SlideShare a Scribd company logo
Dwarf 2 ชนิด ได้แก่
• อาการแคระที่รูปร่างสมส่วน ผู้ป่วยแคระชนิดนี้จะมีขนาดศีรษะ ลาตัว และแขนขาที่สม
ส่วน โดยมีขนาดร่างกายทั้งหมดเล็กกว่าคนทั่วไป อาการแคระดังกล่าวเกิดจากร่างกายขาด
ฮอร์โมน
• อาการแคระที่รูปร่างไม่สมส่วน ผู้ป่วยแคระชนิดนี้จะมีขนาดของอวัยวะในร่างกายที่ไม่
สมส่วนกัน จัดเป็นอาการแคระที่พบได้มากที่สุด
การรักษาโดยฮอร์โมนบาบัด
วิธีนี้ใช้รักษาผู้ป่วยที่ประสบภาวะขาดโกรทฮอร์โมน โดยแพทย์จะฉีดโกรทฮอร์โมน
สังเคราะห์ให้ เพื่อช่วยให้เด็กมีส่วนสูงที่ใกล้เคียงกับส่วนสูงของคนทั่วไป ผู้ป่วยต้องเข้า
รับฮอร์โมนบาบัดทุกวันตั้งแต่เด็ก และอาจต้องรับฮอร์โมนต่อไปจนถึงวัยผู้ใหญ่ ซึ่งจะ
ทาในกรณีที่กังวลว่าจะเติบโตไม่เต็มที่และมีกล้ามเนื้อหรือไขมันน้อยเกินไป ส่วนผู้ป่วย
กลุ่มอาการเทอร์เนอร์เพศหญิงจาเป็นต้องรับฮอร์โมนเอสโตรเจนบาบัด และจะหยุดรับ
ฮอร์โมนเมื่อเข้าวัยทอง
Dwarfism คือ ภาวะสุขภาพที่ส่งผลให้ร่างกายแคระแกร็นหรือตัวเตี้ยกว่า
ปกติ โดยทั่วไปแล้ว เมื่อโตเป็นผู้ใหญ่ ผู้ป่วยจะสูงประมาณ 120 เซนติเมตร
ภาวะดังกล่าวเกิดจากปัญหาสุขภาพหลายอย่าง ซึ่งมักเป็นโรคทางพันธุกรรม
โดยเกิดจากอะคอนโดรเพลเชียมากที่สุด
สาเหตุ
สาเหตุของอาการแคระที่รูปร่างสมส่วน สาเหตุหลักของอาการแคระชนิดนี้เกิดจากพ่อแม่ที่มีขนาด
ร่างกายเล็กทั้งคู่ ส่วนสาเหตุที่พบรองลงมาคือภาวะขาดฮอร์โมนโกรท เนื่องจากต่อมใต้สมองเกิด
ปัญหาจึงส่งผลกระทบตามมา เช่น ได้รับบาดเจ็บ เกิดเนื้องอกในสมอง หรือได้รับการฉายรังสีที่สมอง
สาเหตุของอาการแคระที่รูปร่างไม่สมส่วน อาการแคระชนิดนี้มักเกิดจากความผิดปกติของยีน ทาให้
กระดูกและกระดูกอ่อนไม่พัฒนาตามปกติ ส่งผลให้ร่างกายไม่เจริญเติบโต
อ้างอิง
https://www.pobpad.co
m/dwarfdwarfism
https://heydoctor.org/p
ituitary-dwarfism.html
ชื่อ น.ส.ทรรศิดา ตันประเสริฐ
เลขที่ 5 ห้อง 154 ชั้น ม.6
แผนการเรียน วิทย์-คณิต
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครูชานาญการ (คศ.2) สาขาวิชาชีววิทยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ภาคเรียนที่ 1 ปี พ.ศ.2564
เตรียมอุดมศึกษา

More Related Content

Similar to poster_Tatsida_154_No5

โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มากโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มากfainaja
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
4LIFEYES
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2fainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2fainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4fainaja
 
ว่านชักมดลูก22.08.13
ว่านชักมดลูก22.08.13ว่านชักมดลูก22.08.13
ว่านชักมดลูก22.08.13Fur Sutthanurak
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4fainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4fainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4fainaja
 
