SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
การใชงานโปรแกรม
Pspice for windows
เบื้องตน
มนตรี ศิริปรัชญานันท
ภาควิชาครุศาสตรไฟฟา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
Email : mts@kmitnb.ac.th Homepage : http://www.teched.kmitnb.ac.th/~msn
การใชงานโปรแกรม Pspice for windows เบื้องตน 2
เอกสารนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชในการเรียนการสอนเทานั้น ไมมีจุดมุงหมายในเชิงพาณิชย mts@kmitnb.ac.th
โปรแกรม Pspice for windows
การวิเคราะหวงจรไฟฟา-อิเลคทรอนิคสที่ซับซอนมากขึ้น เชน การวิเคราะหผลการทํางาน
เมื่ออุณหภูมิมีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งไมสามารถทําไดบนโปรแกรม Electronics Workbench เพื่อให
ไดผลลัพธหรือคาของตัวอุปกรณตางๆ ไดแก ตัวตานทาน (Resistor) ตัวเก็บประจุ (Capacitor)
ตัวเหนี่ยวนําหรือขดลวด (Inductor) และอุปกรณอื่น จะมีสูตรการคํานวณที่เปนมาตรฐาน เชน
)()(:tanRe tRitvcesis =
R
tV
ti
)(
)( =
)(/
)(:tan
tidt
di
LtVceInduc = ∫= Vdt
L
ti
1
)(
∫= idt
c
i
tVceCapaci )(:tan
dt
dv
cti =)(
โปรแกรม Pspice เปนโปรแกรมที่สามารถจะวาดรูปวงจรเพื่อใชทดลอง และวิเคราะหวง
จรไดเลยซึ่งคลายกับโปรแกรม Electronics Workbench แลวนําไปคํานวณเพื่อนําผลลัพธที่ไดมา
วาดกราฟรูปคลื่นของกระแส(current) และแรงดัน (Voltage) โปรแกรม Pspice for windows จะ
ทํางานบน windows NT หรือ windows 95 สําหรับ windows 3.1 ก็สามารถจะใชงานไดเชนกัน
แตจะตองติดตั้งโปรแกรม Win 32s ลงไปกอน
โปรแกรม Pspice for windows จะประกอบดวยแผน CD-ROM 1แผน หรือในเวอรชั่น
สําหรับแผนดิสก 3.5” จํานวน 4 แผน (รวม Win 32s) เครื่องไมโครคอมพิวเตอรที่สามารถใช
งาน Pspice for windows ประกอบดวย
ไมโครคอมพิวเตอร PC/AT 80486DX , Pentium
หนวยความจํา RAM 8เมกะไบต
ฮารดดิสกมีพื้นที่วาง 30-50 เมกะไบต
โปรแกรม MS Windows 3.1 (win32s) , Windows NT , Windows 95
ระบบปฎิบัติการ DOS 6.xx
จอภาพ VGA , SVGA
การด VGA 1024 , 2048 MB(S3 , ATI , CIRRUS , MPEG ฯลฯ)
ดิสกไดรฟขนาด 3.5”
CD ROM (ถาใชเวอรชั่นบน CD ROM)
การใชงานโปรแกรม Pspice for windows เบื้องตน 3
เอกสารนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชในการเรียนการสอนเทานั้น ไมมีจุดมุงหมายในเชิงพาณิชย mts@kmitnb.ac.th
การติดตั้งโปรแกรม Pspice for windows
สําหรับ windows 3.1 ใหทําการติดตั้งโปรแกรม win32s เวอรชั่น 1.25 ขึ้นไปกอนเสร็จ
แลวทําการบูตเครื่องใหมเขา windows แลวทําตามขั้นตอนตอไปนี้
ใสแผน Install DISK 1 ในไดรฟ A เขา File Manager เลือกไดรฟ A แลวดับเบิ้ลคลิ๊ก ที่คํา
สั่ง setup จะเขาสู Microsim software Installation
โปรแกรมจะถามวาไดทําการติดตั้ง win32s หรือยัง เสร็จแลวจะกําหนดไดเรกทอรี่ของ
โปรแกรมคือ C:MSIMEV53 หรือเปลี่ยนชื่อไดตามตองการ ก็ไดเสร็จแลวคลิกเมาสที่ปุม
OK จะเปนการติดตั้งโปรแกรม แลวเรียกใหใสแผน 2-4 ตามลําดับ
หลังจากไดติดตั้งโปรแกรมเสร็จแลวจะสรางโปรแกรมกรุปของ Pspice for windows ดังรูปที่
1
รูปที่ 1 โปรแกรมกรุปและไอคอนของ Pspice for windows
การออกแบบวงจร
เริ่มดวยการเขียนวงจรที่ตองการวิเคราะหการทํางาน โดยการเลือก Schemetics จะปรา
กฎ Schematic sheet ของ Pspice for windows ดังรูปที่ 2
การใชงานโปรแกรม Pspice for windows เบื้องตน 4
เอกสารนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชในการเรียนการสอนเทานั้น ไมมีจุดมุงหมายในเชิงพาณิชย mts@kmitnb.ac.th
รูปที่ 2 Schematic sheet ของ Pspice for windows
รูปที่ 3 วงจรตัวอยางในการวิเคราะหการทํางาน
การใชงานโปรแกรม Pspice for windows เบื้องตน 5
เอกสารนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชในการเรียนการสอนเทานั้น ไมมีจุดมุงหมายในเชิงพาณิชย mts@kmitnb.ac.th
จากรูปที่ 2 กําหนดตัวอยาง ตองการวิเคราะหการทํางานของวงจรตามรูปที่ 3 การออกแบบวงจร
แรก หากเราจะใชตัวเก็บประจุ (capacitor )และตัวตานทาน (Resistor) โดยทําตามขั้นตอนตอไป
นี้
เลือกคําสั่ง Draw/Get New Part ตามรูปที่ 4 จะปรากฎหนาตางยอยของ Add Part ดังรูปที่
4 ใหเลือกคําสั่ง Browse เพื่อดูรายละเอียด หากทราบชื่ออุปกรณแลวสามารถพิมพลงไปได
