กรณีฐานรากรับนำำา หนักจากเสามากและ พืำ น ที่ ก่ อ สร้ า งจำา กั ด หรื อ ในกรณี ที่ ดิ น มี คุ ณ สมบั ติ ก ารรั บ นำำา หนั ก ได้ น้ อ ยเช่ น ดิ น เหนียว เป็นต้น เสาเข็มที่นิยมใช้มีอยู่ 2 ประเภทใหญ่ๆคือ เสาเข็ม ตอก และเสา เข็ ม เจาะ การที่ จ ะเลื อ กใช้ ป ระเภทของเสาเข็ ม ขึำ น อยู่ กั บ สิ่ ง แวดล้ อ มในพืำ น ที่ ก่อสร้าง เช่น เส้นทางคมนาคม สิ่งก่อสร้างใกล้เคียง สภาพชุมชน และขนาดพืำนที่ ของงานก่อสร้างเอง 3.1.1.การควบคุมและตรวจสอบงานเสาเข็มตอก เสาเข็มตอกในปัจจุบันนีำทำาด้วยคอนกรีตอัดแรงซึ่งมีให้เลือกอยู่ 4 ชนิดคือ เสาเข็ม สี่ เหลี่ย มตั น ใช้กั บดิ น แข็ง เสาเข็ม หน้ า ตั ด ตั ว ไอซึ่ ง ใช้ กั บ ดิ น เหนี ย วหรื อ ดิ น อ่ อ น เพราะมีพืำนที่ผิวรับแรงเสียดทานได้มาก เสาเข็มแรงเหวี่ยงซึ่งมีรูปหน้าตัดกลมและ มีรูอยู่ตรงกลางสามารถรับนำำาหนักได้มากกว่าเสาเข็มสองชนิดข้างต้นเพราะมีความ แข็งแรงสูงจึงสามารถตอกลงได้ลึกมากกว่าอีกทัำงต้องใช้เครื่องมือตอกเฉพาะทาง อี ก ด้ ว ยเสาเข็ ม หกเหลี่ ย มเส้ น ผ่ า นศู น ย์ ก ลาง 15 ซม. เป็ น เสาเข็ ม ที่ ผ ลิ ต ขึำ น มา ทดแทนเสาเข็มไม้ ซึ่งจะใช้ในฐานรากดินอ่อนที่ต้องตอกเป็นกลุ่มการควบคุมงาน และตรวจสอบงานเสาเข็ ม ให้ ถู ก ต้ อ งนัำ น ต้ อ งประกอบด้ ว ยคุ ณ ภาพของเสาเข็ ม เครื่องมือที่สมรรถนะดี มีบุคคลากรที่มีประสบการณ์ รวมถึงขัำนตอนในการควบคุม งานและตรวจสอบที่ดี จึงพอสรุปออกมาเป็นหัวข้อในการควบคุมและการตรวจสอบ เสาเข็มได้ดังนีำ 1. ก่อนตอก 1.การขนส่งเสาเข็ม 2.การกองเสาเข็ม และการชักลากเสาเข็ม 3.การจัดลำาดับขัำนตอนการตอกเสาเข็ม และทางเดินปั้นจั่น 4.ขนาด รูปร่าง ความยาว อายุเข็ม ถูกต้องตามรูปแบบ และรายการประกอบแบบ ก่อสร้าง 5.หัวเข็มได้ฉากกับแนวแกนหรือไม่ เอียงเกินข้อกำาหนดหรือไม่ 6.หัวเข็มที่มีลวดโผล่ ซึ่งอาจเป็นอันตรายขณะตอกหรือไม่ 7.หัวเข็มตามแบบมีหมุดไม้หรือไม่ 8.คุณภาพคอนกรีตและเหล็กเสริมในตัวเข็ม 9.รอยแตกร้าวการโก่งงอของตัวเข็ม 10.ปั้นจั่นเหมาะสมกับการตอกหรือไม่ 11.นำำาหนักลูกตุ้มเหมาะสมกับการตอกเข็มหรือไม่ 12.มีเสาส่งยาวพอใช้หรือไม่ 13.หมวกครอบกระสอบรองหัวเข็ม 14.นังร้านแข็งแรงดีหรือไม่ ่
  • 2. 15.ในกรณีตอกใกล้สายไฟแรงสูงต้องหุ้มสายไฟ 16.ตำาแหน่งศูนย์เสาเข็ม โดยเฉพาะเข็มเอียงต้องให้แยกออกไป 17.อุปกณ์สำาหรับต่อเข็มในกรณีเข็มต่อ 18.การเตรียมจดข้อมูลในการตอกเข็ม 19.เงื่อนไขสัญญาต่อเข็ม กำาหนดด้วยความยาว หรือนับจำานวนที่ต้องการในแบบ 20.รายการก่อสร้างมีการทดสอบเสาเข็มหรือไม่ 21.เตรียมแบบฟอร์มการจดจำานวนที่ต้องใช้และข้อมูลอื่น น้า หนักตุ้ม สูตรที่จะใช้ คำานวณ 2. ขณะตอก 1.การชักลาก 2.ดิ่ง 3.ตำาแหน่งหลังจากปักเสาเข็มแล้ว โดยวัดจากระยะของการตอก 4.ลูกตุ้มและเสาเข็มตรงศูนย์หรือไม่ 5.ระยะยกลูกตุ้ม 6.การรองหัวเข็ม หมวกครอบ 7.มีการจดรายงานครบถ้วนหรือไม่ 8.การคำานวณในแบบผิดหรือไม่ 9.วิธีการตอกเสาเข็ม 10.ความปลอดภัยขณะตอก 11.ระดับหัวเสาเข็ม 12.หากเข็มตอกไม่ลง หรือ หัก หรือการคำา นวณค่าผิดปกติต้องรีบรายงานวิศวกร ผู้รับผิดชอบทันที 3. หลังตอก 1.หากปักหมุดไว้หลายๆหมุดหมุดที่ปักไว้ล่วงหน้าเสียหายหรือถูกดินดันหรือไม่ 2.ลักษณะความกว้างทัำงตำาแหน่งและแนวดิ่ง 3.ตำา แหน่งที่ทำา ได้จริงทำา เครื่องหมายแสดงตำา แหน่งเสาเข็มที่ตอกเสร็จแล้วใน แต่ละวันลงในแบบเพื่อเป็นหลักฐาน และป้องกันการสับสน 4.ตรวจการเตรียมการทดสอบเสาเข็ม 3.1.2 การควบคุมและตรวจสอบงานเสาเข็มเจาะ เสาเข็ ม เจาะ (Bored Piles) เป็ น เสาเข็ ม ที่ เ ป็ น ทางเลื อ กสำา หรั บ พืำ น ที่ ที่ มี ก าร คมนาคมไม่สะดวกในการขนส่งเสาเข็มที่มีขนาดความยาวเข้าไปในพืำนที่ได้ หรือ พืำ น ที่ ก่ อ สร้ า งคั บ แคบไม่ ส ามารถประกอบปั้ น จั่ น ได้ อี ก ทัำ ง ต้ อ งการลดความสั่ น สะเทือนของการตอกเสาเข็ม ซึ่งอาจทำาให้อาคารข้างเคียงชำารุดหรือเสียได้