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียนสอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
duangkaew
 

Similar to poster_Tatsida_154_No5 (10)

โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มากโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
 
ว่านชักมดลูก22.08.13
ว่านชักมดลูก22.08.13ว่านชักมดลูก22.08.13
ว่านชักมดลูก22.08.13
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
 
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียนสอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
 

poster_Tatsida_154_No5

  • 1. Dwarf 2 ชนิด ได้แก่ • อาการแคระที่รูปร่างสมส่วน ผู้ป่วยแคระชนิดนี้จะมีขนาดศีรษะ ลาตัว และแขนขาที่สม ส่วน โดยมีขนาดร่างกายทั้งหมดเล็กกว่าคนทั่วไป อาการแคระดังกล่าวเกิดจากร่างกายขาด ฮอร์โมน • อาการแคระที่รูปร่างไม่สมส่วน ผู้ป่วยแคระชนิดนี้จะมีขนาดของอวัยวะในร่างกายที่ไม่ สมส่วนกัน จัดเป็นอาการแคระที่พบได้มากที่สุด การรักษาโดยฮอร์โมนบาบัด วิธีนี้ใช้รักษาผู้ป่วยที่ประสบภาวะขาดโกรทฮอร์โมน โดยแพทย์จะฉีดโกรทฮอร์โมน สังเคราะห์ให้ เพื่อช่วยให้เด็กมีส่วนสูงที่ใกล้เคียงกับส่วนสูงของคนทั่วไป ผู้ป่วยต้องเข้า รับฮอร์โมนบาบัดทุกวันตั้งแต่เด็ก และอาจต้องรับฮอร์โมนต่อไปจนถึงวัยผู้ใหญ่ ซึ่งจะ ทาในกรณีที่กังวลว่าจะเติบโตไม่เต็มที่และมีกล้ามเนื้อหรือไขมันน้อยเกินไป ส่วนผู้ป่วย กลุ่มอาการเทอร์เนอร์เพศหญิงจาเป็นต้องรับฮอร์โมนเอสโตรเจนบาบัด และจะหยุดรับ ฮอร์โมนเมื่อเข้าวัยทอง Dwarfism คือ ภาวะสุขภาพที่ส่งผลให้ร่างกายแคระแกร็นหรือตัวเตี้ยกว่า ปกติ โดยทั่วไปแล้ว เมื่อโตเป็นผู้ใหญ่ ผู้ป่วยจะสูงประมาณ 120 เซนติเมตร ภาวะดังกล่าวเกิดจากปัญหาสุขภาพหลายอย่าง ซึ่งมักเป็นโรคทางพันธุกรรม โดยเกิดจากอะคอนโดรเพลเชียมากที่สุด สาเหตุ สาเหตุของอาการแคระที่รูปร่างสมส่วน สาเหตุหลักของอาการแคระชนิดนี้เกิดจากพ่อแม่ที่มีขนาด ร่างกายเล็กทั้งคู่ ส่วนสาเหตุที่พบรองลงมาคือภาวะขาดฮอร์โมนโกรท เนื่องจากต่อมใต้สมองเกิด ปัญหาจึงส่งผลกระทบตามมา เช่น ได้รับบาดเจ็บ เกิดเนื้องอกในสมอง หรือได้รับการฉายรังสีที่สมอง สาเหตุของอาการแคระที่รูปร่างไม่สมส่วน อาการแคระชนิดนี้มักเกิดจากความผิดปกติของยีน ทาให้ กระดูกและกระดูกอ่อนไม่พัฒนาตามปกติ ส่งผลให้ร่างกายไม่เจริญเติบโต อ้างอิง https://www.pobpad.co m/dwarfdwarfism https://heydoctor.org/p ituitary-dwarfism.html ชื่อ น.ส.ทรรศิดา ตันประเสริฐ เลขที่ 5 ห้อง 154 ชั้น ม.6 แผนการเรียน วิทย์-คณิต นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูชานาญการ (คศ.2) สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปี พ.ศ.2564 เตรียมอุดมศึกษา