SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
บริการออนไลน์ไทย ปลอดภัยแค่ไหน?:
ผลสารวจมาตรการรักษาความปลอดภัยและคุ้มครองความเป็นส่วนตัวของเว็บไซต์ไทย
ครั้งที่ 1
14 สิงหาคม 2557
การประเมินความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัวของบริการออนไลน์
• ให้ดาวเพื่อช่วยให้ผู้บริโภคตัดสินใจได้
ง่าย
EFF's Encrypt The Web Report
https://www.eff.org/encrypt-the-web-report
===== มาตรการทางเทคนิค =====
• มีการเข้ารหัส SSL ในตอนที่เข้าสู่ระบบและใช้รหัสผ่านหรือไม่?
• มีการเข้ารหัส SSL สาหรับเนื้อหาหรือไม่ ถูกต้องหรือไม่ ความแข็งแรงของ SSL?
• รหัสผ่านถูกเก็บอย่างไร เป็นรหัสหรือเป็นตัวหนังสือธรรมดา (ดูจากตอนที่ขอรหัสผ่านใหม่เมื่อลืมรหัส)
• เว็บไซต์รองรับการใช้ฟังก์ชั่น Do Not Track หรือไม่
•คุกกี้: ถูกเก็บอย่างไร เก็บอะไรบ้าง
===== การคุ้มครองทางกฎหมาย =====
• บริษัท/บริการนี้จดทะเบียนที่ไหน
• เซิร์ฟเวอร์ตั้งอยู่ที่ไหน
• ข้อมูลถูกเก็บไว้ที่ไหน ในคลาวด์?
• รองรับมาตรการ Notice and Take down หรือไม่
• มีนโยบายให้ใช้ชื่อจริงหรือไม่
• นโยบายการเก็บข้อมูล: ข้อมูลถูกเก็บที่ไหน อย่างไร ใครที่เข้าถึงได้ ส่งต่อให้เจ้าหน้าที่รัฐหรือบุคคลที่สาม
หรือไม่ ข้อมูลอะไรที่ส่งต่อ
การประเมินความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัวของบริการออนไลน์
การประเมินความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัวของบริการออนไลน์
===== อื่นๆ =====
• มีรายงานความโปร่งใสหรือไม่
• ผู้ให้บริการมีจุดติดต่อที่เป็น “มนุษย์”
• ใช้เวลานานแค่ไหนในการติดต่อ/ตอบคาถาม
• หากมีการเปลี่ยนเจ้าของบริษัท มีนโยบายอย่างไรต่อข้อมูลที่เก็บไว้
• การใช้ภาษาที่ซื่อสัตย์ ไม่กากวม จริงใจ “อ่านได้”
• มีการแจ้งต่อสาธารณะหรือไม่เมื่อนโยบายเปลี่ยนแปลง เป็นระยะเวลาเท่าใด ผู้ใช้มีส่วนร่วมหรือไม่อย่างไร
1. มีการเชื่อมต่อแบบ HTTP Secure (HTTPS)
หรือไม่
2. กุญแจการเข้ารหัสมีความยาว 256 บิตหรือไม่ ความ
ยาวของกุญแจเข้ารหัสมีหน่วยเป็นบิต ยิ่งกุญแจมี
ความยาวมาก โอกาสที่ผู้บุกรุกจะคาดเดากุญแจที่
ถูกต้องก็ยิ่งยากขึ้นตามไปด้วย ความยาวของกุญแจที่
เป็นมาตรฐานของอุตสาหกรรมธนาคารในขณะนี้คือ
256 บิต
3. แสดงนโยบายความเป็นส่วนตัวชัดเจนหรือไม่ ดูจาก
การใช้คาและตาแหน่งที่ถูกจัดวางในเว็บไซต์ว่า
สามารถเข้าถึงได้อย่างไร
เกณฑ์ที่ใช้ในการประเมิน: ขั้นพื้นฐานที่สุด | ผู้ใช้ทั่วไปตรวจสอบได้ด้วยตนเอง
1. หน่วยงานของรัฐ
 พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ.
2540 มาตรา 23 หน่วยงานของรัฐต้องจัดระบบข้อมูล