เลย
รูปที่ 4 การเริ่มตนวางตําแหนงอุปกรณของ Pspice for windows
รูปที่ 5 หนาตาง Add Part ของ Pspice for windows
การใชงานโปรแกรม Pspice for windows เบื้องตน 6
เอกสารนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชในการเรียนการสอนเทานั้น ไมมีจุดมุงหมายในเชิงพาณิชย mts@kmitnb.ac.th
หลังจากเลือก Browse จะปรากฎหนาตางของ Get Part ดังรูปที่ 6 โดยที่ทางขวามือจะเปน
รายชื่อของไลบราลี สวนทางซายคือรายชื่อตัวอุปกรณ ใหเลือกไลบราลี Source.slb เสร็จแลว
ใชเมาสเลือกที่ตัวอุปกรณชื่อ VSRC คลิ๊กที่ปุม OK ตัวอุปกรณจะมาอยูที่ปลายเมาส แลว
นําไปบริเวณที่เหมาะสมคลิ๊กเมาสปุมซายเพื่อวางตัวอุปกรณ เสร็จแลวคลิ๊กเมาสปุมขวาเพื่อ
เลือกตัวอื่น
เลือกไลบราลี analog.slb เพื่อเลือกตัวอุปกรณชื่อ C และ R ตามลําดับจัดวางตามรูปที่ 6
สวนตัวอุปกรณ GND (มี 2 แบบคือ AGND และ EGND) และ Bubble จะอยูในไลบราลี
Port.slb
เลือกออปแอมปเบอร LF351 ซึ่งอยูใน ……………………… .slb
รูปที่ 6 หนาตางของ Get Part
การลากเสนใหเลือกคําสั่ง Draw/wire เคลื่อนเมาสมาที่ปลายขาของตัวอุปกรณ คลิ๊กปุมซาย
1 ครั้ง แลวลากเมาสมาที่ปลายขาของตัวอุปกรณอีกตัวหนึ่ง เสร็จแลวคลิ๊กปุมซายก็จะไดสาย
สัญญาณตามตองการ
สําหรับการหมุนตัวอุปกรณทําไดโดยการกดคีย Ctrl+R ตัวอุปกรณจะหมุนครั้งละ 90 องศา
การออกแบบวงจรทุกครั้งอยาลืมตอกราวดใหกับวงจร มิฉะนั้นการวิเคราะหวงจรดวย
Simulate จะไมผาน
ตอไปจะเปนการกําหนดคาใหกับ VSRC ชี้เมาสที่ตัวอุปกรณ V1. ดับคลิ๊กปุมซาย (ตัว
อุปกรณจะเปลี่ยนเปนสีแดง) จะปรากฎหนาตางการกําหนดคา ดังรูปที่ 7
การใชงานโปรแกรม Pspice for windows เบื้องตน 7
เอกสารนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชในการเรียนการสอนเทานั้น ไมมีจุดมุงหมายในเชิงพาณิชย mts@kmitnb.ac.th
รูปที่ 7 หนาตางการกําหนดคาของ V1
ใหกําหนดคาตางๆดังรูปที่ 7
เมื่อกําหนดเสร็จแลวตองเซฟดวยคําสั่ง Save Attr และ OK
กําหนดคาใหตัวอุปกรณ C และ R ตางดังรูปที่ 3 เสร็จแลวเซฟเก็บไวในไฟลชื่อ siggen.sch
ทําการสรางไฟล Netlist ดวยคําสั่ง ANALYSIS/CREATE Netlist เสร็จแลวเลือกคําสั่ง
Analysis/Examine Netlist เพื่อขอดูรายละเอียดของวงจรวามีโหนดอะไรบางเชน $N-
00010 และคาคงตัวอุปกรณ ดังรูปที่ 8
รูปที่ 8 รายละเอียดวงจร siggen.net
การใชงานโปรแกรม Pspice for windows เบื้องตน 8
เอกสารนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชในการเรียนการสอนเทานั้น ไมมีจุดมุงหมายในเชิงพาณิชย mts@kmitnb.ac.th
การวิเคราะหวงจรดวย Pspice
ในการวิเคราะหวงจรจะตองทําการสรางไฟล Netlist กอน เมื่อการสราง Netlist ผานแลว
จึงสามารถจะวิเคราะหดวย Pspice การวิเคราะหทําได 3 วิธีคือ
1. กดคีย F11
2. เลือกคําสั่ง Analysis/Simulate
ทั้ง 2 วิธีนี้ถาการวิเคราะหไมมีผิดพลาดใดๆก็จะเขาสูโปรแกรม Probe ทันที
3. ออกมาที่โปรแกรมกรุปของ Pspice for windows แลวเลือกไอคอน…..ตามคําสั่งFile/Open
แลวเลือกชื่อไฟล Test.cir เสร็จแลวจะแสดงผลลัพธในการวิเคราะหดังรูปที่ 8
รูปที่ 9 ผลการวิเคราะหวงจรดวย Pspice
การดูไฟลเอาตพุตของการรันโปรแกรม Pspice เลือกคําสั่ง Analysis/Examine Output
จะปรากฎรายละเอียดใน Notepad ดังนี้
NAME X_U2.F1 X_U2.F6 X_U2.F5 X_U13.F1 X_U13.F6
I-SOURCE 0.000E+00 1.000E-05 -1.000E-05 0.000E+00 -5.965E-13
NAME X_U13.F5
I-SOURCE 1.000E-05
**** DIODES
NAME X_U2.D1 X_U2.D2 X_U2.D5 X_U2.D6 X_U2.D4
MODEL X_U2.DX X_U2.DX X_U2.DX X_U2.DX X_U2.DX
ID -7.89E-12 -7.86E-12 1.00E-05 -5.97E-13 -1.01E-13
VD -7.89E+00 -7.85E+00 5.96E-01 -5.96E-01 -9.97E-02
การใชงานโปรแกรม Pspice for windows เบื้องตน 9
เอกสารนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชในการเรียนการสอนเทานั้น ไมมีจุดมุงหมายในเชิงพาณิชย mts@kmitnb.ac.th
REQ 1.00E+12 1.00E+12 2.59E+03 1.00E+12 9.99E+11
CAP 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00
NAME X_U2.D3 X_U13.D1 X_U13.D2 X_U13.D5 X_U13.D6
MODEL X_U2.DX X_U13.DX X_U13.DX X_U13.DX X_U13.DX
ID -1.01E-13 -7.87E-12 -7.88E-12 -5.97E-13 1.00E-05
VD -1.00E-01 -7.86E+00 -7.88E+00 -5.96E-01 5.96E-01