  • 3. การควบคุมและตรวจงานเสาเข็มเจาะให้ได้คุณภาพนัำนสามารถสรุปเป็นหัวข้อได้ ดังนีำ 1.การเจาะเสาเข็มจะต้องรักษาระดับแนวดิ่งไม่เกิน 1:100 และค่าหนีศนย์ของ ู ปลอกเหล็ก จะต้องไม่เกิน 5 เซนติเมตร 2.ตรวจสอบความลึกของดินที่เปลี่ยนแปลงไป ว่ามีการพังทลายของดินในหลุม หรือไม่ 3.วัดระดับก้นหลุมเจาะและความลาดเอียงให้ตรงตามแบบ 4.ใส่เหล็กเสริมให้ตรงตำา แหน่งและยึดให้มั่นคงแข็งแรง 5.ตรวจสอบระยะห่างของเสาเข็มที่เจาะในวันเดียวกันจะต้องห่างกันไม่น้อยกว่า 6 เท่าของเส้นผ่าศูนย์กลางของเสาเข็ม 6.ตรวจสอบระดับน้า ใต้ดิน และหาทางป้องกันไม่ให้น้า ซึมเข้าไปในหลุม 7.เทคอนกรีตผสมแห้งลงไปรองก้นหลุมก่อนประมาณ 1 โม่และใช้ลูกตุ้มตอก ปลอกเหล็กกระทุ้งให้แน่นก่อน 8.ขณะเทคอนกรีตต้องใช้ ท่อส่งคอนกรีต เพื่อป้องกันคอนกรีตแยกตัวและระวังไม่ให้วัสดุแปลกปลอมหล่น ลงไปในหลุม 9.ตรวจสอบการวางท่อส่งคอนกรีตจะต้องไม่ชิดกับเหล็กเสริม คอนกรีต 1 0.ตรวจสอบระดับคอนกรีตที่เทในหลุมแต่ละครัำง เปรียบเทียบปริมาณคอนกรีตตาม ที่คำานวณในแต่ละหลุมเทียบกับปริมาณคอนกรีตที่เทจริง 11.ตรวจสอบระดับเผื่อคอนกรีตที่หัวเสาเข็ม 12.ตรวจสอบการถอนปลอกเหล็ก จะต้องกระทา ก่อนที่คอนกรีตจะแข็งตัว 13.ตรวจสอบความสมบูรณ์ของเสาเข็ม ตามที่วิศวกรกำาหนด 14.ตรวจสอบความปลอดภัยในการเจาะจากผู้รับเหมา
  • 4. ฐาน (Foundation) ฐานคือส่วนประกอบที่รับนำำาหนักของอาคาร ซึ่งรวมนำำา หนักของอาคารแล้ว ถ่ายลงมายังเสา ผ่านฐานรากและลงสู่ดินขัำนตอนการทำา ฐานในขัำนแรกนัำน ควรมี การเทคอนกรีตหยาบทับหน้าดิน ก่อนเทควรมีการทำา ความสะอาดเสาเข็มและใช้ ไฟเบอร์ตกแต่งเข็มให้ได้ระดับเสียก่อน แล้วเทคอนกรีตหยาบเพื่อเป็นแบบท้อง ฐานและป้องกันสิ่งสกปรกเจือปนในคอนกรีตฐาน และให้เสาเข็มโผล่พ้นคอนกรีต หยาบประมาณ 5 ซม.เพื่อให้มั่นใจว่าฐานได้ถ่ายแรงลงสู่ เสาเข็ม การเทคอนกรีต หยาบนัำน ก็เพื่อเป็น ท้ อ งแบบวางตะแกรงเหล็ก ฐาน หลั งจากนัำน ใช้ ลูก ปูน หนุ น ตะแกรงเหล็ก ทัำงด้านล่าง และด้านข้าง (ประมาณ 5 ซม.) เพื่อให้ปูนสามารถหุ้ม เหล็กได้ทัำงหมด ก่อนการเทควร ทำา ให้พืำนที่ ที่จะเท มีความชุ่มชืำน ป้องกันดินดูด นำำา จากคอนกรีต ซึ่งจะทำา ให้คอนกรีตลดความแข็งแรงลงอีกทัำงต้ องทา ความ สะอาดตรวจขนาดของเหล็กเสริมให้ถูกต้อง ตรวจขนาดของแบบหล่อ ความแข็ง แรงและความสะอาดให้แน่ใจก่อนการเทว่าไม่มีคราบโคลน หรือคราบปูนทราย ที่ หลุดง่ายติดอยู่ในระหว่างการเท ต้องมีการกระทุ้งคอนกรีตด้วยมือ หรือใช้เครื่อง สั่ น (Vibrator) ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ เกิ ด โพรงหรื อ ช่ อ งว่ า งในเนืำ อ คอนกรี ต ควรมี ก าร ควบคุมและตรวจสอบงานดังต่อไปนีำ 1.ตรวจสอบขนาดและตำาแหน่งของฐานให้ตรงกับแบบ 2.ตรวจสอบระยะศูนย์กลางของฐานและเสาตอม่อของอาคาร 3.ทำา shop Drawing ของฐานและตอม่อทุกต้นที่มีขนาดแตกต่างกัน 4.ตรวจสอบขนาดความกว้างความยาวและความลึกของหลุมฐานตามแบบโดยให้ ก้นหลุมมีพืำนที่เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน ปกติจะให้ห่างจากขอบฐานโดยรอบไม่ น้อยกว่า 0.25 เมตรการขุดดินให้ระวังดินพัง และดันเสาเข็มหักหรือขยับตัวถ้าดิน พังให้ทำาการป้องกันด้วยการตอกเสาเข็มไม้ หรือเสาเข็มแผ่นเหล็ก 5.ตรวจสอบระดับหัวเสาเข็มให้ถูกต้องตามแบบ ถ้าหัวเสาเข็มแตกหรือบิ่นให้ทา การแก้ไขก่อน 6.ตรวจสอบน้า และดินเลนในก้นหลุมฐานก่อนถ้ามีนำา และดินเลนให้เอาออกและ ทำาความสะอาดหลุมก่อนการเททรายและคอนกรีตหยาบตามแบบ 7.ตรวจสอบเหล็กเสริมฐานให้ตรงตามแบบ 8.ก า ร ติ ด ตัำ ง เ ห ล็ ก เ ส ริ ม จ ะ ต้ อ ง ต ร ง ต า ม แ บ บ แ ล ะ ใ ช้ ลู ก ปู น ร อ ง ร ะ ย ะ หุ้ ม คอนกรีตเสริมเหล็กตามข้อกำาหนดว่าด้วยมาตรฐานคอนกรีตเสริมเหล็ก 9.การติดตัง Anchor Boilt ในตอม่อจะต้องไม่ให้ชนกับเหล็กเสริมตอม่อ
  • 5. 10.การติดตัง Water Stop ในผนัง pit จะต้องตรงตามตำาแหน่งกึ่งกลางความหนา ของผนัง ยึดโยงด้วยลวดผูกเหล็กห่างกันไม่เกิน 0.50 แน่นมั่นคง 11.การติดตัำงไม้แบบจะต้องได้ขนาดตามแบบ หนาแน่นมั่งคงแข็งแรง ไม่เคลื่อน ขณะเทคอนกรีต 12.การเทคอนกรี ต ให้ เ ทเป็ น ชัำ น ๆ และเขย่ า โดยใช้ เ ครื่ อ งจีำ ค อนกรี ต ให้ แ น่ น ทุ ก ระยะ 13.การถอดแบบหล่อคอนกรีตต้องกระทำา ด้วยความระมัดระวังไม่ให้คอนกรีตบิ่น หรือแตกหากคอนกรีตมี รูพ รุน ยาวไม่เ กิน 2 นิำว ให้ซ่อมโดยด่ว น ถ้า มากกว่ า นีำ จะ ต้องแจ้งให้วิศวกรทราบทันที 14.การบ่มคอนกรีต ให้กระทำา ภายหลังจากการเทคอนกรีต 24 ชั่วโมง ติดต่อกัน เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 7 วัน หรือตามที่ระบุในแบบ 15.หลังจากถอดแบบฐานแล้วต้องรีบกลบหลุม อย่าให้นำาขัง