ข่าวสารส่วนบุคคล รวมทั้งจัดระบบรักษาความปลอดภัย
ให้แก่ระบบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ตามความเหมาะสม
เพื่อป้องกันมิให้มีการนาไปใช้โดยไม่เหมาะสมหรือเป็น
ผลร้ายต่อเจ้าของข้อมูลด้วย
 พระราชกฤษฎีกากาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการทา
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ พ.ศ.2549 มาตรา 5
“หน่วยงานของรัฐต้องจัดทาแนวนโยบายและแนวปฏิบัติใน
การรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ เพื่อให้การ
ดาเนินการใดๆ ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์กับหน่วยงาน
ของรัฐหรือโดยหน่วยงานของรัฐมีความมั่นคงปลอดภัยและ
เชื่อถือได้”
2. ธนาคาร
 ทุกธนาคารเข้ารหัสด้วย HTTPS ใช้ SSL รุ่น 3.0
 ทุกธนาคารจะมีนโยบายความเป็นส่วนตัว แต่ใช้คาและจัดวางในตาแหน่งที่
แตกต่างกัน
 เว็บไซต์ธนาคารที่ใช้คาว่าความเป็นส่วนตัว หรือ privacy วางอยู่ในแถบ
ด้านล่าง หน้าแรกของเว็บไซต์
 เว็บไซต์ธนาคารที่การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลอยู่ในหัวข้อนโยบายความ
ปลอดภัย ที่วางอยู่ในแถบด้านล่าง หน้าแรกของเว็บไซต์
 ธนาคารออนไลน์ที่เป็นบริการทางการเงิน เกี่ยวข้องกับพระราชกฤษฎีกาว่าด้วย
การควบคุมดูแลธุรกิจบริการการชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.2551 ในพระ
ราชกฤษฎีกานี้กาหนดให้ผู้ให้บริการชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ต้องปฏิบัติตาม
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยที่ สรข. 3/2552 เรื่องนโยบายและมาตรการ
รักษาความมั่นคงปลอดภัยทางระบบสารสนเทศ
3. คมนาคมขนส่ง
● เว็บไซต์สายการบินทั้งหมดมีการเข้ารหัส HTTPS
และเข้ารหัส SSL รุ่น 3.0 ทั้งหมด
● แอร์เอเชีย เป็นเว็บเดียวที่ระบุชัดเจนว่า นโยบาย
ความเป็นส่วนตัว ในหน้าแรกของเว็บไซต์ ส่วน
เว็บไซต์อื่นๆ แทรกอยู่ในนโยบายรักษาความ
ปลอดภัย ที่แถบด้านล่าง หน้าแรกของเว็บไซต์
● เว็บนกแอร์มีนโยบายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูล
ส่วนบุคคลแทรกอยู่ใน เงื่อนไขและข้อกาหนด ที่จะ
ปรากฏให้เห็นเฉพาะขั้นตอนเลือกเที่ยวบิน
● ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยที่ สรข. 3/2552
เรื่อง นโยบายและมาตรการการรักษาความมั่นคง
ปลอดภัยทางระบบสารสนเทศ
3. คมนาคมขนส่ง
● บริการจองบัตรโดยสารด้วยรถประจาทาง แตกต่างจากบริการจาหน่ายบัตรโดยสาร
เครื่องบินตรงที่ผู้ซื้อไม่จาเป็นต้องใส่ข้อมูลส่วนตัวของตนเองอยางละเอียด
● ส่วนใหญ่ไม่รับชาระเงินผ่านเว็บไซต์ จึงไม่ให้ความสาคัญกับการเข้ารหัสข้อมูล และ
นโยบายความเป็นส่วนตัวมากเท่าที่ควร