REQ 9.99E+11 1.00E+12 1.00E+12 1.00E+12 2.59E+03
CAP 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00
NAME X_U13.D4 X_U13.D3
MODEL X_U13.DX X_U13.DX
ID -1.01E-13 -1.01E-13
VD -1.00E-01 -9.97E-02
REQ 9.99E+11 9.99E+11
CAP 0.00E+00 0.00E+00
**** JFETS
NAME X_U2.J1 X_U2.J2 X_U13.J1 X_U13.J2
MODEL X_U2.JX X_U2.JX X_U13.JX X_U13.JX
ID -5.00E-05 -5.00E-05 -5.00E-05 -5.00E-05
VGS -4.84E-08 -2.02E-07 -1.52E-07 -9.85E-08
VDS -9.01E+00 -9.01E+00 -9.00E+00 -9.00E+00
GM 5.00E-05 5.00E-05 5.00E-05 5.00E-05
GDS 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00
CGS 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00
CGD 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00
JOB CONCLUDED
TOTAL JOB TIME 11.12
การใชงานโปรแกรม Pspice for windows เบื้องตน 10
เอกสารนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชในการเรียนการสอนเทานั้น ไมมีจุดมุงหมายในเชิงพาณิชย mts@kmitnb.ac.th
ตอไปจะเปนการกําหนด รูปแบบการวิเคราะหใหโปรแกรม Pspice โดยกลับมาที่โปรแกรม
Schematic แลวเลือกคําสั่ง Analysis/setup จะปรากฎหนาตางของ Analysis setup ดังรูปที่ 10
(ก)
(ก)
(ข)
รูปที่ 10 การกําหนดรูปแบบการวิเคราะหของ Pspice
การใชงานโปรแกรม Pspice for windows เบื้องตน 11
เอกสารนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชในการเรียนการสอนเทานั้น ไมมีจุดมุงหมายในเชิงพาณิชย mts@kmitnb.ac.th
ใหเลือกคําสั่ง Transient จะปรากฎหนาตางของ Transient setup ดังรูปที่ 10(ข) ใสคา
ตางๆตามรูปที่ 10(ข) เสร็จแลวคลิ๊กปุม OK/close
การพล็อตกราฟรูปคลื่นของกระแสและแรงดันดวย Probe
การใชโปรแกรม Probe เพื่อวาดกราฟรูปคลื่นของกระแสและแรงดัน สามารถทําได 2 วิธี
ดวยกัน วิธีแรกเมื่อรันโปรแกรม Pspice เพื่อวิเคราะหวงจรและไมมีขอผิดพลาดใดๆก็จะเขาสู
โปรแกรม Probe ทันที อีกวิธีคือการเขาสูโปรแกรม Probe จากโปรแกรมกรุปของ Pspice for
windows แลวเลือกไอคอน Probe ตามดวยคําสั่ง File/Open แลวเลือกชื่อไฟล Test.dat จะปรา
กฎหนาจอของ Probe ดังรูปที่ 11
รูปที่ 11 หนาจอของโปรแกรม Probe
ตอไปเปนการวาดกราฟใหเลือกคําสั่ง Trace/Add จะปรากฎหนาตางของ Add Traces
รูปที่ 12
การใชงานโปรแกรม Pspice for windows เบื้องตน 12
เอกสารนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชในการเรียนการสอนเทานั้น ไมมีจุดมุงหมายในเชิงพาณิชย mts@kmitnb.ac.th
รูปที่ 12 หนาตางของ Add Trace
หลังจากนั้นใหคลิ๊กเมาสที่ V(vt) แลวขอความจะมาปรากฎที่ชอง Trace Command เชน
กัน เสร็จแลวคลิ๊กที่ปุม OK ก็จะไดรูปคลื่นสามเหลี่ยม ตอไปเลือกคําสั่ง Trace/Add แลวคลิ๊ก
เมาสที่ V(Vs) และปุม OK ก็จะไดรูปคลื่นสี่เหลี่ยม ดังรูปที่ 13
รูปที่ 13 กราฟรูปคลื่นโดยโปรแกรม Probe
การใชงานโปรแกรม Pspice for windows เบื้องตน 13
เอกสารนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชในการเรียนการสอนเทานั้น ไมมีจุดมุงหมายในเชิงพาณิชย mts@kmitnb.ac.th
นอกจากนี้ หากตองการวิเคราะห สวนประกอบของความถี่ (Fundamental of frequency)
สามารถใชการวิเคราะหทางฟูเรียร (Fourier Analysis) โดยเลือก Plot / X axis settings คลิก
เมาสที่ Fourier ในหนาตางรูปที่ 14
รูปที่ 14 การเลือกวิเคราะหฟูเรียรบนหนาตาง X axis settings
หลังจากนั้น จะไดกราฟรูปคลื่นแบบ Fourier Analysis ดังรูปที่ 15
รูปที่ 15 กราฟรูปคลื่นแบบ Fourier Analysis
การใชงานโปรแกรม Pspice for windows เบื้องตน 14
เอกสารนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชในการเรียนการสอนเทานั้น ไมมีจุดมุงหมายในเชิงพาณิชย mts@kmitnb.ac.th
แบบฝกหัด
จงวิเคราะหวงจรตอไปนี้ เพื่อใหไดผลของ Probe ตามที่แสดง
1.
การใชงานโปรแกรม Pspice for windows เบื้องตน 15
เอกสารนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชในการเรียนการสอนเทานั้น ไมมีจุดมุงหมายในเชิงพาณิชย mts@kmitnb.ac.th
2.
การใชงานโปรแกรม Pspice for windows เบื้องตน 16
เอกสารนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชในการเรียนการสอนเทานั้น ไมมีจุดมุงหมายในเชิงพาณิชย mts@kmitnb.ac.th
3.