  • 6. งานก่อสร้างคาน : ขั้นตอนการก่อสร้างคาน คานเป็นโครงสร้างทำาหน้าที่รับนำำา หนักของพืำน ผนัง แล้วจะถ่ายนำำา หนักไป ยังที่รองรับได้แก่ เสา อีกทอดหนึ่ง คานที่อยู่ส่วนล่างสุดของบ้านหรืออาคารเรียก ว่ า คานคอดิ น ส่ ว นคานที่ อ ยู่ ด้ า นบนจะเรี ย กตามชัำ น เช่ น คานชัำ น 2 คานชัำ น 3 เป็นต้น ขั้ น ต อ น ก า ร ก่ อ ส ร้ า ง ค า น 1. ตรวจสอบระดับ ท้อ งคาน ระดับ หลั งคาน เพื่อ ให้ ระดับ ความสูง ของบ้ า น และ ความสูงระหว่างชัำนต่อชัำนถูกต้องตามแบบก่อสร้าง และต้องดูว่าเสาตอม่ออยู่ตำ่า หรือสูงกว่าระดับ + 0.00 หรือระดับ Offset ที่เสา เพื่อจะได้วางแผนการก่อสร้าง ไ ด้ ถู ก ต้ อ ง 2. ติดตัำงท้องคานเพื่อวางเหล็กเสริม โดยที่ท้องคานจะมีขนาดเท่าใดนัำน ขึนอยู่กับ ำ แบบก่อสร้าง กรณีที่เป็นคานคอดินต้องมีที่ท้องคานวางอยู่บนดินก็จะใช้พืำนดินเป็น ท้องคานซึ่งจะทำา การเท lean concrete ก่อนแล้วค่อยวางเหล็กเสริม แต่ถ้าคาน คอดินอยู่สูงกว่าพืำนดินก็ควรทำานั่งร้านเตีำยๆ เพื่อวางท้องคานในกรณีที่เป็นคานชัำน ที่ สู ง ขึำ น ไปจะทำา เป็ น นั่ ง ร้ า นสู ง หรื อ ตุ๊ ก ตารองรั บ ท้ อ งคาน หรื อ อาจใช้ นั่ ง ร้ า น สำาเร็จรูปก็ได้ นั่งร้านที่รองรับท้องคานต้องสามารถรองรับนำำาหนักคานและนำำาหนัก แ บ บ ห ล่ อ ไ ด้ เ มื่ อ เ ท ค อ น ก รี ต 3. การเสริมเหล็กต้องเป็นไปตามแบบก่อสร้างทัำงชนิด ขนาด จำานวนและตำาแหน่ง การวางเหล็ ก เสริ ม การต่ อ ทาบต้ อ งตรงกั บ ตำา แหน่ ง ที่ เ กิ ด โมเมนต์ น้ อ ยที่ สุ ด สำา หรับคานเหล็กเสริมบนให้ต่อทาบกลางคาน เหล็กเสริมล่างให้ต่อทาบทิ่ริมเสา เหล็กปลอกระยะห่างตามแบบก่อสร้างกำา หนดและต้องเผื่อระยะหุ้มคอนกรีตด้วย 4. เมื่อเสริมเหล็กเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะทำา การติดตัำงแบบหล่อโดยแบบหล่อที่ใช้ อาจเป็นแบบเหล็กหรือไม้ก็ได้ แบบหล่อต้องได้ดิ่งมีคำา ยัน และตีรัดแบบหล่อให้ แ ข็ ง แ ร ง 5.หาระดับหลังคานเพื่อใช้ในการเทคอนกรีตส่วนมากการเทคอนกรีตคานจะเทลด ร ะ ดั บ จ า ก ห ลั ง ค า น ป ร ะ ม า ณ 10 เ ซ น ติ เ ม ต ร เ พื่ อ ไ ว้ ก่ อ ส ร้ า ง พืำ น 6.ก่อนเทคอนกรีตควรทำาความสะอาดแบบหล่อ และราดนำำา หรือนำำา ปูน แบบหล่ อ ให้ ชุ่ ม ก่ อ นการเทคอนกรี ต เพื่ อ ไม่ ใ ห้ แ บบหล่ อ ดู ด นำำา จากคอนกรี ต 7. ทำา การเทคอนกรีตแล้วทำา ให้คอนกรีตแน่นตัวโดยใช้เครื่องสั่นหรือกระทุ้งด้วย มือ ควรระวังอย่าให้ถูกเหล็กเสริม และต้องตรวจสอบค่ายุบตัวของคอนกรีต และ เก็บตัวอย่างคอนกรีตเพื่อทดสอบกำาลังอัดของคอนกรีต ว่าได้ตามที่ระบุไว้ในแบบ
  • 7. หรือไม่ ในกรณีที่มีการหยุดเทคานให้หยุดเทที่กลางคานในแนวตัำงฉาก ควรเสียบ เหล็ก Dowel เมื่อเทคอนกรีตแล้วก่อนคอนกรีตแข็งตัวความยาวตามแบบก่อสร้าง ใ น ก ร ณี ที่ ใ ช้ พืำ น สำา เ ร็ จ รู ป 8. เมื่อคอนกรีตแข็งตัวแล้ว ประมาณ 1 - 2 วัน สามารถถอดแบบข้างคานได้ แต่ ยั ง ค ง คำำา ยั น ไ ว้ จ น ก ว่ า จ ะ ไ ด้ 14 วั น ห รื อ 21 วั น นั บ จ า ก วั น ห ล่ อ 9. เมื่อถอดแบบแล้ว จะทำาการบ่มคอนกรีตเพื่อให้คอนกรีตพัฒนากำาลังได้ต่อเนื่อง อาจใช้พลาสติกคลุม หรือใช้นำายาบ่มคอนกรีต บ่มชืนอย่างน้อย 7 วัน ำ งานก่ อ สร้ า งพื้ น : พื้ น วางบนดิ น พื้ น คอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก หล่อในที่ พืำนที่เราพบเห็นหลายแบบด้วยกัน คือ พืำนคอนกรีตเสริมเหล็กหล่อในที่ พืำน สำาเร็จรูป พืำนไร้คาน พืำนคอนกรีตอัดแรง เป็นต้น ซึ่งพืำนส่วนใหญ่เป็นโครงสร้างที่ ทำา หน้ า ที่ รั บ นำำา หนั ก โดยตรง แล้ ว ค่ อ ยถ่ า ยนำำา หนั ก ลงสู่ ค าน เสา ฐานราก ตาม ลำา ดั บ แต่ใ นการก่ อ สร้ า งบ้ า นพั ก อาศั ย หรื อ อาคารที่ ไ ม่ ใ หญ่ ม ากอาจใช้ เ ป็ น พืำ น คอนกรีตเสริมเหล็กธรรมดา หรือใช้พนสำาเร็จรูปก็เพียงพอแล้ว ืำ 1. พื้นวางบนดิน พืำนประเภทนีำนิยมใช้กับงานที่อยู่ในระดับพืำนดิน เช่น ทางเดินเท้า พืำนอาคาร บ้าน พักอาศัย และโครงสร้างรับนำำาหนักมาก เช่น พืำนคลังสินค้า โรงงาน ถนน เป็นต้น ขั้นตอนการก่อสร้างพื้นวางบนดิน 1.1.การเตรี ย มพืำ น ที่ สำา หรั บ วางเหล็ ก เสริ ม ส่ ว นที่ เ ป็ น ที่ ตำ่า เช่ น แอ่ ง ท้ อ งร่ อ ง บริเวณที่เป็นหลุมเป็นบ่อ ต้องถมและทำาการบดอัดให้แน่น หากพืำนคอนกรีตขวาง ทางนำำาไหล ต้องการทำาทางระบายนำำาออกก่อนบดอัดดิน โดยการบดอัดดินต้องได้ อัดแน่นตามแบบก่อสร้างระบุ 1.2.สำาหรับพืำนอาคารที่มีเสาอาคาร ควรทำาแบบหล่อกัำนแยกรอยต่อระหว่างเสากับ พืำน เพื่อป้องกันการแตกร้าวของพืำน จากการทรุดตัว พร้อมทัำงทำา ระดับให้ได้ตาม แบบก่อสร้าง รอยต่อของพืำน มีดังนีำ