4.สถาบันการศึกษา: การรับสมัครสอบเข้ามหาวิทยาลัย
● มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้า ธนบุรี และ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เท่านั้น ที่มี
การเข้ารหัสข้อมูลแบบ HTTPS
● ไม่มีมหาวิทยาลัยใดที่มีนโยบายความ
เป็นส่วนตัวที่ชัดเจนเลย
5.ร้านค้าออนไลน์
● เว็บท่าที่เป็นศูนย์กลางในการติดต่อระหว่างผู้ซื้อกับ
ผู้ขาย ไม่มีการทาธุรกรรมทางการเงินอิเล็กทรอนิกส์
กระบวนการซื้อสินค้าใช้การโอนเงินนอกพื้นที่
เว็บไซต์
● มีเพียงเว็บตลาดดอทคอมที่มีการเข้ารหัสแบบ
HTTPS ซึ่งอาจจะเกี่ยวข้องกับการที่เป็นบริษัทร่วม
ทุนกับบริษัท Rakuten จากประเทศญี่ปุ่น
● นโยบายความเป็นส่วนตัวส่วนใหญ่จะไปปรากฏอยู่ใน
หน้าลงทะเบียนซึ่งต้องมีการกรอกข้อมูลส่วนตัวอย่าง
ละเอียดของผู้ใช้บริการ ที่น่าสังเกตคือ เว็บไซต์
Weloveshopping แม้จะมีนโยบายคุ้มครองข้อมูล
บุคคลที่แถบด้านล่างของหน้าแรก แต่เมื่อคลิกเข้าไป
แล้ว กลับเชื่อมโยงไปที่เว็บอื่น
● ก่อนที่จะซื้อสินค้าในเว็บค้าปลีกออนไลน์
ผู้ใช้บริการต้องสมัครสมาชิก ต้องกรอกข้อมูล
ส่วนตัวอย่างละเอียดก่อนที่จะซื้อสินค้าได้
ประเมินความปลอดภัยในขั้นตอนการสมัคร
สมาชิกเท่านั้น
● 80% ของเว็บค้าปลีกออนไลน์มีการเข้ารหัส
HTTPS ในหน้าลงทะเบียนสมัครสมาชิกเพื่อ
ใช้บริการ
● นโยบายความเป็นส่วนตัวอยู่ในหน้าแรกของ
เว็บไซต์ Lazada และ Zalora ซึ่งอาจจะ
เกี่ยวข้องกับการที่ทั้งสองเว็บนี้เป็นบริษัทข้าม
ชาติ มีสาขาหลายประเทศที่มีกฎหมาย
คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลแล้ว ส่วนเว็บอื่นๆ
ไม่ได้ใช้คาว่านโยบายข้อมูลความเป็นส่วนตัว
โดยตรง แต่เป็นหัวข้อย่อยที่แทรกอยู่ใน
ข้อตกลงการใช้บริการในหน้าลงทะเบียน
5.ร้านค้าออนไลน์
● ไม่มีเว็บใดเลยที่เข้ารหัสในหน้าที่ผู้ใช้ต้องกรอกข้อมูลส่วนตัว แต่
น่าสนใจว่าทุกเว็บมีรายละเอียดของนโยบายความเป็นส่วนตัว
6.สมัครงาน
Next phase?
• ===== มาตรการทางเทคนิค =====
• มีการเข้ารหัส SSL สาหรับเนื้อหาหรือไม่ ถูกต้องหรือไม่ ความแข็งแรงของ SSL?
• รหัสผ่านถูกเก็บอย่างไร เป็นรหัสหรือเป็นตัวหนังสือธรรมดา (ดูจากตอนที่ขอรหัสผ่านใหม่เมื่อลืมรหัส)
• คุกกี้: ถูกเก็บอย่างไร เก็บอะไรบ้าง
• ===== การคุ้มครองทางกฎหมาย =====
• บริษัท/บริการนี้จดทะเบียนที่ไหน
• เซิร์ฟเวอร์ตั้งอยู่ที่ไหน
• ข้อมูลถูกเก็บไว้ที่ไหน ในคลาวด์?
• มีนโยบายให้ใช้ชื่อจริงหรือไม่
• นโยบายการเก็บข้อมูล: ข้อมูลถูกเก็บที่ไหน อย่างไร ใครที่เข้าถึงได้ ส่งต่อให้เจ้าหน้าที่รัฐหรือบุคคลที่สามหรือไม่
ข้อมูลอะไรที่ส่งต่อ
• ===== อื่นๆ =====
• การใช้ภาษาที่ซื่อสัตย์ ไม่กากวม จริงใจ “อ่านได้”