More Related Content

Viewers also liked

колико је мост који спаја две обале дрине чврсто везан за живот једног касаблије
колико је мост који спаја две обале дрине чврсто везан за живот једног касаблијеколико је мост који спаја две обале дрине чврсто везан за живот једног касаблије
колико је мост који спаја две обале дрине чврсто везан за живот једног касаблијеjasika86
 
Next click ru advert1
Next click ru advert1Next click ru advert1
Next click ru advert1Alina Yemets
 
методологические основы учр
 методологические основы учр методологические основы учр
методологические основы учрfluffy_fury
 
ประกาศรับสมัครอาจารย์ ไทย
ประกาศรับสมัครอาจารย์ ไทยประกาศรับสมัครอาจารย์ ไทย
ประกาศรับสมัครอาจารย์ ไทยcm carent
 
Bucataria fara foc_-hrana_vie_in_238_de_retete
Bucataria fara foc_-hrana_vie_in_238_de_reteteBucataria fara foc_-hrana_vie_in_238_de_retete
Bucataria fara foc_-hrana_vie_in_238_de_reteteEmilia Emilia
 
Quản lý công nghiệp(hoàn chỉnh) (1)
Quản lý công nghiệp(hoàn chỉnh) (1)Quản lý công nghiệp(hoàn chỉnh) (1)
Quản lý công nghiệp(hoàn chỉnh) (1)Hien Nguyen
 
монголия
монголиямонголия
монголияmamn_minsk
 
Maker Workshop 7 May 2014 - StudioX
Maker Workshop 7 May 2014 - StudioXMaker Workshop 7 May 2014 - StudioX
Maker Workshop 7 May 2014 - StudioXGelecek Hane
 
Omdat Hy... Kan Hy... 27 April 2014
Omdat Hy... Kan Hy... 27 April 2014Omdat Hy... Kan Hy... 27 April 2014
Omdat Hy... Kan Hy... 27 April 2014Ernest Potgieter
 
Estadistica 10 crreccion
Estadistica 10 crreccionEstadistica 10 crreccion
Estadistica 10 crreccionCarlos Cáceres
 
IntervencióN Smh Aetic Sost Sevilla V2
IntervencióN Smh Aetic Sost Sevilla V2IntervencióN Smh Aetic Sost Sevilla V2
IntervencióN Smh Aetic Sost Sevilla V2muriel sebas
 

Viewers also liked (19)