  • 8. Contraction joint มี ไ ว้ เ พื่ อ ให้ เ กิ ด การเคลื่ อ นตั ว ของคอนกรี ต เนื่ อ งจาก คอนกรีตเกิดการหดตัวแบบแห้ง จากการที่นำาในคอนกรีตระเหยไปในอากาศ การ หดตัวนีำทำาให้เกิดการแตกร้าวของคอนกรีตได้ การทำา Contraction joint เป็นการ บังคับให้การแตกร้าว เกิดในตำา แหน่งที่กำา หนด โดยทั่ว ไป ควรทำา contraction joint ที่ระยะห่างทุกๆ 24-35 เท่าของความหน้าแผ่นพืำน และแบ่งพืำนเป็นสี่เหลี่ยม ชิำนเล็ก ๆ โดยให้อัตราส่วน ด้านยาวต่อด้านสัำน ไม่เกิน 1.5:1.0 ถ้าเป็นไปได้ ควร กำาหนดเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส Isolation joint เป็นรอยต่อที่ทำาขึำน เพื่อให้โครงสร้างคอนกรีตส่วนแนวดิ่ง เช่น เสา ผนัง สามารถเลื่อนตัวอย่างอิสระจาก โครงสร้างคอนกรีตในแนวราบ เช่น พืำน เพื่อไม่ให้เกิดการยึดรัำง อันเป็นสาเหตุให้เกิดการแตกร้า วของโครงสร้างในระยะ ยาว 1.3.คั่นแผ่นพืำนด้วยวัสดุประเภทโฟมให้แยกออกจากผนังหรือคานประมาณ 1.5 - 2.5 ซม. และควรปรับระดับให้ลาดเอียงเล็กน้อยลงไปบริเวณประตูทางเข้า เพื่อ ระบายนำำาฝน หรือนำำาจากการทำาความสะอาด 1.4.การวางเหล็กไม่ควรวางบนดิน ควรใช้แผ่นพลาสติกปูรองพืำนก่อนเพื่อป้องกัน ดินด้านล่างดูดนำำาปูน และป้องกันความชืำนจากพืำนดินซึมผ่านแผ่นพืำนคอนกรีตขึำน มา 1.5.จัดวางเหล็กเสริมให้ได้ขนาด ตำาแหน่ง และระยะถูกต้องตามแบบก่อสร้าง วาง เหล็กเสริมด้านบนเพื่อป้องกันการแตกร้าวที่ผิวของคอนกรีต 1.6.ติ ด ตัำ ง แบบหล่ อ ด้ า นข้ า งพืำ น โดยเคลื อ บผิ ว แบบหล่ อ ด้ ว ยนำำา มั น หรื อ นำำา ยา เคลือบแบบหล่อ เพื่อให้สามารถถอดแบบได้ง่าย รวมทัำงการทำาความสะอาดแบบ หล่อก่อนการเทคอนกรีต 1.7.เทคอนกรีตโดยเริ่มต้นจากมุมด้านในออกมาสู่ด้านนอกแบ่งการเทคอนกรีตที ละส่วนสลับกับการปาดแต่งเนืำอคอนกรีตให้เสมอกันและได้ระดับที่ต้องการ 1.8.ใช้เครื่องสั่นคอนกรีตช่วยทำาให้เนืำอคอนกรีตแน่น พร้อมทัำงปาดแต่งผิวหน้าให้ เรียบสวยงาม 1.9.ทำา การบ่ มคอนกรี ตต่ อ เนื่อ งอย่า งน้ อย 7 วัน เพื่ อให้ค อนกรี ตสามารถพั ฒนา กำาลังได้เต็มที่ 2. พื้นคอนกรีตเสริมเหล็กหล่อในที่ สามารถก่อสร้างได้ 2 ลักษณะคือ การก่อสร้างพืำนร่วมกับคาน หรือการก่อสร้างพืำน หลังการเทคานแล้วเสร็จ 2.1 การก่อสร้างพื้นหล่อในที่ มีขั้นตอนดังนี้
  • 9. 2.1.1.ตรวจสอบระดับหลังคาน ระดับท้องพืำนให้ถูกต้องตามแบบก่อสร้าง 2.1.2.การติ ด ตัำ ง นั่ ง ร้ า นเพื่ อ ก่ อ สร้ า งพืำ น อาจทำา ไปพร้ อ มกั บ ท้ อ งคาน หรื อ อาจ ก่อสร้างคานแล้วเสร็จก่อนแล้วค่อยติดตัำงท้องพืำน โดยมีคำายันที่เพียงพอ แข็งแรง สามารถรับนำำาหนักของคอนกรีต ไม้แบบ และนำำาหนักจรของคนงานขณะปฏิบัติงาน ได้ 2.1.3.จัดวางเหล็กเสริมคาน พืำน ให้ได้ขนาด ตำาแหน่ง และระยะถูกต้องตามแบบ ก่อสร้าง 2.1.4.ทำาการเข้าแบบคานและพืำน พร้อมทัำงคำำายันแบบหล่อให้แข็งแรงสามารถรับ แรงดันคอนกรีตได้ และหาระดับการเทคอนกรีต 2.1.5.ตรวจสอบแบบหล่อว่ามีรอยรั่วหรือเข้าแบบสนิทหรือไม่ ถ้าติดตัำงแบบหล่อ สนิทแล้ว ทำาความสะอาดแบบหล่อ และฉีดนำำาหรือราดนำำาปูนก่อนเทคอนกรีตเพื่อ ป้องกันไม่ให้ไม้แบบดูดนำำาจากคอนกรีต 2.1.6.เทคอนกรีตและใช้เครื่องสั่นคอนกรีตทำา ให้คอนกรีตแน่น ตัว พร้อมทัำงเก็บ ตัวอย่างคอนกรีตเพื่อนำาไปทดสอบหากำาลังอัด 2.1.7.เมื่อคอนกรีตแข็งตัวแล้ว ประมาณ 1-2 วัน ถอดแบบด้านข้าง และทำาการบ่ม คอนกรีตส่วนคำำายันทิำงไว้อีก 14 วันแล้วจึงถอดออก การก่อสร้างพืำน พร้อมคานจะช่วยเพิ่มความสามารถในการรับนำำา หนักบรรทุกของ คานได้ เพราะพฤติกรรมของคานจะเปลี่ยนจากรูปสี่เหลี่ยมผืน ผ้า ไปเป็น รูปตัวที หรือตัวไอ พื้น post-tension ระบบคอนกรี ตอั ดแรงที่ใ ช้ กั บ โครงสร้ า งมี ทัำ ง ชนิ ด Pre-tensioning และ Post- tensioning แต่สำาหรับองค์อาคารหล่อกับที่ปกติจะใช้ชนิด Post-tensioning โครงสร้าง ที่นิยมใช้คอนกรีตอัดแรงชนิดนีำได้แก่ แผ่นพืนไร้คาน(Flat Slab) เพราะสะดวกในการ ำ ทำางานและแระหยัดค่าก่อสร้าง ขัำนตอนในการก่อสร้างแผ่นพืำนระบบนีำคือ 1.ตัำงแบบหล่อพร้อมคำำายัน 2.วางเหล็กเสริมธรรมดาด้านล่าง(Normal Reinforcement) 3.ใส่ Shear Head (ถ้าต้องใช้) 4.วางลวดที่ใช้ในการอัดแรง (Prestressing Strands หรือ Tendons)