More Related Content

Viewers also liked

[สรุป] พรบ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล 2537แก้ไข 2552
[สรุป] พรบ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล 2537แก้ไข 2552[สรุป] พรบ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล 2537แก้ไข 2552
[สรุป] พรบ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล 2537แก้ไข 2552
วัชรินทร์ ใจจะดี
 

Viewers also liked (9)

พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2552
พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2552พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2552
พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2552
 
[สรุป] พรบ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล 2537แก้ไข 2552
[สรุป] พรบ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล 2537แก้ไข 2552[สรุป] พรบ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล 2537แก้ไข 2552
[สรุป] พรบ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล 2537แก้ไข 2552
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ถามตอบ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ถามตอบ ชุดที่ 2แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ถามตอบ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ถามตอบ ชุดที่ 2
 
แนวข้อสอบเหตุการณ์ปัจจุบันที่เคยออก (Pun)
แนวข้อสอบเหตุการณ์ปัจจุบันที่เคยออก (Pun)แนวข้อสอบเหตุการณ์ปัจจุบันที่เคยออก (Pun)
แนวข้อสอบเหตุการณ์ปัจจุบันที่เคยออก (Pun)
 
พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549
พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549
พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549
 
แนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 ok
แนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 okแนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 ok
แนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 ok
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540
 
แนวข้อสอบจริง 75 ข้อ
แนวข้อสอบจริง  75 ข้อแนวข้อสอบจริง  75 ข้อ
แนวข้อสอบจริง 75 ข้อ
 