колико је мост који спаја две обале дрине чврсто везан за живот једног касаблије
колико је мост који спаја две обале дрине чврсто везан за живот једног касаблијеколико је мост који спаја две обале дрине чврсто везан за живот једног касаблије
колико је мост који спаја две обале дрине чврсто везан за живот једног касаблије
 
Next click ru advert1
Next click ru advert1Next click ru advert1
Next click ru advert1
 
методологические основы учр
 методологические основы учр методологические основы учр
методологические основы учр
 
ประกาศรับสมัครอาจารย์ ไทย
ประกาศรับสมัครอาจารย์ ไทยประกาศรับสมัครอาจารย์ ไทย
ประกาศรับสมัครอาจารย์ ไทย
 
Bucataria fara foc_-hrana_vie_in_238_de_retete
Bucataria fara foc_-hrana_vie_in_238_de_reteteBucataria fara foc_-hrana_vie_in_238_de_retete
Bucataria fara foc_-hrana_vie_in_238_de_retete
 
Quản lý công nghiệp(hoàn chỉnh) (1)
Quản lý công nghiệp(hoàn chỉnh) (1)Quản lý công nghiệp(hoàn chỉnh) (1)
Quản lý công nghiệp(hoàn chỉnh) (1)
 
Ppt fix
Ppt fixPpt fix
Ppt fix
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
монголия
монголиямонголия
монголия
 
Maker Workshop 7 May 2014 - StudioX
Maker Workshop 7 May 2014 - StudioXMaker Workshop 7 May 2014 - StudioX
Maker Workshop 7 May 2014 - StudioX
 
Omdat Hy... Kan Hy... 27 April 2014
Omdat Hy... Kan Hy... 27 April 2014Omdat Hy... Kan Hy... 27 April 2014
Omdat Hy... Kan Hy... 27 April 2014
 
Vba cho ppt
Vba cho pptVba cho ppt
Vba cho ppt
 
Seminario ssop cacia
Seminario ssop caciaSeminario ssop cacia
Seminario ssop cacia
 
5 3
5 35 3
5 3
 
Esther
EstherEsther
Esther
 
Estadistica 10 crreccion
Estadistica 10 crreccionEstadistica 10 crreccion
Estadistica 10 crreccion
 
H027274272
H027274272H027274272
H027274272
 
Pedosfer
PedosferPedosfer
Pedosfer
 
IntervencióN Smh Aetic Sost Sevilla V2
IntervencióN Smh Aetic Sost Sevilla V2IntervencióN Smh Aetic Sost Sevilla V2
IntervencióN Smh Aetic Sost Sevilla V2
 