  • 10. 5.วางเหล็กเสริมธรรมดาด้านบน 6.เสริมเหล็กพิเศษตรงช่องเปิดและมุมแหลมต่างๆ จำานวนและตำาแหน่งของเหล็กเสริมธรรมดาและ Tendons จะมีระบุอยู่ในแบบ แล้ ว อย่ า งชั ด เจนสำา หรั บ งานวางเหล็ ก เสริ ม ธรรมดาก็ ป ฎิ บั ติ เ ช่ น เดี ย วกั บ งาน คอนกรีตเสริมเหล็กทั่วไป การวางลวดสำาหรับอัดแรงนอกจากจะตรวจตำาแหน่งและ จำานวนให้ตรงตามแบบแล้วจะต้องตรวจสอบสิ่งต่างๆดังต่อไปนีำด้วยคือ 1.การก่อสร้างแผ่นพืำนระบบคอนกรีตอัดแรงทีหลัง(Post-tensioned Concrete Slab) 1.1 Unbonded Tendon -Profile ของลวดกำา (Tendon) ความถูกต้องของระยะจากลวดกำาจนถึงผิวคอนกรีต สำา คั ญมาก เนื่ องจากความหนาของแผ่ น พืำ น ไร้ คานนัำน น้ อยมาก เช่น 200-250 มิลลิเมตรเท่านัำนหากวางลวดผิดไปเพียง 10 มิลลิเมตร จะทำา ให้เกิดหน่วยแรง ดึ ง เพิ่ ม ขึำ น ในคอนกรี ต มากพอที่ จ ะทำา ให้ เ กิ ด การแตกร้ า วได้ ฉ ะนัำ น ก่ อ นเท คอนกรีต ทุก ครัำ งจะต้ องตรวจสอบระยะดัง กล่า วให้ต รงตามแบบ Shop Drawing ทุกๆจุดปกติผิดพลาดได้ไม่เกิน ± 5 มิลลิเมตร -ลวดชนิ ด Unbonded คื อ ลวดกำา ที่ มี วั ส ดุ หุ้ ม เช่ น กระดาษยางมะตอย หรื อ ท่ อ พลาสติ ก จะต้ อ งตรวจสอบความสมบู ร ณ์ ข องเปลื อ ที่ หุ้ ม ถ้ า ใช้ ก ระดาษยาง มะตอยพันหุ้มจะต้องตรวจสอบว่ามีส่วนใดชำารุดบ้างหากพบว่ากระดาษที่พันฉีก ขาดจะต้องซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพดีทุกแห่งก่อนเทคอนกรีต -การวางลวดกำา ไม่ควรอยู่ชิดขอบช่องเปิดขนาดใหญ่จนเกินไป เพราะเมื่อเกิด แรงอัดแล้วอาจเกิดการแตกร้าวบริเวณนัำนได้ -Anchorage ที่อยู่ตรงปลายของลวดกำาก็ต้องระมัดระวังมาก พยายามอย่าให้เกิด เป็นซอกเล็กๆที่คอนกรีตอาจลงไม่ถึงหรือลงงไปได้เฉพาะปูนทราย เพราะจุด นัำนจะเป็นจุดที่ต้องรับแรงอัดสูงสุด ตัว Anchorage เองก็ต้องตรวจสอบให้ตรงกับ ตัวอย่างที่ได้รับอนุมัติแล้วมิฉะนัำนอาจชำารุดได้ในขณะถ่ายแรง 1.2.Bonded Tendon ขัำนตอนต่อไปก็คือการดึงลวดซึ่งจะต้องระมัดระวังในสิ่งต่อ ไปนีำคือ -ก่อนการดึงลวดต้องตรวจสอบจนแน่ใจว่ากำา ลังอัดของคอนกรีตที่เทแล้วมีค่า ไม่น้อยกว่าที่กำาหนด
  • 11. -อุปกรณ์ที่ใช้ในการดึงลวดจะต้อง Calibrateอย่างสมำ่าเสมอโดยสถาบันที่เชื่อถือ ได้เพื่อป้องกันมิให้เกิดการอ่านค่อผิดพลาดได้อันอาจทำาให้ดึงจนเส้นลวดขาด หรือ ดึงน้อยเกินไปซึ่งเป็นอันตรายทัำงสองกรณี -การ Calibration นีำ จ ะต้ อ งทำา เป็ น ระยะๆผู้ ค วบคุ ม งานจะต้ อ งตรวจสอบผลการ Calibration ทุกครัำง -เพื่อเป็นการตรวจสอบอีกอย่างหนึ่งควบคู่กับการอ่านสเกลในมาตรวัดความดัน จะต้องทำาการวัดการยืดตัว (Elongation) ของลวดกำา ว่าตรงตามที่คำา นวณไว้หรือ ไม่หากแตกต่างกันมากผิดปกติจะต้องรับรายงานวิศวกรทันทีปกติติไม่ควรเกิน ±5% -ลำา ดับการดึงและหน่วยแรงในการดึงจะต้องเป็นไปตามที่วิศวกรกำา หนดไม่ใช่ ว่าจะดึงเส้นไหนก่อนก็ได้ ปกติวิศวกรจะต้องทำา แผนการดึงไว้ให้ ซึ่งผู้ควบคุม งานจะต้องดูแลให้การดึงลวดเป็นไปตามนัำน -อันตรายจากการทำางานมีเหมือนกันเช่น ในขณะดึงลวด การถอดแบบหล่อหรือ คำำายันออกก่อนที่จะดึงลวดหรือก่อนที่โครงสร้างชัำนนัำนจะเสร็จสมบูรณ์(เช่น ยัง ไม่ได้หล่อคอนกรีตใน Columm Pocket) จะทำาให้แผ่นพืำนที่เทไว้แล้วนัำนพังลงมา ได้ทันที ในการเทคอนกรีตแผ่นพืำนไร้คานจะเป็นคอนกรีตเสริมเหล็กธรรมดา หรือ คอนกรีตอัดแรงก็ตามควรจะทำา คำำา ยันต่อเนื่องลงมาอีก 2-3 ชัำนเพราะปกติแผ่น พืำนชนิดนีำจะมีนำาหนักของคอนกรีตมากกว่านำำาหนักบรรทุกจรที่คำานวณออกแบบ ไว้หากคำำายันเพียงชัำนเดียวอาจทำาให้เกิดรอยร้าวที่แผ่นพืำนชัำนถัดลงมาได้ 2.ระบบชินส่วนหล่อสำาเร็จ ำ ร ะ บ บ ชิำ น ส่ ว น ห ล่ อ สำา เ ร็ จ ใ น ที่ นีำ ห ม า ย ถึ ง ก า ร ห ล่ อ อ ง ค์ อ า ค า ร คอนกรีตเสริม เหล็ก เช่น พืำน คาน ผนัง บันได ตลอดจนแผงกัน สาด แผงกัน ตก และชิำนส่วนทางสถาปัตยกรรมอื่นๆในทางปฎิบัติสำาหรับอาคารทั่วไปมักนิยมใช้แต่ เพียงพืำน ค.ส.ล. สำา เร็จรูปซึ่งมีขายทั่วไปสำา หรับผนัง คาน และบันไดมีใช้กันบ้าง แต่ มั ก จะเป็ น ผู้ รั บ เหมาก่ อ สร้ า งเป็ น ผู้ ห ล่ อ ขึำ น มาใช้ เ องตามความสามารถของ บุคลากรและเครื่องใช้ในการยกติดตัำงที่ตนมีอยู่ ในการควบคุมงานก่อสร้างที่ใช้ระบบชิำนส่วนหล่อสำา เร็จนีำสิ่งที่ควรจะเอาใจ ใส่มีดังต่อไปนีำคือ -การควบคุมคุณภาพของชิำนส่วน -การทำาระดับของที่รองรับ
  • 12. -การยกติดตัำง 2.1 การควบคุมคุณภาพของชิำนส่วน ในกรณีที่ชิำนส่วนผลิตจากโรงงาน ผู้ควบคุมงานควรจะไปดูที่โรงงานเป็นระ ยะๆเพื่อตรวจดูการหล่อชิำนส่วน การดึงลวด (ถ้าใช้ระบบคอนกรีตอัดแรง) การบ่ม คอนกรีต การทดสอบกำาลังของคอนกรีต การทำาแบบหล่อซึ่งเป็นผลถึงขนาดและ หน้าตัดของชิำนส่วน ตลอดจนการขนส่ง หากเป็นชิำนส่วนที่ผู้รับเหมาก่อสร้างหล่อ ขึำน เอง ณ สถานที่ก่อสร้าง ก่อนอื่นจะต้องทำา Shop Drawing แสดงรายละเอียดใน การออกแบบ และวิธีการติดตัำงเพื่อขออนุมัติก่อน 2.2 การทำาระดับของที่รองรับ ในกรณีที่ใช้พืำนหล่อสำาเร็จชนิดวางบนคานจะต้องทำาระดับคานให้เรียนอย่า ให้เป็นคลื่นเพราะจะทำาให้พืำนสูงๆ ตำ่า ๆ อันจะเป็นเหตุที่ทำา ให้ต้องเทคอนกรีตทับ หน้า (Topping) หนาเกินไปซึ่งถ้าใส่เหล็กเสริมไม่พอพืำนจะแตกร้าวได้หรือหากวาง ชิำนส่วนไม่เต็มหน้าตัวพืำนเองก็อาจจะหักได้เมื่อรับนำำาหนักบรรทุกเต็มที่ อีกประการ หนึ่งก่อนการหล่อคานที่รองรับพืำน จะต้องตรวจดูว่า ในแบบระบุใ ห้มี การฝั งเหล็ ก เดือย (Dowel Bar หรือ Shear Key) หรือไม่ถ้ามีก็จะต้องตรวจขนาดและตำาแหน่งที่ฝัง ให้ถูกต้อง 2.3 การยกติดตัำง การยกชิำนส่วนหล่อสำาเร็จเข้าที่เป็นขัำนตอนที่สำา คัญมากนับตัำงแต่การเลือก ใช้อุปกรณ์การยกจะต้องพอเหมาะกับนำำาหนักของชิำนส่วนไม่ควรใช้ปั้นจั่นขนาดเล็ก ยกชิำนส่วนขนาดใหญ่เกินกำา ลัง เพราะอาจหล่นถูกโครงสร้า งหรือพืำน ที่ว างเข้าที่ เรียบร้อยแล้วชำา รุดเสียหายได้ในบางครัำงชิำนส่วนของพืำนมีขนาดกว้างยาวไม่เท่า กันจะต้องดูว่าไม่วางผิดที่ เพราะถ้าวางผิดจะต้องรืำอใหม่ทำาให้เสียเวลาปกติการที่ เลือกใช้ระบบหล่อสำา เร็จนีำประการสำา คัญคือ ต้องการความรวดเร็วในการก่อสร้าง หากการยกติดตัำงมีอุปสรรคดังกล่า วข้า งต้ น แทนที่ง านจะเร็ ว ตามเป้ า หมายกลับ ล่าช้ากว่ากำาหนด ระบบพืำ น หล่ อ สำา เร็ จ บางชนิ ด ใช้ ค อนกรี ต ทั บ หน้ า (Topping) เป็ น ส่ ว น โครงสร้ า งของตั ว พืำ น เองด้ ว ยฉะนัำ น ผู้ ค วบคุ ม งานจะต้ อ งศึ ก ษาการทำา งานของ ระบบพืำนชนิดนีำให้ดี ข้อสำาคัญจะต้องอ่านคำาแนะนำาของผู้ผลิตให้เข้าใจและปฎิบัติ ตามโดยเคร่งครัด เช่น ตามคำาแนะนำากำาหนดให้ใช้ไม้แบบและคำำายันรองรับก่อนที่ จะเทคอนกรีตทับหน้า ผู้ควบคุมงานก็จะต้องจัดทำา คำำา ยันให้มีขนาดและระยะห่าง ตามที่กำาหนด ไม่ควรเสี่ยงเป็นอันขาด เพราะอาจถึงกับวิบัติได้
  • 13. คำำายัน(Shoring) คำำา ยั น สำา หรั บ แบบหล่ อ คอนกรี ต ทำา หน้ า ที่ เ ป็ น เสาถ่ า ยนำำา หนั ก ของแบบ คอนกรีตและส่วนประกอบต่างๆลงพืำนล่างที่ยันไว้ อาจจะเป็นไม้ เหล็กแป๊ป หรือ เหล็กรูปพรรณ ส่วนประกอบหลักของคำำายันก็คือเรื่องโก่งดุ้ง เพราะคำำายันทำาหน้าที่ เสมือนเสาซึ่งเป็นชิำนส่วนโครงสร้างรับแรงอัด ดังนัำนจึงอาจจะต้องมีการยึดรัำงเพื่อ ป้องกันการดุ้งที่บริเวณกึ่งกลางความสูงหรือระหว่างช่วงความสูงของคำำายันนัำน ใน บางกรณีอาจใช้นั่งร้านเหล็กประกอบเป็นชุดๆ ทำา หน้าที่เป็นคำำา ยันได้เช่นกัน โดย ปรับปรุงชิำนส่วนประกอบให้ทำาหน้าที่ได้เหมือนกัน การใช้คำายันไม้ตามหลักควรจะแยกเป็น 2 ท่อนตีตะปูแนบติดกันเพื่อสามารถจะ ปรับระดับได้ง่าย และสามารถถอดแบบได้สะดวกกว่า แป้น รองรับส่ว นบนอาจตี ขวางด้วยไม้หน้า 1 3 เป็นตุ๊กตารูปสามเหลี่ยม สำา หรับแป้นขาหยั่งนิยมใช้แผ่น ไม้หรือเศษไม้วางแบนราบเพื่อกระจายแรงให้ถ่ายแผ่มากขึำนส่วนการยึดรัำงระหว่าง คำำา ยันแต่ละตัว จะต้องได้รับการตรวจสอบเกี่ยวกับการดุ้งให้ละเอียดให้ละเอียด โดยยึดในแนวราบหรือแนวทแยงเพื่อลดความชะลูดของคำำายันลง คำำายันเหล็กส่วนใหญ่จะเป็นเหล็กแป๊ปขนาดเดียวตลอดความยาวหรือสองขนาด สวมกันได้พอเหมาะ ปรับระยะได้โดยใช้สลักเสียบผ่า นรูที่ เจาะไว้ที่แ ป๊ปตัว นอก แป๊ปตัวในจะนิ่งอยู่บนสลักนีำ หรืออาจจะปรับได้ด้วยเกลียวโดยให้แป๊ปตัวนอกนั่ง อยู่บนแป้นเกลียวที่ปรับ แป้นรองรับตัวบนนิยมสวมไว้ในตัวเสายัน ซึ่งอาจปรับหน้า แปลนได้เล็กน้อยหรืออาจปรับไม่ได้ แต่อาจดัดแปลงให้สอดคล้องกับการใช้งาน แต่ละอย่าง แป้นขาหยั่งที่ส่วนล่างอาจเป็นเหล็กหล่อมีรูกลวงสำา หรับเสียบท่อแป๊ ปลงได้พอดี หรืออาจเป็นเกลียวระยะสัำนๆ เพื่อการยึดกับเสาคำำา ยันได้อย่างมั่นคง อนึ่งการยึดระหว่างเสาเพื่อป้องกันการดุ้งอาจทำา ได้โดยการใช้ตัว รัด ทัำงแป้น บน แป้นขาหยั่ง และตัวปรับระดับ รวมทัำงตัวรัดกับดุ้ง อย่างไรก็ดีลักษณะของชิำนส่วน ประกอบเหล่านีำอาจแตกต่างกันตามบริษัทผู้ผลิตหรือการใช้งานเฉพาะอย่าง แต่ใน หลักการแล้วก็เพื่อผลประโยชน์อันเดียวกัน การใช้นั่งร้านทำา คำำา ยันใช้ได้ในหลายๆกรณี เพราะนั่งร้านสำา เร็จรูปส่วนใหญ่จะ เบา แต่อาจเป็นปัญหาเกี่ยวกับระดับได้ เพราะคำำายันแต่ละท่อนจะมีความยาวจำากัด อาจจะเป็ น 1.20,1.50,1.80,2.00 หรื อ 2.40 เมตร ตามบริ ษั ท ผู้ ผ ลิ ต ดั ง นัำ น จึ ง ต้ อ ง ดัดแปลงให้มีการปรับระดับได้ที่แป้นรับส่วนบนและแป้นขาหยั่งส่วนล่า ง ข้อควร พิจารณาประกอบการใช้นั่งร้านเป็นคำำายันคือกำาลังความสามารถรับแรงในแนวแกน