Presentation 14-aug-2014

  • 3. ===== มาตรการทางเทคนิค ===== • มีการเข้ารหัส SSL ในตอนที่เข้าสู่ระบบและใช้รหัสผ่านหรือไม่? • มีการเข้ารหัส SSL สาหรับเนื้อหาหรือไม่ ถูกต้องหรือไม่ ความแข็งแรงของ SSL? • รหัสผ่านถูกเก็บอย่างไร เป็นรหัสหรือเป็นตัวหนังสือธรรมดา (ดูจากตอนที่ขอรหัสผ่านใหม่เมื่อลืมรหัส) • เว็บไซต์รองรับการใช้ฟังก์ชั่น Do Not Track หรือไม่ •คุกกี้: ถูกเก็บอย่างไร เก็บอะไรบ้าง ===== การคุ้มครองทางกฎหมาย ===== • บริษัท/บริการนี้จดทะเบียนที่ไหน • เซิร์ฟเวอร์ตั้งอยู่ที่ไหน • ข้อมูลถูกเก็บไว้ที่ไหน ในคลาวด์? • รองรับมาตรการ Notice and Take down หรือไม่ • มีนโยบายให้ใช้ชื่อจริงหรือไม่ • นโยบายการเก็บข้อมูล: ข้อมูลถูกเก็บที่ไหน อย่างไร ใครที่เข้าถึงได้ ส่งต่อให้เจ้าหน้าที่รัฐหรือบุคคลที่สาม หรือไม่ ข้อมูลอะไรที่ส่งต่อ การประเมินความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัวของบริการออนไลน์
  • 4. การประเมินความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัวของบริการออนไลน์ ===== อื่นๆ ===== • มีรายงานความโปร่งใสหรือไม่ • ผู้ให้บริการมีจุดติดต่อที่เป็น “มนุษย์” • ใช้เวลานานแค่ไหนในการติดต่อ/ตอบคาถาม • หากมีการเปลี่ยนเจ้าของบริษัท มีนโยบายอย่างไรต่อข้อมูลที่เก็บไว้ • การใช้ภาษาที่ซื่อสัตย์ ไม่กากวม จริงใจ “อ่านได้” • มีการแจ้งต่อสาธารณะหรือไม่เมื่อนโยบายเปลี่ยนแปลง เป็นระยะเวลาเท่าใด ผู้ใช้มีส่วนร่วมหรือไม่อย่างไร
  • 5. 1. มีการเชื่อมต่อแบบ HTTP Secure (HTTPS) หรือไม่ 2. กุญแจการเข้ารหัสมีความยาว 256 บิตหรือไม่ ความ ยาวของกุญแจเข้ารหัสมีหน่วยเป็นบิต ยิ่งกุญแจมี ความยาวมาก โอกาสที่ผู้บุกรุกจะคาดเดากุญแจที่ ถูกต้องก็ยิ่งยากขึ้นตามไปด้วย ความยาวของกุญแจที่ เป็นมาตรฐานของอุตสาหกรรมธนาคารในขณะนี้คือ 256 บิต 3. แสดงนโยบายความเป็นส่วนตัวชัดเจนหรือไม่ ดูจาก การใช้คาและตาแหน่งที่ถูกจัดวางในเว็บไซต์ว่า สามารถเข้าถึงได้อย่างไร เกณฑ์ที่ใช้ในการประเมิน: ขั้นพื้นฐานที่สุด | ผู้ใช้ทั่วไปตรวจสอบได้ด้วยตนเอง
  • 6.
  • 7. 1. หน่วยงานของรัฐ  พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 มาตรา 23 หน่วยงานของรัฐต้องจัดระบบข้อมูล ข่าวสารส่วนบุคคล รวมทั้งจัดระบบรักษาความปลอดภัย ให้แก่ระบบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ตามความเหมาะสม เพื่อป้องกันมิให้มีการนาไปใช้โดยไม่เหมาะสมหรือเป็น ผลร้ายต่อเจ้าของข้อมูลด้วย  พระราชกฤษฎีกากาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการทา ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ พ.ศ.2549 มาตรา 5 “หน่วยงานของรัฐต้องจัดทาแนวนโยบายและแนวปฏิบัติใน การรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ เพื่อให้การ ดาเนินการใดๆ ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์กับหน่วยงาน ของรัฐหรือโดยหน่วยงานของรัฐมีความมั่นคงปลอดภัยและ เชื่อถือได้”
  • 8. 2. ธนาคาร  ทุกธนาคารเข้ารหัสด้วย HTTPS ใช้ SSL รุ่น 3.0  ทุกธนาคารจะมีนโยบายความเป็นส่วนตัว แต่ใช้คาและจัดวางในตาแหน่งที่ แตกต่างกัน  เว็บไซต์ธนาคารที่ใช้คาว่าความเป็นส่วนตัว หรือ privacy วางอยู่ในแถบ ด้านล่าง หน้าแรกของเว็บไซต์  เว็บไซต์ธนาคารที่การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลอยู่ในหัวข้อนโยบายความ ปลอดภัย ที่วางอยู่ในแถบด้านล่าง หน้าแรกของเว็บไซต์  ธนาคารออนไลน์ที่เป็นบริการทางการเงิน เกี่ยวข้องกับพระราชกฤษฎีกาว่าด้วย การควบคุมดูแลธุรกิจบริการการชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.2551 ในพระ ราชกฤษฎีกานี้กาหนดให้ผู้ให้บริการชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ต้องปฏิบัติตาม ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยที่ สรข. 3/2552 เรื่องนโยบายและมาตรการ รักษาความมั่นคงปลอดภัยทางระบบสารสนเทศ