Pspice

  • 1. การใชงานโปรแกรม Pspice for windows เบื้องตน มนตรี ศิริปรัชญานันท ภาควิชาครุศาสตรไฟฟา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ Email : mts@kmitnb.ac.th Homepage : http://www.teched.kmitnb.ac.th/~msn
  • 2. การใชงานโปรแกรม Pspice for windows เบื้องตน 2 เอกสารนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชในการเรียนการสอนเทานั้น ไมมีจุดมุงหมายในเชิงพาณิชย mts@kmitnb.ac.th โปรแกรม Pspice for windows การวิเคราะหวงจรไฟฟา-อิเลคทรอนิคสที่ซับซอนมากขึ้น เชน การวิเคราะหผลการทํางาน เมื่ออุณหภูมิมีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งไมสามารถทําไดบนโปรแกรม Electronics Workbench เพื่อให ไดผลลัพธหรือคาของตัวอุปกรณตางๆ ไดแก ตัวตานทาน (Resistor) ตัวเก็บประจุ (Capacitor) ตัวเหนี่ยวนําหรือขดลวด (Inductor) และอุปกรณอื่น จะมีสูตรการคํานวณที่เปนมาตรฐาน เชน )()(:tanRe tRitvcesis = R tV ti )( )( = )(/ )(:tan tidt di LtVceInduc = ∫= Vdt L ti 1 )( ∫= idt c i tVceCapaci )(:tan dt dv cti =)( โปรแกรม Pspice เปนโปรแกรมที่สามารถจะวาดรูปวงจรเพื่อใชทดลอง และวิเคราะหวง จรไดเลยซึ่งคลายกับโปรแกรม Electronics Workbench แลวนําไปคํานวณเพื่อนําผลลัพธที่ไดมา วาดกราฟรูปคลื่นของกระแส(current) และแรงดัน (Voltage) โปรแกรม Pspice for windows จะ ทํางานบน windows NT หรือ windows 95 สําหรับ windows 3.1 ก็สามารถจะใชงานไดเชนกัน แตจะตองติดตั้งโปรแกรม Win 32s ลงไปกอน โปรแกรม Pspice for windows จะประกอบดวยแผน CD-ROM 1แผน หรือในเวอรชั่น สําหรับแผนดิสก 3.5” จํานวน 4 แผน (รวม Win 32s) เครื่องไมโครคอมพิวเตอรที่สามารถใช งาน Pspice for windows ประกอบดวย ไมโครคอมพิวเตอร PC/AT 80486DX , Pentium หนวยความจํา RAM 8เมกะไบต ฮารดดิสกมีพื้นที่วาง 30-50 เมกะไบต โปรแกรม MS Windows 3.1 (win32s) , Windows NT , Windows 95 ระบบปฎิบัติการ DOS 6.xx จอภาพ VGA , SVGA การด VGA 1024 , 2048 MB(S3 , ATI , CIRRUS , MPEG ฯลฯ) ดิสกไดรฟขนาด 3.5” CD ROM (ถาใชเวอรชั่นบน CD ROM)
  • 3. การใชงานโปรแกรม Pspice for windows เบื้องตน 3 เอกสารนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชในการเรียนการสอนเทานั้น ไมมีจุดมุงหมายในเชิงพาณิชย mts@kmitnb.ac.th การติดตั้งโปรแกรม Pspice for windows สําหรับ windows 3.1 ใหทําการติดตั้งโปรแกรม win32s เวอรชั่น 1.25 ขึ้นไปกอนเสร็จ แลวทําการบูตเครื่องใหมเขา windows แลวทําตามขั้นตอนตอไปนี้ ใสแผน Install DISK 1 ในไดรฟ A เขา File Manager เลือกไดรฟ A แลวดับเบิ้ลคลิ๊ก ที่คํา สั่ง setup จะเขาสู Microsim software Installation โปรแกรมจะถามวาไดทําการติดตั้ง win32s หรือยัง เสร็จแลวจะกําหนดไดเรกทอรี่ของ โปรแกรมคือ C:MSIMEV53 หรือเปลี่ยนชื่อไดตามตองการ ก็ไดเสร็จแลวคลิกเมาสที่ปุม OK จะเปนการติดตั้งโปรแกรม แลวเรียกใหใสแผน 2-4 ตามลําดับ หลังจากไดติดตั้งโปรแกรมเสร็จแลวจะสรางโปรแกรมกรุปของ Pspice for windows ดังรูปที่ 1 รูปที่ 1 โปรแกรมกรุปและไอคอนของ Pspice for windows การออกแบบวงจร เริ่มดวยการเขียนวงจรที่ตองการวิเคราะหการทํางาน โดยการเลือก Schemetics จะปรา กฎ Schematic sheet ของ Pspice for windows ดังรูปที่ 2
  • 4. การใชงานโปรแกรม Pspice for windows เบื้องตน 4 เอกสารนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชในการเรียนการสอนเทานั้น ไมมีจุดมุงหมายในเชิงพาณิชย mts@kmitnb.ac.th รูปที่ 2 Schematic sheet ของ Pspice for windows รูปที่ 3 วงจรตัวอยางในการวิเคราะหการทํางาน
  • 5. การใชงานโปรแกรม Pspice for windows เบื้องตน 5 เอกสารนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชในการเรียนการสอนเทานั้น ไมมีจุดมุงหมายในเชิงพาณิชย mts@kmitnb.ac.th จากรูปที่ 2 กําหนดตัวอยาง ตองการวิเคราะหการทํางานของวงจรตามรูปที่ 3 การออกแบบวงจร แรก หากเราจะใชตัวเก็บประจุ (capacitor )และตัวตานทาน (Resistor) โดยทําตามขั้นตอนตอไป นี้ เลือกคําสั่ง Draw/Get New Part ตามรูปที่ 4 จะปรากฎหนาตางยอยของ Add Part ดังรูปที่ 4 ใหเลือกคําสั่ง Browse เพื่อดูรายละเอียด หากทราบชื่ออุปกรณแลวสามารถพิมพลงไปได เลย รูปที่ 4 การเริ่มตนวางตําแหนงอุปกรณของ Pspice for windows รูปที่ 5 หนาตาง Add Part ของ Pspice for windows