  • 14. โดยศึ ก ษารายละเอี ย ดของผู้ ผ ลิ ต อย่ า งถี่ ถ้ ว น และอาจจะต้ อ งพิ จ ารณาถึ ง เสถียรภาพตลอดถึงวิธีการยึดเกาะกับตัวโครงสร้างข้างเคียงเพื่อลดค่าความชลูด และเพิ่มกำาลังความสามารถในการรับแรง หมอนหนุนเหล็กเสริม การควบคุมระยะหุ้มของเหล็กเสริมในโครงสร้างคอนกรีตเสริม เหล็กจำา เป็นจะ ต้องใช้หมอนหนุนเหล็กให้เข้าที่ ในการก่อสร้างโดยทั่วๆไปยังคงใช้วิธีการหล่อลูก ปูนให้ได้ความหนาตามต้องการ แล้วใช้ผูกเข้ากับเหล็กเสริมตอนเข้าแบบข้างหรือ หนุนรองรับได้ในกรณีที่เป็นแบบพืำน แต่ในปัจจุบันเริ่มมีการผลิตหมอนหนุนเหล็ก เสริมสำาเร็จรูปทำาจากวัสดุอื่น เช่นเหล็กชุบพลาสติกหรือพลาสติก ออกจำาหน่ายใน ท้องตลาดบ้างเช่น กัน แต่การใช้งานยัง ไม่แ พร่ ห ลายเท่ า ที่ ควร อาจจะเนื่อ งจาก ราคาค่ อ นข้ า งสู ง เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ การหล่ อ ลู ก ปู น หนุ น อี ก ทัำ ง การควบคุ ม คุณภาพของงานหล่อคอนกรีตยังไม่พิถีพิถันถึงขัำนที่ไม่ยอมให้ใช้ การหล่อลูกปูน หนุน ถ้าเผื่อไม่ห นามากนักจะใช้วิธีการตอกคิำว กัำนแบบข้า งบน แผ่นไม้อัดซึ่งวางบนพืำนราบให้ได้ความหนาตามที่ต้องการเช่น 2,3,4,5 เซนติเมตร ตามลำาดับหลังจากนัำนจะใช้ปูนทรายเทบนแผ่นไม้อัดแล้วใช้เกรียงปาดให้ได้ความ หนาตามขอบคิำ ว กัำ น ไว้ ตี ต ารางตามขนาดของลู ก ปู น คร่ า วๆเพื่ อ ให้ รู้ ตำา แหน่ ง ศูนย์กลางแล้วจึงเอาลวดผูกเหล็กพับกลางเสียบฝังในเนืำอปูน โดยโผล่ 2 ปลายขึำน มาเพื่อใช้ผูกกับเหล็กเสริมได้และเมื่อปูนทรายหมาด อาจใช้เกรียงหรือเหล็กแบน กรีดตามรอยแบ่งขนาดลูกปูนออกเป็นลูกเต๋าเล็กๆหลังจากนัำนจะต้องบ่มด้วยการ ฉีดนำำาจนได้กำาลัง ข้อควรระวังในการหล่อลูกปูนแบบนีำคือส่วนผสมปูนทรายจะต้อง ไม่เหลวมาก คือมีสัดส่วนนำำาต่อซีเมนต์น้อยเพื่อให้ได้กำาลังสูงพอจะป้องกันการซึม ได้พอควร และในการเสียบลวดผูกเหล็กลงในเนืำอปูนจะต้องให้ฝังและยึดเกาะที่ดี เพื่อการใช้งานที่ดี ในกรณีที่ต้องการการหนุนเหล็กเสริมที่หนามากเช่น 7,10 หรือ 12 เซนติเ มตร อาจจะต้ องกัำน แบบหล่อ เป็ น ลู ก เต๋า โดยใช้ค อนกรี ต ที่ ผ สมด้ ว ยหิ น เล็กใช้แ ทนปูน ทรายเพื่อ ที่ จะให้ มีกำา ลั งสู งและแข็ งแรงขึำน การฝั งลวดผูก เหล็ ก แทนที่จะฝังเพียงลูก ละคู่อาจจะต้องมากกว่า 2 หรือ 3 คู่เพื่อป้องกัน การพลิ กตัว จากนำำา หนักของลูกปูนเองในกรณีที่ผูกยันข้างแบบ แต่ถ้าเป็น กรณีการหนุนท้อง แบบก็อาจจะใช้แค่ 2 คู่ก็พอ กำาลังของลูกปูนที่หล่อนีำไม่ควรจะน้อยกว่ากำา ลังของ คอนกรีตที่จะใช้หล่อโครงสร้างส่วนนัำนๆ หมอนหนุน ที่ทำา ด้วยเหล็กเส้น มีสองแบบ คือหมอนหนุน เฉพาะจุ ดและหมอน หนุน เป็นแถบ ปลายขาที่หนุน ส่ว นที่แตะกับแบบหล่อคอนกรีตอาจจะพอกหุ้ม ไว้ ด้วยเซรามิกหรือพลาสติกแข็งเพื่อป้องกันการเป็นสนิม และเพื่อให้สีกลมกลืนกับ
  • 15. เนืำอคอนกรีต อนึ่งการหนุนแบบดังกล่า วนีำจะใช้ไ ด้ทัำงในกรณีของผิวแบบเป็น ไม้ ไม้อัด หรือเหล็ก ส่วนความหนาของคอนกรีตจะแตกต่างกันตามความยาวขาซึ่งผู้ ผลิตจะระบุไว้ในคู่มือการใช้ การหนุน เหล็กเสริมบนในกรณีข องเหล็ ก เสริม ในคานอาจจะไม่จำา เป็น เพราะ สามารถใช้เหล็กปลอกเป็นส่วนช่วย หรือถ้าไม่มีเหล็กปลอกก็อาจใช้เหล็กขวางยึด ระหว่างเหล็กปลอกก็สามารถจะยึดเหล็กให้เข้าที่ได้ แต่ในกรณีของเหล็กพืำนอาจ จะงอเหล็กตามเพื่อยันไว้กับเหล็กเสริม ล่า ง อย่างไรก็ตามถ้า จะมีการหนุน เหล็ก เสริม บนจากแบบหล่อเลยก็อาจจะกระทำา ได้โดยใช้ เหล็ก หนุ น แต่อ าจจะเกะกะ เหล็กเสริมล่างและไม่สะดวก หมอนหนุนเหล็กเสริมที่ทำา ด้วยพลาสติกเพิ่งจะเริ่มมีบทบาทในวงการก่อสร้าง ลักษณะรูปร่างมักจะมีขนาดบางและเล็ก ทัำงนีำเพื่อให้แทนที่เนืำอคอนกรีตน้อยที่สุด จึงมักจะเป็น พลาสติกที่มีกำา ลั งสู ง บางชนิ ดปลายที่ ยึด ติด กั บ เหล็ กจะทำา เป็น ตัว ล็อค ยึดติดแน่นกับเหล็กเสริมเลย ส่วนปลายด้านที่ยันกับแบบอาจจะเป็นแป้นยัน กับแบบเฉยๆ หรือถ้าเผื่อเป็นกรณีของไม้แบบอาจจะใช้เป็นเดือยเสียบเข้าไม้ลึก พอที่จะเพิ่มความมั่นคง และกับการขยับเขยืำอนในขณะที่เทคอนกรีต ประเภทงาน ความลึก/ความสูง ประเภทเครื่องมือตรวจวัด พฤติกรรม พื้นที่ทั่วไป พื้นที่ดิน เหนียว อ่อน
  • 16. งานขุดดิน ความลึก ความลึก ไม่ ต้ อ งติ ด ตั้ ง เครื่ อ งมื อ ตรวจวั ด น้อยกว่า ١ น้อยกว่า ٥ (ตรวจวัดด้วยสายตา) ٥ เมตร เมตร ความลึก ความลึก หมุ ด วั ด การเคลื่ อ นตั ว ที่ ผิ ว ดิ น ตั้งแต่ ١٥ ตังแต่ ٥ ถึง (Surface Monuments) ้ ถึง ٢٥ เมตร ١٠ เมตร ความลึก ความลึก 1.หมุ ด วั ด การเคลื่ อ นตั ว ที่ ผิ ว ดิ น มากกว่า มากกว่า (Surface Monuments) และ ٢٥ เมตร ١٠ เมตร 2.ท่ อ วั ด ก า ร เ ค ลื่ อ น ตั ว ด้ า น ข้าง(Inclinometers) งานถมดิน ความสูง ความสูง ไม่ ต้ อ งติ ด ตั้ ง เครื่ อ งมื อ ตรวจวั ด น้อยกว่า ٥ น้อยกว่า ٤ (ตรวจวัดด้วยสายตา) เมตร เมตร ความสูง ความสูง หมุ ด วั ด การเคลื่ อ นตั ว ที่ ผิ ว ดิ น ตังแต่ ٥ ถึง ١ ตังแต่ ٤ ถึง (Surface Monuments) ้ ้ ٠ เมตร ٧ เมตร ความสูง ความสูง 1.หมุ ด วั ด การเคลื่ อ นตั ว ที่ ผิ ว ดิ น มากกว่า١٠ มากกว่า٧ (Surface Monuments) และ เมตร เมตร 2.ท่อวัดการเคลื่อนตัวด้านข้าง (Inc linometers) ٣.ม า ต ร วั ด ค ว า ม ดั น นำ้า (Piezometers) งาน Slipform 1. วัตถุประสงค์