  • 9. 3. คมนาคมขนส่ง ● เว็บไซต์สายการบินทั้งหมดมีการเข้ารหัส HTTPS และเข้ารหัส SSL รุ่น 3.0 ทั้งหมด ● แอร์เอเชีย เป็นเว็บเดียวที่ระบุชัดเจนว่า นโยบาย ความเป็นส่วนตัว ในหน้าแรกของเว็บไซต์ ส่วน เว็บไซต์อื่นๆ แทรกอยู่ในนโยบายรักษาความ ปลอดภัย ที่แถบด้านล่าง หน้าแรกของเว็บไซต์ ● เว็บนกแอร์มีนโยบายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูล ส่วนบุคคลแทรกอยู่ใน เงื่อนไขและข้อกาหนด ที่จะ ปรากฏให้เห็นเฉพาะขั้นตอนเลือกเที่ยวบิน ● ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยที่ สรข. 3/2552 เรื่อง นโยบายและมาตรการการรักษาความมั่นคง ปลอดภัยทางระบบสารสนเทศ
  • 10. 3. คมนาคมขนส่ง ● บริการจองบัตรโดยสารด้วยรถประจาทาง แตกต่างจากบริการจาหน่ายบัตรโดยสาร เครื่องบินตรงที่ผู้ซื้อไม่จาเป็นต้องใส่ข้อมูลส่วนตัวของตนเองอยางละเอียด ● ส่วนใหญ่ไม่รับชาระเงินผ่านเว็บไซต์ จึงไม่ให้ความสาคัญกับการเข้ารหัสข้อมูล และ นโยบายความเป็นส่วนตัวมากเท่าที่ควร
  • 11. 4.สถาบันการศึกษา: การรับสมัครสอบเข้ามหาวิทยาลัย ● มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้า ธนบุรี และ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เท่านั้น ที่มี การเข้ารหัสข้อมูลแบบ HTTPS ● ไม่มีมหาวิทยาลัยใดที่มีนโยบายความ เป็นส่วนตัวที่ชัดเจนเลย
  • 12. 5.ร้านค้าออนไลน์ ● เว็บท่าที่เป็นศูนย์กลางในการติดต่อระหว่างผู้ซื้อกับ ผู้ขาย ไม่มีการทาธุรกรรมทางการเงินอิเล็กทรอนิกส์ กระบวนการซื้อสินค้าใช้การโอนเงินนอกพื้นที่ เว็บไซต์ ● มีเพียงเว็บตลาดดอทคอมที่มีการเข้ารหัสแบบ HTTPS ซึ่งอาจจะเกี่ยวข้องกับการที่เป็นบริษัทร่วม ทุนกับบริษัท Rakuten จากประเทศญี่ปุ่น ● นโยบายความเป็นส่วนตัวส่วนใหญ่จะไปปรากฏอยู่ใน หน้าลงทะเบียนซึ่งต้องมีการกรอกข้อมูลส่วนตัวอย่าง ละเอียดของผู้ใช้บริการ ที่น่าสังเกตคือ เว็บไซต์ Weloveshopping แม้จะมีนโยบายคุ้มครองข้อมูล บุคคลที่แถบด้านล่างของหน้าแรก แต่เมื่อคลิกเข้าไป แล้ว กลับเชื่อมโยงไปที่เว็บอื่น
  • 13. ● ก่อนที่จะซื้อสินค้าในเว็บค้าปลีกออนไลน์ ผู้ใช้บริการต้องสมัครสมาชิก ต้องกรอกข้อมูล ส่วนตัวอย่างละเอียดก่อนที่จะซื้อสินค้าได้ ประเมินความปลอดภัยในขั้นตอนการสมัคร สมาชิกเท่านั้น ● 80% ของเว็บค้าปลีกออนไลน์มีการเข้ารหัส HTTPS ในหน้าลงทะเบียนสมัครสมาชิกเพื่อ ใช้บริการ ● นโยบายความเป็นส่วนตัวอยู่ในหน้าแรกของ เว็บไซต์ Lazada และ Zalora ซึ่งอาจจะ เกี่ยวข้องกับการที่ทั้งสองเว็บนี้เป็นบริษัทข้าม ชาติ มีสาขาหลายประเทศที่มีกฎหมาย คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลแล้ว ส่วนเว็บอื่นๆ ไม่ได้ใช้คาว่านโยบายข้อมูลความเป็นส่วนตัว โดยตรง แต่เป็นหัวข้อย่อยที่แทรกอยู่ใน ข้อตกลงการใช้บริการในหน้าลงทะเบียน 5.ร้านค้าออนไลน์
  • 15. Next phase? • ===== มาตรการทางเทคนิค ===== • มีการเข้ารหัส SSL สาหรับเนื้อหาหรือไม่ ถูกต้องหรือไม่ ความแข็งแรงของ SSL? • รหัสผ่านถูกเก็บอย่างไร เป็นรหัสหรือเป็นตัวหนังสือธรรมดา (ดูจากตอนที่ขอรหัสผ่านใหม่เมื่อลืมรหัส) • คุกกี้: ถูกเก็บอย่างไร เก็บอะไรบ้าง • ===== การคุ้มครองทางกฎหมาย ===== • บริษัท/บริการนี้จดทะเบียนที่ไหน • เซิร์ฟเวอร์ตั้งอยู่ที่ไหน • ข้อมูลถูกเก็บไว้ที่ไหน ในคลาวด์? • มีนโยบายให้ใช้ชื่อจริงหรือไม่ • นโยบายการเก็บข้อมูล: ข้อมูลถูกเก็บที่ไหน อย่างไร ใครที่เข้าถึงได้ ส่งต่อให้เจ้าหน้าที่รัฐหรือบุคคลที่สามหรือไม่ ข้อมูลอะไรที่ส่งต่อ • ===== อื่นๆ ===== • การใช้ภาษาที่ซื่อสัตย์ ไม่กากวม จริงใจ “อ่านได้”