  • 6. การใชงานโปรแกรม Pspice for windows เบื้องตน 6 เอกสารนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชในการเรียนการสอนเทานั้น ไมมีจุดมุงหมายในเชิงพาณิชย mts@kmitnb.ac.th หลังจากเลือก Browse จะปรากฎหนาตางของ Get Part ดังรูปที่ 6 โดยที่ทางขวามือจะเปน รายชื่อของไลบราลี สวนทางซายคือรายชื่อตัวอุปกรณ ใหเลือกไลบราลี Source.slb เสร็จแลว ใชเมาสเลือกที่ตัวอุปกรณชื่อ VSRC คลิ๊กที่ปุม OK ตัวอุปกรณจะมาอยูที่ปลายเมาส แลว นําไปบริเวณที่เหมาะสมคลิ๊กเมาสปุมซายเพื่อวางตัวอุปกรณ เสร็จแลวคลิ๊กเมาสปุมขวาเพื่อ เลือกตัวอื่น เลือกไลบราลี analog.slb เพื่อเลือกตัวอุปกรณชื่อ C และ R ตามลําดับจัดวางตามรูปที่ 6 สวนตัวอุปกรณ GND (มี 2 แบบคือ AGND และ EGND) และ Bubble จะอยูในไลบราลี Port.slb เลือกออปแอมปเบอร LF351 ซึ่งอยูใน ……………………… .slb รูปที่ 6 หนาตางของ Get Part การลากเสนใหเลือกคําสั่ง Draw/wire เคลื่อนเมาสมาที่ปลายขาของตัวอุปกรณ คลิ๊กปุมซาย 1 ครั้ง แลวลากเมาสมาที่ปลายขาของตัวอุปกรณอีกตัวหนึ่ง เสร็จแลวคลิ๊กปุมซายก็จะไดสาย สัญญาณตามตองการ สําหรับการหมุนตัวอุปกรณทําไดโดยการกดคีย Ctrl+R ตัวอุปกรณจะหมุนครั้งละ 90 องศา การออกแบบวงจรทุกครั้งอยาลืมตอกราวดใหกับวงจร มิฉะนั้นการวิเคราะหวงจรดวย Simulate จะไมผาน ตอไปจะเปนการกําหนดคาใหกับ VSRC ชี้เมาสที่ตัวอุปกรณ V1. ดับคลิ๊กปุมซาย (ตัว อุปกรณจะเปลี่ยนเปนสีแดง) จะปรากฎหนาตางการกําหนดคา ดังรูปที่ 7
  • 7. การใชงานโปรแกรม Pspice for windows เบื้องตน 7 เอกสารนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชในการเรียนการสอนเทานั้น ไมมีจุดมุงหมายในเชิงพาณิชย mts@kmitnb.ac.th รูปที่ 7 หนาตางการกําหนดคาของ V1 ใหกําหนดคาตางๆดังรูปที่ 7 เมื่อกําหนดเสร็จแลวตองเซฟดวยคําสั่ง Save Attr และ OK กําหนดคาใหตัวอุปกรณ C และ R ตางดังรูปที่ 3 เสร็จแลวเซฟเก็บไวในไฟลชื่อ siggen.sch ทําการสรางไฟล Netlist ดวยคําสั่ง ANALYSIS/CREATE Netlist เสร็จแลวเลือกคําสั่ง Analysis/Examine Netlist เพื่อขอดูรายละเอียดของวงจรวามีโหนดอะไรบางเชน $N- 00010 และคาคงตัวอุปกรณ ดังรูปที่ 8 รูปที่ 8 รายละเอียดวงจร siggen.net
  • 8. การใชงานโปรแกรม Pspice for windows เบื้องตน 8 เอกสารนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชในการเรียนการสอนเทานั้น ไมมีจุดมุงหมายในเชิงพาณิชย mts@kmitnb.ac.th การวิเคราะหวงจรดวย Pspice ในการวิเคราะหวงจรจะตองทําการสรางไฟล Netlist กอน เมื่อการสราง Netlist ผานแลว จึงสามารถจะวิเคราะหดวย Pspice การวิเคราะหทําได 3 วิธีคือ 1. กดคีย F11 2. เลือกคําสั่ง Analysis/Simulate ทั้ง 2 วิธีนี้ถาการวิเคราะหไมมีผิดพลาดใดๆก็จะเขาสูโปรแกรม Probe ทันที 3. ออกมาที่โปรแกรมกรุปของ Pspice for windows แลวเลือกไอคอน…..ตามคําสั่งFile/Open แลวเลือกชื่อไฟล Test.cir เสร็จแลวจะแสดงผลลัพธในการวิเคราะหดังรูปที่ 8 รูปที่ 9 ผลการวิเคราะหวงจรดวย Pspice การดูไฟลเอาตพุตของการรันโปรแกรม Pspice เลือกคําสั่ง Analysis/Examine Output จะปรากฎรายละเอียดใน Notepad ดังนี้ NAME X_U2.F1 X_U2.F6 X_U2.F5 X_U13.F1 X_U13.F6 I-SOURCE 0.000E+00 1.000E-05 -1.000E-05 0.000E+00 -5.965E-13 NAME X_U13.F5 I-SOURCE 1.000E-05 **** DIODES NAME X_U2.D1 X_U2.D2 X_U2.D5 X_U2.D6 X_U2.D4 MODEL X_U2.DX X_U2.DX X_U2.DX X_U2.DX X_U2.DX ID -7.89E-12 -7.86E-12 1.00E-05 -5.97E-13 -1.01E-13 VD -7.89E+00 -7.85E+00 5.96E-01 -5.96E-01 -9.97E-02