  • 17. 2. อุปกรณ์ ٢.١ แผ่นผิว, คานรองรับ, โครงยก, ชานชาลาทำางาน, นังร้านแขวน และระบบแจ็ ่ คหรือไฮโดรลิคซึ่งแต่ละชิำนส่วนจะมีหน้าที่หลัก ดังต่อไปนีำ 3. วิธีการ ١.ออกแบบ Slip Form และคำานวณอัตราส่วนผสมคอนกรีต (Mix design Concer t)ที่เหมาะสม พร้อม Pump Concert ให้เหมาะสมกับประเภทและขนาดของงาน อาคาร ٢.ปรับสภาพพืำนที่หน้างานก่อสร้างให้พร้อมที่จะปฏิบัติงานก่อสร้าง ٣.ดำาเนินการประกอบโครง Slip Form โดยรอบพืำนที่ตอม่อที่จะเทคอนกรีตทัำงสอง ตอม่อที่อยู่ติดกัน ٤.ดำาเนินการประกอบคานโครงเหล็กยึดระหว่างโครง Slip Form ทัำงสองตอม่อ ٥.ดำาเนินการประกอบปิดแบบหล่อด้านข้างสูง 1 เมตร ٦.ดำาเนินการประกอบคานยึดปากแบบ และเตรียมช่องพืำนที่ที่จะเทคอนกรีตเป็น ช่วงๆ ระยะห่างไม่เกินช่วงละ 2 เมตร. ٧.ติดตัำงกระบอกไฮโดรลิคกับคานยึดคร่อมปากแบบ โดยติดตัำงคานละ 2 ตัว พร้อมใส่เหล็กผ่านแกนกระบอกไฮโดรลิคเพื่อใช้คำายันแบบในการเลื่อน 1. ตรวจสอบแนวดิงของแกนเหล็กคำำายัน เพือบังคับทิศทางการเคลือนที่ ่ ่ ่ ของแบบ Slip Form ให้อยูในแนวดิง ่ ่ 2. ต่อสายไฮโดรลิกจากระบอกไฮโดรลิคที่ติดตัำงบนคานยึดปากแบบทุก ตัวเข้าสู่แม่ปั้มไฮโดรลิคที่ติดตัำงไว้ระหว่างตอม่อที่จะเทคอนกรีตทัำง สอง 3. การเลื่อนแบบ Slip Form ขึนในแนวดิ่งจะอาศัยแม่ปั้มไฮโดรลิคที่ติด ำ ตัำงไว้ระหว่างตอม่อทัำงสองเพียง ตัวเดียวเพื่ออัดแรงดันไฮโดรลิค เข้ากระบอกไฮโดรลิคที่ติดตัำงไว้บนคานยึดเหนือปากแบบพร้อมกัน ทุกตัว 4. การเคลื่อนตัวขึำนแต่ละครัำงแบบหล่อ Slip Form ทัำงชุด(ทัำงสอง ตอม่อ) จะยกขึำนประมาณ 2 เซนติเมตรต่อครัำง ระยะห่างกันประมาณ 5 นาทีต่อ 1 ครัำงพร้อมตรวจเช็คระดับ Slip Form ให้อยู่ในแนวดิ่ง และแนวราบเสมอ 5. เตรียมอัตรากำาลังแรงงาน เครื่องจักรเครื่องมือให้เพียงพอสำาหรับงาน ที่ทำาอย่างต่อเนื่อง 6. เทคอนกรีตและควบคุมการทำางานตามหลักการเทคอนกรีตโดยให้มี การกระจายตัวอย่างสมำ่าเสมอ การเทคอนกรีตด้วยแบบ Slip Form
  • 18. การเทคอนกรีตด้วยแบบ Slip Form 1. เมื่ อ ประกอบแบบ Slip Form และได้ ต รวจสอบระบบต่ า งๆ เสร็จแล้ว จึงดำาเนินการเทคอนกรีตลงในแบบ Slip Form ให้ มีชั้นความหนาของเนื้อคอนกรีตสมำ่าเสมอทั่วทั้งแบบ โดยให้ ความหนาแต่ละชั้นไม่ ควรเกิ น 25 เซนติเมตร แล้วเทวนไป เรื่อยๆ จนเต็มแบบ Slip Form 2. หลังจากเริ่มเทคอนกรีตผ่านไป 4 ชั่วโมง จึงทำาการเลื่อนแบบ หล่อขึ้นทุกๆ 5 นาที ซึ่งจะเลื่อนขึ้น 2 เซนติเมตร ทุกๆ 5 นาที และเทคอนกรีตต่อเนื่องไป 3. เลื่อนแบบหล่อพร้อมเทคอนกรีตตามข้อ 2 ต่อไปเรื่อยๆ จนถึง ระดับที่ต้องการแล้ว จึงหยุดเทชั่วคราว 4. เมื่อเทคอนกรีตถึงระดับที่ต้องการและหยุดเทชั่วคราว ให้แต่ง ผิ ว ระดั บ คอนกรี ต ให้ เ สมอกั น และค่ อ ยๆ เคลื่ อ นแบบ Slip Form เป็นช่วงเวลา (Step) ทุกๆ 5 นาที จนกระทั่งแบบหล่อ ด้านล่างของคอนกรีตประมาณ 60 เซนติเมตร จึงหยุด 5. เมื่ อจะทำา คอนกรี ตต่ อ ดำา เนิน การตามข้ อ 1 ถึง ข้อ 4 ต่อ ไป เรื่อยจนแล้วเสร็จความต้องการ การถอดแบบ เมื่ อ แบบเลื่ อ นได้ ขั บ เคลื่ อ นไปถึ ง ระดั บ สู ง สุ ด แจ็ ค แม่ แ รงหรื อ ไฮ โดรลิคที่ยกก็จะหยุดทำา งาน แต่ยังถอดออกไม่ได้จนกว่ าจะให้ นำ้า หนัก ของแบบเลื่ อนถ่ ายลงสู่ กำา แพงโดยใช้วิ ธีก ารฝั งหั วน็ อตไว้ ก่อ นที่ จ ะถึ ง ยอด และเมื่อถึงแล้วจึงเอา น็อตตัวผูขันเข้าไปในรูน็อตนั้น แล้วปล่อยแจ็ ้ คหรือไฮโดรลิค ให้ทิ้งนำ้าหนักลงบนน็อตและถ่ายแรงลงกำาแพง หลังจาก นั้นจะเริ่มถอดแม่แรงและโครงยกได้ ส่วนแท่นยืนจะต้องใช้เป็นแบบหล่อ พื้นเครื่องกว้าน เมื่อพื้นเสร็จก็สามารถถอดนั่งร้านแขวนและแบบแผ่นผิว ออกเป็นชินๆ ได้ การถอดแบบแท่นยืนอาจแยกออกเป็นส่วนๆ ชิ้นเล็กๆ ้ หรือหย่อนลงทังชุดก็ยอมทำาได้ แต่ตองเว้นช่องเพือร้อยเชือกหย่อนลงด้วย ้ ่ ้ ่ รอกและปันจันตามแต่สะดวกเพือย้ายไปทำางาน ขึนตอนอืนต่อไป ้ ่ ่ ้ ่
  • 19. คานรองรับ, โครงยก, ชานชาลาทำางาน, นั่งร้านแขวน และระบบแจ็คหรือไฮโดร ลิคซึ่งแต่ละชิำนส่วนจะมีหน้าที่หลัก ดังต่อไปนีำ