  • 9. การใชงานโปรแกรม Pspice for windows เบื้องตน 9 เอกสารนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชในการเรียนการสอนเทานั้น ไมมีจุดมุงหมายในเชิงพาณิชย mts@kmitnb.ac.th REQ 1.00E+12 1.00E+12 2.59E+03 1.00E+12 9.99E+11 CAP 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 NAME X_U2.D3 X_U13.D1 X_U13.D2 X_U13.D5 X_U13.D6 MODEL X_U2.DX X_U13.DX X_U13.DX X_U13.DX X_U13.DX ID -1.01E-13 -7.87E-12 -7.88E-12 -5.97E-13 1.00E-05 VD -1.00E-01 -7.86E+00 -7.88E+00 -5.96E-01 5.96E-01 REQ 9.99E+11 1.00E+12 1.00E+12 1.00E+12 2.59E+03 CAP 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 NAME X_U13.D4 X_U13.D3 MODEL X_U13.DX X_U13.DX ID -1.01E-13 -1.01E-13 VD -1.00E-01 -9.97E-02 REQ 9.99E+11 9.99E+11 CAP 0.00E+00 0.00E+00 **** JFETS NAME X_U2.J1 X_U2.J2 X_U13.J1 X_U13.J2 MODEL X_U2.JX X_U2.JX X_U13.JX X_U13.JX ID -5.00E-05 -5.00E-05 -5.00E-05 -5.00E-05 VGS -4.84E-08 -2.02E-07 -1.52E-07 -9.85E-08 VDS -9.01E+00 -9.01E+00 -9.00E+00 -9.00E+00 GM 5.00E-05 5.00E-05 5.00E-05 5.00E-05 GDS 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 CGS 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 CGD 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 JOB CONCLUDED TOTAL JOB TIME 11.12
  • 10. การใชงานโปรแกรม Pspice for windows เบื้องตน 10 เอกสารนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชในการเรียนการสอนเทานั้น ไมมีจุดมุงหมายในเชิงพาณิชย mts@kmitnb.ac.th ตอไปจะเปนการกําหนด รูปแบบการวิเคราะหใหโปรแกรม Pspice โดยกลับมาที่โปรแกรม Schematic แลวเลือกคําสั่ง Analysis/setup จะปรากฎหนาตางของ Analysis setup ดังรูปที่ 10 (ก) (ก) (ข) รูปที่ 10 การกําหนดรูปแบบการวิเคราะหของ Pspice
  • 11. การใชงานโปรแกรม Pspice for windows เบื้องตน 11 เอกสารนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชในการเรียนการสอนเทานั้น ไมมีจุดมุงหมายในเชิงพาณิชย mts@kmitnb.ac.th ใหเลือกคําสั่ง Transient จะปรากฎหนาตางของ Transient setup ดังรูปที่ 10(ข) ใสคา ตางๆตามรูปที่ 10(ข) เสร็จแลวคลิ๊กปุม OK/close การพล็อตกราฟรูปคลื่นของกระแสและแรงดันดวย Probe การใชโปรแกรม Probe เพื่อวาดกราฟรูปคลื่นของกระแสและแรงดัน สามารถทําได 2 วิธี ดวยกัน วิธีแรกเมื่อรันโปรแกรม Pspice เพื่อวิเคราะหวงจรและไมมีขอผิดพลาดใดๆก็จะเขาสู โปรแกรม Probe ทันที อีกวิธีคือการเขาสูโปรแกรม Probe จากโปรแกรมกรุปของ Pspice for windows แลวเลือกไอคอน Probe ตามดวยคําสั่ง File/Open แลวเลือกชื่อไฟล Test.dat จะปรา กฎหนาจอของ Probe ดังรูปที่ 11 รูปที่ 11 หนาจอของโปรแกรม Probe ตอไปเปนการวาดกราฟใหเลือกคําสั่ง Trace/Add จะปรากฎหนาตางของ Add Traces รูปที่ 12
  • 12. การใชงานโปรแกรม Pspice for windows เบื้องตน 12 เอกสารนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชในการเรียนการสอนเทานั้น ไมมีจุดมุงหมายในเชิงพาณิชย mts@kmitnb.ac.th รูปที่ 12 หนาตางของ Add Trace หลังจากนั้นใหคลิ๊กเมาสที่ V(vt) แลวขอความจะมาปรากฎที่ชอง Trace Command เชน กัน เสร็จแลวคลิ๊กที่ปุม OK ก็จะไดรูปคลื่นสามเหลี่ยม ตอไปเลือกคําสั่ง Trace/Add แลวคลิ๊ก เมาสที่ V(Vs) และปุม OK ก็จะไดรูปคลื่นสี่เหลี่ยม ดังรูปที่ 13 รูปที่ 13 กราฟรูปคลื่นโดยโปรแกรม Probe
  • 13. การใชงานโปรแกรม Pspice for windows เบื้องตน 13 เอกสารนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชในการเรียนการสอนเทานั้น ไมมีจุดมุงหมายในเชิงพาณิชย mts@kmitnb.ac.th นอกจากนี้ หากตองการวิเคราะห สวนประกอบของความถี่ (Fundamental of frequency) สามารถใชการวิเคราะหทางฟูเรียร (Fourier Analysis) โดยเลือก Plot / X axis settings คลิก เมาสที่ Fourier ในหนาตางรูปที่ 14 รูปที่ 14 การเลือกวิเคราะหฟูเรียรบนหนาตาง X axis settings หลังจากนั้น จะไดกราฟรูปคลื่นแบบ Fourier Analysis ดังรูปที่ 15 รูปที่ 15 กราฟรูปคลื่นแบบ Fourier Analysis
  • 14. การใชงานโปรแกรม Pspice for windows เบื้องตน 14 เอกสารนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชในการเรียนการสอนเทานั้น ไมมีจุดมุงหมายในเชิงพาณิชย mts@kmitnb.ac.th แบบฝกหัด จงวิเคราะหวงจรตอไปนี้ เพื่อใหไดผลของ Probe ตามที่แสดง 1.
  • 15. การใชงานโปรแกรม Pspice for windows เบื้องตน 15 เอกสารนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชในการเรียนการสอนเทานั้น ไมมีจุดมุงหมายในเชิงพาณิชย mts@kmitnb.ac.th 2.
  • 16. การใชงานโปรแกรม Pspice for windows เบื้องตน 16 เอกสารนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชในการเรียนการสอนเทานั้น ไมมีจุดมุงหมายในเชิงพาณิชย mts@kmitnb.ac.th 3.