SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
หนา ๑
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก                         ราชกิจจานุเบกษา                       ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑




                                          พระราชบัญญัติ
                                       ธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก
                                              พ.ศ. ๒๕๕๑


                                      ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
                              ใหไว ณ วันที่ ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑
                                     เปนปที่ ๖๓ ในรัชกาลปจจุบัน
         พระบาทสมเด็จ พระปรมิน ทรมหาภู มิพลอดุล ยเดช มีพ ระบรมราชโองการโปรดเกล า ฯ
ใหประกาศวา
         โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก
         พระราชบัญ ญัตินี้ มีบ ทบัญ ญัติ บางประการเกี่ยวกับ การจํา กัดสิ ทธิ แ ละเสรีภาพของบุ คคล
ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๓ และมาตรา ๔๓ ของรัฐ ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย
         จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอมของ
สภานิติบัญญัติแหงชาติ ดังตอไปนี้
         มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัตธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก พ.ศ. ๒๕๕๑”
                                                       ิ
         มาตรา ๒ พระราชบั ญ ญั ติ นี้ ใ ห ใ ช บั ง คั บ เมื่ อ พ น กํ า หนดหกสิ บ วั น นั บ แต วั น ประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
หนา ๒
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก                       ราชกิจจานุเบกษา                      ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑

             มาตรา ๓ ใหยกเลิก
             (๑) พระราชบัญญัติธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก พ.ศ. ๒๕๓๕
             (๒) พระราชบัญญัติธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕
             มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
             “ธุรกิจนําเที่ยว” หมายความวา ธุรกิจเกี่ยวกับการนํานักทองเที่ยวเดิน ทางไปทองเที่ยว
หรือเดินทางไปเพื่อวัตถุประสงคอื่น โดยจัดใหมีบริการหรือการอํานวยความสะดวกอยางใดอยางหนึ่ง
หรื อ หลายอย า ง อั น ได แ ก สถานที่ พั ก อาหาร มั ค คุ เ ทศก หรื อ บริ ก ารอื่ น ใดตามที่ กํ า หนด
ในกฎกระทรวง
             “นักทองเที่ยว” หมายความวา ผูเดิน ทางจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งเพื่อประโยชนใ นการ
พักผอนหยอนใจ การศึกษาหาความรู การบันเทิง หรือการอื่นใด
             “มัคคุเทศก” หมายความวา ผูใหบริการเปนปกติธุระในการนํานักทองเที่ยวไปยังสถานที่ตาง ๆ
โดยใหบริการเกี่ยวกับคําแนะนําและความรูดานตาง ๆ แกนักทองเที่ยว
             “ผูนําเที่ยว” หมายความวา ผูรับผิดชอบในการดูแลและอํานวยความสะดวกแกนักทองเที่ยว
ในการเดินทางไปทองเที่ยวในตางประเทศ
             “คาบริการ” หมายความวา คาจางและคาใชจายตาง ๆ ที่นักทองเที่ยวจายใหแกผูประกอบ
ธุร กิ จนํ า เที่ย ว สํ า หรั บ การจั ด การให บริ ก าร หรื อ การอํ า นวยความสะดวกเกี่ ยวกั บ การเดิน ทาง
สถานที่พัก อาหาร หรือการอื่นใด
             “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก
             “กองทุน” หมายความวา กองทุนคุมครองธุรกิจนําเที่ยว
             “สํานักงาน” หมายความวา สํานักงานพัฒนาการทองเที่ยว
             “ผูอํานวยการ” หมายความวา ผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาการทองเที่ยว
             “นายทะเบียน” หมายความวา นายทะเบียนธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศกกลางหรือนายทะเบียน
ธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศกสาขา แลวแตกรณี
             “พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา ผูซึ่งผูอํานวยการแตงตั้งใหปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
             “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
หนา ๓
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก                       ราชกิจจานุเบกษา                    ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑

          มาตรา ๕ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬารักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
และใหมีอํานาจออกกฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมไมเกินอัตราทายพระราชบัญญัตินี้ ยกเวนคาธรรมเนียม
และกําหนดกิจการอื่นเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
          กฎกระทรวงนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได
          มาตรา ๖ พระราชบัญญัตินี้ไมใ หใ ชบังคับกับการทองเที่ยวแหงประเทศไทยและกิจการ
ซึ่งตองไดรับอนุญาตตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมกิจการฮัจย

                                           หมวด ๑
                              คณะกรรมการธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก

             มาตรา ๗ ให มี ค ณะกรรมการธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วและมั ค คุ เ ทศก ค ณะหนึ่ ง ประกอบด ว ย
ปลั ดกระทรวงการท อ งเที่ย วและกี ฬ า เป น ประธานกรรมการ ผู อํา นวยการสํา นัก งานพัฒ นาการ
ท อ งเที่ ย ว เป น รองประธานกรรมการ ผู แ ทนกระทรวงมหาดไทย ผู แ ทนกระทรวงแรงงาน
ผูบัญชาการสํานักงานตรวจคนเขาเมือง ผูบังคับการตํารวจทองเที่ยว ผูวาการการทองเที่ยวแหงประเทศไทย
ประธานสภาอุตสาหกรรมทองเที่ยวแหงประเทศไทย เปนกรรมการ และผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งจํานวน
เจ็ดคน เปนกรรมการ ใหนายทะเบียนธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศกกลาง เปนกรรมการและเลขานุการ
             กรรมการซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งตามวรรคหนึ่ง ใหแตงตั้งจากผูแทนสภาอุตสาหกรรมทองเที่ยว
แหงประเทศไทยหาคน และผูทรงคุณวุฒิซึ่งเปนหรือเคยเปนอาจารยสอนในสถาบันอุดมศึกษามาแลว
ไมนอยกวาสามปในวิชาการทองเที่ยวหนึ่งคนและวิชามัคคุเทศกหนึ่งคน
             กรรมการผูแ ทนสภาอุตสาหกรรมทองเที่ยวแหงประเทศไทยหาคนตามวรรคสอง จะเปน
สมาชิ ก สภาอุ ต สาหกรรมท อ งเที่ ย วแห ง ประเทศไทยหรื อ ไม ก็ ไ ด โดยอย า งน อ ยให แ ต ง ตั้ ง
จากผูแทนผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวสองคนและผูแทนมัคคุเทศกสองคน
             มาตรา ๘ กรรมการซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งมีวาระการดํารงตําแหนงคราวละสองป กรรมการ
ซึ่งพนจากตําแหนงอาจไดรับแตงตั้งอีกไดแตไมเกินสองวาระติดตอกัน
หนา ๔
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก                      ราชกิจจานุเบกษา                    ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑

          ในกรณีที่กรรมการพนจากตําแหนงตามวาระ แตยังมิไดแตงตั้งกรรมการใหมใหกรรมการ
ซึ่งพนจากตําแหนงปฏิบัติหนาที่ไปพลางกอนจนกวาจะไดแตงตั้งกรรมการใหม
          มาตรา ๙ การพนจากตําแหนงกอนครบวาระของกรรมการซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้ง ใหเปนไป
ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
          นอกจากการพน จากตําแหน งตามวรรคหนึ่ง รัฐ มนตรีจะสั่งใหกรรมการดังกล าวพน จาก
ตําแหนงเมื่อบกพรองตอหนาที่ มีความประพฤติเสื่อมเสีย หรือหยอนความสามารถก็ได
          มาตรา ๑๐ ในกรณี ที่ ก รรมการซึ่ ง รั ฐ มนตรี แ ต ง ตั้ ง พ น จากตํ า แหน ง ก อ นครบวาระ
ใหกรรมการซึ่งเหลืออยูปฏิบัติหนาที่ตอไปได และใหดําเนินการแตงตั้งกรรมการประเภทเดียวกันแทน
ภายในหกสิบวันนับแตวันที่กรรมการนั้นวางลง เวนแตวาระของกรรมการเหลือไมถึงหนึ่งรอยแปดสิบวัน
จะไมดําเนินการแตงตั้งกรรมการขึ้นแทนก็ได ทั้งนี้ ใหกรรมการซึ่งไดรับแตงตั้งใหดํารงตําแหนงแทน
มีวาระการดํารงตําแหนงเทากับวาระที่เหลืออยูของกรรมการซึ่งตนแทน
          มาตรา ๑๑ การประชุ ม การดํ า เนิ น การประชุ ม หรื อ การอื่ น ใดที่ เ กี่ ย วกั บ การประชุ ม
ใหเปนไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด
          มาตรา ๑๒ ใหคณะกรรมการมีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้
          (๑) กําหนดแผนงานและมาตรการตา ง ๆ เกี่ ยวกับการส งเสริม พัฒ นา และกํากับดูแ ล
ธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก
          (๒) เสนอความเห็นตอรัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวงตามพระราชบัญญัตินี้
          (๓) ออกระเบี ย บปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ มาตรฐานการประกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วและมาตรฐาน
การปฏิบัติหนาที่ของมัคคุเทศกและผูนําเที่ยวที่จะพึงปฏิบัติตอนักทองเที่ยว และความรับผิดชอบที่มี
ตอนักทองเที่ยวและผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว ตลอดจนคาตอบแทนหรือความคุม ครองที่มัคคุเ ทศก
และผูนําเที่ยวจะพึงไดรับจากผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว
          (๔) ประกาศกําหนดเขตพื้นที่ในทองถิ่นหรือชุมชนใดเพื่อใหมัคคุเทศกซึ่งไดรับการยกเวน
คุณสมบัติตามมาตรา ๕๑ ทําหนาที่มัคคุเทศก รวมทั้งกําหนดมาตรการตาง ๆ เพื่อประโยชนในการ
สงเสริมการทองเที่ยวในทองถิ่นหรือชุมชนนั้น ทั้งนี้ โดยความเห็นชอบของรัฐมนตรี
          (๕) ออกระเบียบเกี่ยวกับการเป ดบัญชีเงิน ฝากและการเบิก จายจากบัญชีเ งิน ฝากสําหรั บ
หลักประกันที่เปนเงินสดตามมาตรา ๑๘ รวมทั้งการคืนหลักประกันตามมาตรา ๓๙
หนา ๕
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก                       ราชกิจจานุเบกษา                      ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑

         (๖) กําหนดหลักเกณฑและวิธีการในการสอบหาขอเท็จจริงและการวินิจฉัยของนายทะเบียน
ตามมาตรา ๔๐
         (๗) ออกระเบียบเกี่ยวกับหลักเกณฑ วิธีการ และอัตราการจายเงินชดเชยใหแกนักทองเที่ยว
ซึ่งไดรับความเสียหายจากผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวตามมาตรา ๔๑
         (๘) พิจารณาและวินิจฉัยอุทธรณคําสั่งของนายทะเบียนตามพระราชบัญญัตินี้
         (๙) กํ า หนดหลั ก เกณฑ แ ละวิ ธี ก ารในการเก็ บ รั ก ษาและการบริ ห ารเงิ น และทรั พ ย สิ น
ของกองทุนตามมาตรา ๗๑
         (๑๐) ปฏิ บั ติ ก ารอื่ น ตามพระราชบั ญ ญั ติ นี้ ห รื อ ตามที่ ไ ด รั บ มอบหมายจากคณะรั ฐ มนตรี
หรือรัฐมนตรี
         มาตรา ๑๓ ในการดํา เนิน การตามอํา นาจหนาที่ คณะกรรมการจะตั้งคณะอนุ กรรมการ
เพื่อดําเนินการตามที่มอบหมายก็ได
         การประชุ มและการลงมติของคณะอนุกรรมการ ใหเปน ไปตามระเบียบที่คณะกรรมการ
กําหนด
         มาตรา ๑๔ ให ป ระธานกรรมการ กรรมการ และอนุ ก รรมการ ได รั บ เบี้ ย ประชุ ม
และประโยชนตอบแทนอื่นตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกําหนด


                                               หมวด ๒
                                             ธุรกิจนําเที่ยว

         มาตรา ๑๕ ผู ใ ดประสงค จ ะประกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วให ยื่ น คํ า ขอรั บ ใบอนุ ญ าตประกอบ
ธุรกิจนําเที่ยวจากนายทะเบียน
         การขอรับ ใบอนุญาต การออกใบอนุญาต และการออกใบแทนใบอนุญาตใหเปน ไปตาม
หลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง
หนา ๖
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก                             ราชกิจจานุเบกษา                          ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑

             มาตรา ๑๖ ผูขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวซึ่งเปนบุคคลธรรมดาตอง
             (๑) มีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้
                    (ก) มีอายุไมต่ํากวายี่สิบปบริบูรณในวันยื่นคําขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยว
                    (ข) มีสัญชาติไทย
                    (ค) มีภูมิลําเนาหรือถิ่นที่อยูในราชอาณาจักรไทย
             (๒) ไมมีลักษณะตองหาม ดังตอไปนี้
                    (ก) เปนบุคคลลมละลาย หรืออยูในระหวางถูกพิทักษทรัพย
                    (ข) เปนบุคคลวิกลจริตหรือจิตฟนเฟอนไมสมประกอบ หรือเปนคนไรความสามารถ
หรือเสมือนไรความสามารถ
                    (ค) เปน ผูอยูในระหวางถูกสั่งพักใชใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวหรือใบอนุญาต
เปนมัคคุเทศก
                    (ง) เคยถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวตามมาตรา ๔๖ (๑) (๒) (๓)
หรือ (๔) หรือใบอนุญาตเปนมัคคุเทศกตามมาตรา ๖๓ (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) และยังไมพนกําหนด
หาปนับถึงวันยื่นคําขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยว
                    (จ) เคยถู ก เพิ ก ถอนใบอนุ ญ าตประกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วตามมาตรา ๔๖ (๕)
หรือใบอนุญาตเปนมัคคุเทศกตามมาตรา ๖๓ (๕)
                    (ฉ) เคยถูกเพิก ถอนทะเบีย นเปน ผูนําเที่ยวมาแล วยังไมถึงห าปนับถึงวัน ยื่น คําขอรั บ
ใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยว
             มาตรา ๑๗ ผูขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวซึ่งเปนนิติบุคคลตอง
             (๑) มีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้
                    (ก) เปนนิติบุคคลตามกฎหมายไทยที่มีวัตถุประสงคเพื่อดําเนินกิจการเกี่ยวกับการทองเที่ยว
ถ าเป น ห างหุ น ส วนนิ ติ บุ คคล ผู เป นหุ น ส วนประเภทไม จํ ากั ดความรั บผิ ดต องเป น ผู มี สั ญชาติ ไทย
ถาเปนบริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัด ทุน ของบริษัทไมนอยกวารอยละหาสิบเอ็ดตองเปนของ
บุคคลธรรมดาซึ่งมีสัญชาติไทย และกรรมการของบริษัทเกินกึ่งหนึ่งตองเปนผูมีสัญชาติไทย
                    (ข) กรรมการหรือผูมี อํานาจจัดการแทนนิติบุค คลตองมีคุณสมบั ติและไม มีลักษณะ
ตองหามตามมาตรา ๑๖
หนา ๗
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก                            ราชกิจจานุเบกษา                          ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑

           (๒) ไมมีลักษณะตองหาม ดังตอไปนี้
                   (ก) เปนนิติบุคคลที่มีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๖ (๒) (ค) (ง) หรือ (จ)
                  (ข) มีผูเปน หุนสวนซึ่งมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๖ (๒) (ค) (ง) หรือ (จ)
หรือซึ่งพนจากการเปนหุน สวนของหางหุนสวนนิติบุคคลที่มีลักษณะตองหามตาม (๒) (ก) มาแลว
ยังไมถึงหาปนับถึงวันยื่นคําขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยว
                  (ค) มีผูถือหุนซึ่งถือหุนเกินรอยละหามีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๖ (๒) (ค) (ง)
หรือ (จ) หรือซึ่งพนจากการเปนกรรมการหรือผูมีอํานาจจัดการแทนนิติบุคคลที่มีลักษณะตองหามตาม
(๒) (ก) มาแลวยังไมถึงหาปนับถึงวันยื่นคําขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยว
           ความใน (๒) (ข) และ (ค) ไมนํา มาใช บังคั บกับ ผูซึ่ง เคยเปน หุ น สว น กรรมการหรื อ
ผูมีอํานาจจัดการแทนนิติบุคคล ซึ่งพิสูจนไดวาตนมิไดมีสวนรวมหรือรูเห็นกับการกระทําของนิติบุคคล
ที่เปนเหตุใหมีลักษณะตองหามตาม (๒) (ก)
           มาตรา ๑๘ ผู ข อรั บ ใบอนุ ญ าตตามมาตรา ๑๖ และมาตรา ๑๗ ต อ งวางหลั ก ประกั น
ซึ่งไดแ ก เงิน สด หนังสือค้ําประกันของธนาคาร พัน ธบัตรรัฐบาลไทยหรือพัน ธบัตรรัฐ วิสาหกิจ
ที่รัฐ บาลไทยค้ําประกันตนเงินและดอกเบี้ยอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางรวมกันตอนายทะเบียน
เพื่อเปนหลักประกันการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ตามจํานวนเงินที่กําหนดในกฎกระทรวง
           มาตรา ๑๙ เมื่ อ มี ผู ยื่ น คํ า ขอรั บ ใบอนุ ญ าตประกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย ว ให เ ป น หน า ที่ ข อง
นายทะเบี ยนหรือ ผูซึ่ งนายทะเบีย นมอบหมายตรวจสอบความครบถวนของเอกสารหลั กฐานและ
การปฏิบั ติต ามหลัก เกณฑ แ ละวิธี การที่กํ าหนดในกฎกระทรวงที่ ออกตามมาตรา ๑๕ วรรคสอง
ในกรณีที่พบวาเอกสารหรือหลักฐานใดไมครบถวนหรือยังมิไดปฏิบัติใหถูกตอง ใหแจงใหผูยื่นคําขอ
รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวทราบทันที
           มาตรา ๒๐ เมื่อนายทะเบียนพิจารณาเห็นวาผูยื่นคําขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยว
มีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๖ หรือมาตรา ๑๗ แลวแตกรณี และไดปฏิบัติตาม
หลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวแลว ใหนายทะเบียนมีหนังสือ
แจงใหผูยื่นคําขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวทราบภายในสามสิบวันนับแตวัน ที่ไดรับคําขอ
รับใบอนุญาต ในหนังสือแจงนั้นใหแจงคาธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวและหลักประกัน
ที่ตองวางไวดวย
หนา ๘
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก                           ราชกิจจานุเบกษา                         ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑

            เมื่อผูยื่นคําขอรับใบอนุญาตชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวตามอัตรา
ที่ กํ า หนดในกฎกระทรวงและวางหลั ก ประกั น ตามมาตรา ๑๘ ครบถ ว นแล ว ให น ายทะเบี ย น
ออกใบอนุ ญ าตประกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วให ภ ายในเจ็ ด วั น นั บ แต วั น ที่ ไ ด รั บ ชํ า ระค า ธรรมเนี ย ม
และหลักประกันนั้น
            การกําหนดคาธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวตามวรรคสอง จะกําหนดอัตรา
ที่แตกตางกันตามประเภทหรือลักษณะของผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวก็ได
            มาตรา ๒๑ เมื่อนายทะเบียนพิจารณาเห็นวาผูยื่นคําขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยว
ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๖ หรือมาตรา ๑๗ แลวแตกรณี ใหนายทะเบียน
มีหนังสือแจงเหตุแหงการไมออกใบอนุญาตใหผูยื่นคําขอรับใบอนุญาตทราบภายในสามสิบวันนับแต
วันที่ไดรับคําขอรับใบอนุญาต
            มาตรา ๒๒ ในกรณี ที่ น ายทะเบี ย นมี คํ า สั่ ง ไม อ อกใบอนุ ญ าตประกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย ว
ตามมาตรา ๒๑ ให ผู ยื่น คํา ขอรั บใบอนุ ญาตประกอบธุ รกิ จนํ า เที่ ยวมีสิ ท ธิอุ ทธรณคํ าสั่ ง ดัง กล า ว
เปนหนังสือตอคณะกรรมการภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับแจงคําสั่งจากนายทะเบียน
            ใหคณะกรรมการพิจารณาและวินิจฉัยอุทธรณตามวรรคหนึ่งใหแลวเสร็จภายในสามสิบวัน
นับแตวันที่ไดรับหนังสืออุทธรณ
            คําวินิจฉัยของคณะกรรมการใหเปนที่สุด
            มาตรา ๒๓ ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวตองแสดงใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวไวในที่เปดเผย
เห็นไดงาย ณ สถานที่ประกอบธุรกิจนําเที่ยวที่ระบุไวในใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยว
            มาตรา ๒๔ ผูประกอบธุ รกิจนํ าเที่ย วตองไมกระทําการใดอัน จะกอ ให เกิดความเสียหาย
แกอุตสาหกรรมทองเที่ยว แหลงทองเที่ยว หรือนักทองเที่ยว
            มาตรา ๒๕ ผู ป ระกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วต อ งปฏิ บั ติ ต ามระเบี ย บที่ ค ณะกรรมการกํ า หนด
ตามมาตรา ๑๒ (๓)
            มาตรา ๒๖ ในการโฆษณาหรือชี้ชวนเกี่ยวกับรายการนําเที่ยว ใหผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว
จัดทําเปนเอกสารซึ่งอยางนอยตองมีรายละเอียด ดังตอไปนี้
            (๑) ชื่อผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว และสถานที่และเลขที่ใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยว
            (๒) ระยะเวลาที่ใชในการนําเที่ยว
หนา ๙
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก                         ราชกิจจานุเบกษา                       ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑

          (๓) คาบริการและวิธีการชําระคาบริการ
          (๔) ลักษณะและประเภทของยานพาหนะที่ใชในการเดินทาง
          (๕) จุดหมายปลายทางและที่แวะพัก รวมทั้งสถานที่สําคัญในการนําเที่ยว
          (๖) ลักษณะและประเภทของที่พัก และจํานวนครั้งของอาหารที่จัดให
          (๗) จํานวนมัคคุเทศกหรือผูนําเที่ยวในกรณีที่จัดใหมีมัคคุเทศกหรือผูนําเที่ยว
          (๘) จํานวนขั้นต่ําของนักทองเที่ยวสําหรับการนําเที่ยว ในกรณีมีเงื่อนไขวาตองมีนักทองเที่ยว
ไมนอยกวาจํานวนที่กําหนด
          มาตรา ๒๗ การเปลี่ ย นแปลงรายการนํ า เที่ ย วให ผิ ด ไปจากที่ ไ ด โ ฆษณาหรื อ ชี้ ช วนไว
ตามมาตรา ๒๖ ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวตองแจงใหนักทองเที่ยวทราบกอนรับชําระเงินคาบริการ
          การเปลี่ ย นแปลงรายการนํ า เที่ ย วภายหลั ง ที่ นั ก ท อ งเที่ ย วชํ า ระเงิ น ค า บริ ก ารแล ว
หากนักทองเที่ยวไมประสงคจะเดิน ทาง ผู ประกอบธุ รกิจนําเที่ย วตองคืน เงิน ที่รับชําระแลวใหแ ก
นักทองเที่ยวโดยไมชักชา และจะหักคาใชจายใด ๆ ไมได
          มาตรา ๒๘ ในกรณีที่นักทองเที่ยวชําระเงินคาบริการแลวไมวาทั้งหมดหรือบางสวนถามีเหตุ
ที่ทําใหนักทองเที่ยวไมสามารถเดิน ทางไดเฉพาะตัว หรือมีเหตุใ หตองยกเลิกการนําเที่ยวตามที่ได
โฆษณาไว ทั้งนี้ โดยมิใชความผิดของผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว ใหผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวจายเงินคืน
ใหแกนักทองเที่ยวไมนอยกวาอัตราตามหลักเกณฑที่คณะกรรมการประกาศกําหนด
          ในกรณีตามวรรคหนึ่ง ถาการยกเลิกการนําเที่ยวเกิดจากกรณีมีนักทองเที่ยวไมครบจํานวน
ตามที่กําหนดในมาตรา ๒๖ (๘) หรือเกิดจากเหตุใด ๆ อันเปนความผิดของผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว
ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวตองคืนเงินทั้งหมดใหแกนักทองเที่ยว
          มาตรา ๒๙ ในระหวางการนําเที่ยว ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวจะเปลี่ยนแปลงรายการนําเที่ยว
ไมได เวนแตจะไดรับความยินยอมจากนักทองเที่ยวหรือเปนเหตุสุดวิสัย
          การเปลี่ยนแปลงรายการนําเที่ยวตามวรรคหนึ่ง ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวตองจายเงินคาบริการ
คืน ใหแกนักทองเที่ยวตามสัดสวน เวน แตผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวจะพิสูจนไดวาการเปลี่ยนแปลง
รายการนั้นทําใหตนมีคาใชจายเทาหรือสูงกวาเดิม
          มาตรา ๓๐ ผู ป ระกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วจะเรี ย กเก็ บ ค า บริ ก ารอื่ น ใดนอกจากที่ ร ะบุ ไ ว
ในมาตรา ๒๖ (๓) หรือที่ตกลงกันไวลวงหนาไมได
หนา ๑๐
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก                              ราชกิจจานุเบกษา                          ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑

               ในกรณีที่ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวหรือมัคคุเทศกชี้ชวนใหนักทองเที่ยวไปในสถานที่หรือทํา
กิจกรรมใดนอกเหนือจากที่ระบุไวในเอกสารโฆษณาหรือชี้ชวน ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวหรือมัคคุเทศก
ตองแจงคาบริการของตนและคาบริการที่ตองจายเนื่องจากการเขาไปในสถานที่หรือทํากิจกรรมนั้น
ใหนักทองเที่ยวทราบลวงหนา และจะเรียกเก็บคาบริการเกินที่แจงไวมิได
               มาตรา ๓๑ หามไมใหผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวจัดบริการนําเที่ยวใหแกนักทองเที่ยวที่เดินทาง
มาจากตางประเทศโดยไมไดรับคาบริการหรือรับคาบริการในอัตราที่เห็นไดวาไมเพียงพอกับคาใชจาย
ตามหลักเกณฑที่คณะกรรมการประกาศกําหนด
               มาตรา ๓๒ หามไมใหผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวมอบหมายใหมัคคุเทศก ผูนําเที่ยวหรือบุคคล
อื่น ใด นํ า นั กท อ งเที่ ย วในความรั บ ผิ ด ชอบของตนไปท อ งเที่ ย ว โดยเรี ย กเก็บ เงิ น จากมั คคุ เ ทศก
ผูนํ า เที่ ย ว หรือ บุ ค คลอื่ น นั้ น หรื อ โดยให บุ คคลดั งกล าวรั บ ผิด ชอบค า ใช จ ายเกี่ ยวกั บค า เดิน ทาง
คาที่พัก คาอาหาร หรือคาอํานวยความสะดวกอื่นใดของนักทองเที่ยว ไมวาทั้งหมดหรือบางสวน
               มาตรา ๓๓ ในการจัดใหมีมัคคุเทศกหรือผูนําเที่ยวเดิน ทางไปกับนักทองเที่ยวผูประกอบ
ธุรกิ จนํ าเที่ย วต อ งใช มัค คุเ ทศกซึ่ งไดรั บใบอนุญ าตเปน มัค คุเ ทศกห รือ ผูนํ าเที่ย วซึ่ งไดขึ้ นทะเบียน
ตามพระราชบัญญัตินี้ แลวแตกรณี
               ในการเดินทางไปปฏิบัติหนาที่ของมัคคุเทศกหรือผูนําเที่ยวตามวรรคหนึ่ง ใหถือวาเปนการ
กระทําในทางการที่จางของผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว
               มาตรา ๓๔ ผูประกอบธุรกิ จนํา เที่ย วตองจัดใหมีก ารประกั น อุบัติ เหตุ ใ หแ กนัก ทองเที่ย ว
มัคคุเทศกและผูนําเที่ยวในระหวางเดินทางทองเที่ยว ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑที่คณะกรรมการประกาศ
กําหนด
               มาตรา ๓๕ ใหผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวชําระคาธรรมเนียมประกอบธุรกิจนําเที่ยวทุกสองป
ตามหลักเกณฑ วิธีการ และอัตราที่กําหนดในกฎกระทรวง
               ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวผูใดไมชําระคาธรรมเนียมภายในระยะเวลาที่กําหนดใหเสียเงินเพิ่ม
อีกรอยละสองตอเดือน และถาพน สามเดือนแลวยังมิไดชําระ ใหน ายทะเบียนสั่งพักใชใ บอนุญาต
ดังกลาวจนกวาจะชําระคาธรรมเนียมและเงินเพิ่ม ซึ่งตองไมเกินหกเดือนนับแตวันสั่งพักใชใบอนุญาต
               เมื่อพนกําหนดหกเดือนแลว ถาผูถูกสั่งพักใชใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวยังมิไดชําระ
คาธรรมเนียมและเงินเพิ่มตามวรรคสอง ใหนายทะเบียนสั่งเพิกถอนใบอนุญาต
หนา ๑๑
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก                             ราชกิจจานุเบกษา                          ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑

            มาตรา ๓๖ ใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวสิ้นสุดลง เมื่อผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว
            (๑) ตายหรือสิ้นสุดความเปนนิติบุคคล
            (๒) เลิกประกอบกิจการตามมาตรา ๓๘ หรือ
            (๓) ถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวตามมาตรา ๔๖
            มาตรา ๓๗ ในกรณี ที่ ใ บอนุ ญ าตประกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วสิ้ น สุ ด ลงตามมาตรา ๓๖ (๒)
หรือ (๓) ใหผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวมีหนาที่ดําเนินการตามขอผูกพันที่มีอยูกับนักทองเที่ยวตอไปเทาที่
จําเปน ซึ่งตองไมเกินหกเดือนนับแตวันที่ใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวสิ้นสุดลง
            มาตรา ๓๘ ผู ป ระกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วซึ่ ง ประสงค จ ะเลิ ก ประกอบกิ จ การ ให แ จ ง ให
นายทะเบียนทราบ พรอมทั้งสงคืนใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวแกนายทะเบียนภายในสิบหาวัน
นับแตวันที่เลิกประกอบกิจการ
            การเลิ ก ประกอบกิ จ การไม เ ป น เหตุ ใ ห ผู ป ระกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วพ น จากความรั บ ผิ ด ที่ มี
ตอนักทองเที่ยวตามพระราชบัญญัตินี้
            มาตรา ๓๙ หลักประกันที่ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยววางไวตามมาตรา ๑๘ ไมอยูในความรับผิด
แหงการบังคับคดีตราบเทาที่ผู ประกอบธุรกิจนํ าเที่ยวยังมิได เลิกประกอบกิจ การ แตยังไมพน จาก
ความรับผิดตามพระราชบัญญัตินี้
            ในกรณี เ ลิ ก ประกอบกิ จ การ ผู ป ระกอบธุ รกิ จ นํ า เที่ ย วจะขอรั บ คื น หลั ก ประกั น ที่ ว างไว
พรอมทั้งดอกผลไดก็ตอเมื่อไดสงคืนใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวตามมาตรา ๓๘ และชําระหนี้
ที่เกิดขึ้น ตามพระราชบัญญัตินี้เสร็จสิ้นแลว แตถาหนี้ที่เหลือมีจํานวนนอยกวาหลักประกัน ที่วางไว
ใหนายทะเบียนมีอํานาจสั่งใหลดหลักประกันลงใหเหลือเทากับหนี้ที่จะพึงรับผิดชอบได
            ในกรณี ที่ น ายทะเบี ย นได แ จ ง ให ผู ป ระกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วมาขอรั บ หลั ก ประกั น คื น แล ว
แตผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวไมมารับหลักประกันคืนภายในสองปนับแตวันที่ไดรับแจง ใหหลักประกัน
ดังกลาวตกเปนของกองทุน
            มาตรา ๔๐ เมื่อ มีผู รอ งเรี ยนหรื อปรากฏต อนายทะเบีย นว านั กทอ งเที่ย วผู ใ ดไดรั บความ
เสียหายจากการที่ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวไมปฏิบัติตามขอตกลงเกี่ยวกับธุรกิจนําเที่ยวหรือตามที่ได
โฆษณาหรื อชี้ ช วนไว หรื อตามพระราชบัญ ญัติ นี้ ให น ายทะเบี ยนดํ าเนิน การสอบหาข อ เท็ จจริ ง
และวินิจฉัยโดยเร็วและเปนธรรม ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่คณะกรรมการกําหนด
หนา ๑๒
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก                              ราชกิจจานุเบกษา                            ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑

            ในการดําเนินการสอบหาขอเท็จจริงและวินิจฉัยตามวรรคหนึ่ง ใหนายทะเบียนรับฟงคําชี้แจง
ของผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวซึ่งถูกกลาวหาประกอบดวย
            มาตรา ๔๑ เมื่อปรากฏผลจากการสอบหาขอเท็จจริงตามมาตรา ๔๐ วานักทองเที่ยวผูใ ด
ไดรับความเสี ยหายจากผูประกอบธุรกิจนํา เที่ยวรายใดและเปน จํานวนเงิน เทาใด ใหน ายทะเบีย น
สั่งจายเงินจากกองทุนเพื่อชดเชยความเสียหายนั้นไปพลางกอน และแจงใหผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวนั้น
สงคืนเงินชดใชกองทุนภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดรับแจง
            หลักเกณฑ วิธีการ และอัตราการจายเงิน ชดเชยตามวรรคหนึ่ง ใหเปน ไปตามระเบียบที่
คณะกรรมการกําหนด
            ผู ป ระกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วผู ใ ดไม ส ง เงิ น ชดใช ก องทุ น ภายในกํ า หนดเวลาตามวรรคหนึ่ ง
ใหนายทะเบียนหักเงินจํานวนดังกลาวจากหลักประกันที่วางไวตามมาตรา ๑๘ สงคืนกองทุน
            มาตรา ๔๒ ในกรณีที่หลักประกันที่ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยววางไวตามมาตรา ๑๘ ลดลง
เพราะถูกใชจายไปตามพระราชบัญญัตินี้ ใหนายทะเบียนสั่งเปนหนังสือใหผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว
วางหลักประกันเพิ่มจนครบจํานวนเงินที่กําหนดภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดรับคําสั่ง
            ผู ป ระกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วผู ใ ดไม ว างหลั ก ประกั น เพิ่ ม ภายในกํ า หนดเวลาตามวรรคหนึ่ ง
ตองชําระเงินเพิ่มอีกรอยละสองตอเดือนจนกวาจะวางหลักประกันเพิ่มจนครบถวน
            มาตรา ๔๓ นั ก ท อ งเที่ ย วหรื อ ผู ป ระกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วซึ่ ง ไม เ ห็ น ด ว ยกั บ คํ า สั่ ง ของ
นายทะเบียนตามมาตรา ๔๑ มีสิทธิอทธรณคําสั่งดังกลาวเปนหนังสือตอคณะกรรมการภายในสามสิบวัน
                                               ุ
นับแตวันที่ไดรับแจงคําสั่งจากนายทะเบียน
            ใหคณะกรรมการพิจารณาและวินิจฉัยอุทธรณตามวรรคหนึ่งใหแลวเสร็จภายในสามสิบวัน
นับแตวันที่ไดรับหนังสืออุทธรณ
            คําวินิจฉัยของคณะกรรมการใหเปนที่สุด
            การอุทธรณคําสั่งของนายทะเบียนตามวรรคหนึ่งไมเปนเหตุใหชะลอการสงเงินชดใชกองทุน
และการหัก เงิ น จากหลัก ประกัน สง คืน กองทุน ตามมาตรา ๔๑ และการวางหลัก ประกัน เพิ่ ม ตาม
มาตรา ๔๒ เวนแตคณะกรรมการจะผอนผันใหเปนการเฉพาะราย
            ในกรณีที่ นั ก ท องเที่ ยวตาย ให ทายาทหรื อ ผู มีส ว นไดเ สี ย มีสิ ท ธิ อุ ทธรณ ได เ ช น เดี ย วกั บ
นักทองเที่ยว
หนา ๑๓
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก                              ราชกิจจานุเบกษา                           ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑

           มาตรา ๔๔ ในการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ ใหคณะกรรมการมีอํานาจดังตอไปนี้
           (๑) กรณี ที่ จํ า นวนเงิ น ที่ สั่ ง จ า ยจากกองทุ น ต่ํ า กว า ความเสี ย หายที่ นั ก ท อ งเที่ ย วได รั บ
ใหคณะกรรมการสั่งใหนายทะเบียนจายเงินจากกองทุนเพิ่มเติมใหแกนักทองเที่ยวตามที่คณะกรรมการ
กําหนด และแจ งใหผูป ระกอบธุ รกิจนํา เที่ยวสง เงิน จํานวนดังกลาวชดใชกองทุ น ภายในสิบหาวั น
นับแตวันที่ไดรับแจง และใหนําความในมาตรา ๔๑ วรรคสาม และมาตรา ๔๒ มาใชบังคับโดยอนุโลม
เว น แต ค ณะกรรมการจะเห็ น ว า ความเสี ย หายที่ ต อ งจ า ยเพิ่ ม เติ ม นั้ น มิ ใ ช เ ป น ความผิ ด ของ
ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว จะไมสั่งใหผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวสงเงินจํานวนดังกลาวชดใชกองทุนก็ได
           (๒) กรณีที่ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวไมตองรับผิดในความเสียหายนั้นหรือรับผิดเพียงบางสวน
และเป น กรณี ที่ ผู ป ระกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วได จ า ยเงิ น ชดใช ก องทุ น ตามคํ า สั่ ง ของนายทะเบี ย น
ตามมาตรา ๔๑ แลว หรือเปนกรณีที่นายทะเบียนไดหักเงินจากหลักประกันที่วางไวตามมาตรา ๑๘
สงคืนกองทุนและผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวไดวางหลักประกันเพิ่มจนครบถวนแลว ใหคณะกรรมการ
สั่งใหนายทะเบียนจายเงินกองทุนคืนใหแกผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวทั้งหมดหรือตามสวนที่ไมตองรับผิด
แลวแตกรณี
           ให สํ า นั ก งานแจ ง คํ า วิ นิ จ ฉั ย ของคณะกรรมการให ผู ซึ่ ง เกี่ ย วข อ งทราบภายในสิ บ ห า วั น
นับแตวันที่มีคําวินิจฉัย
           มาตรา ๔๕ ใหน ายทะเบียนมีอํานาจสั่งพักใชใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวไดไมเกิน
ครั้งละหกเดือน เมื่อปรากฏวาผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว
           (๑) ฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนดตามมาตรา ๑๒ (๓)
           (๒) ฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรา ๓๐ มาตรา ๓๑ มาตรา ๓๒ หรือมาตรา ๓๓
           (๓) ไม ชํา ระค าธรรมเนี ย มประกอบธุร กิ จนํ า เที่ ยวและเงิ น เพิ่ ม จนพน กํา หนดสามเดื อ น
นับแตวันที่กําหนดใหชําระคาธรรมเนียมตามมาตรา ๓๕ วรรคสอง
           (๔) ไมวางหลักประกันเพิ่มจนครบถวนเกินหกเดือนนับแตวันครบกําหนดเวลาตามมาตรา ๔๒
หรือมาตรา ๔๔ (๑) หรือ
           (๕) ฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามคําสั่งของนายทะเบียนหรือพนักงานเจาหนาที่ซึ่งสั่งตามมาตรา ๗๖
หนา ๑๔
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก                         ราชกิจจานุเบกษา                        ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑

          ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวซึ่งถูกสั่งพักใชใบอนุญาตจะประกอบธุรกิจนําเที่ยวในระหวางถูกสั่ง
พักใชใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวไมได เวนแตเปนกรณีที่นายทะเบียนอนุญาตใหดําเนินการได
เฉพาะกรณีเพื่อปองกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับนักทองเที่ยวหรือธุรกิจนําเที่ยว
          มาตรา ๔๖ ให น ายทะเบี ย นมี อํ า นาจสั่ ง เพิ ก ถอนใบอนุ ญ าตประกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วได
เมื่อปรากฏวาผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว
          (๑) ขาดคุ ณ สมบั ติต ามมาตรา ๑๖ (๑) หรื อ มาตรา ๑๗ (๑) หรื อ มี ลั กษณะต อ งห า ม
ตามมาตรา ๑๖ (๒) (ก) (ข) (ง) (จ) หรือ (ฉ) หรือมาตรา ๑๗ (๒)
          (๒) ไม ชํ า ระค า ธรรมเนี ย มประกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วและเงิ น เพิ่ ม จนพ น กํ า หนดหกเดื อ น
นับแตวันที่ถูกสั่งพักใชใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวตามมาตรา ๓๕ วรรคสาม
          (๓) เคยถูกสั่งพักใชใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวตามมาตรา ๔๕ มาแลว และภายใน
หนึ่งปนับแตวันที่ถูกสั่งพักใชใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวนั้น มีกรณีที่อาจถูกสั่งพักใชใบอนุญาต
ประกอบธุรกิจนําเที่ยวอีก ไมวาจะเปนเหตุเดียวกันหรือไมก็ตาม
          (๔) ประพฤติหรือปฏิบัติการใดอั น เปน การฝา ฝน พระราชบัญ ญัตินี้ หรือก อ ใหเกิดความ
เสียหายแกนักทองเที่ยวหรือธุรกิจนําเที่ยวอยางรายแรง และนายทะเบียนไดตักเตือ นและสั่งระงับ
หรือใหแกไขแลว แตไมดําเนินการ หรือ
          (๕) ตองคําพิพากษาอันถึงที่สุดวากระทําความผิดเกี่ยวกับการคา หรือความผิดฐานชิงทรัพย
ปลนทรัพย ฉอโกง โกงเจาหนี้ หรือยักยอกตามประมวลกฎหมายอาญา หรือความผิดฐานฉอโกง
ประชาชนตามกฎหมายวาดวยการกูยืมเงินที่เปนการฉอโกงประชาชน
          มาตรา ๔๗ ใหนายทะเบียนสงหนังสือแจงคําสั่งพักใชหรือเพิกถอนใบอนุญาตประกอบธุรกิจ
นําเที่ยวตามมาตรา ๔๕ หรือมาตรา ๔๖ แลวแตกรณี ใหผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวทราบภายในหาวัน
นับแตวันที่มีคําสั่งดังกลาว
          การแจงตามวรรคหนึ่ง นายทะเบียนจะสงทางไปรษณียลงทะเบียนตอบรับ ทางโทรสาร
ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส หรือวิธีอื่นใดตามที่คณะกรรมการกําหนดก็ได
          มาตรา ๔๘ ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวซึ่งถูกสั่งพักใชหรือเพิกถอนใบอนุญาตประกอบธุรกิจ
นําเที่ยวตามมาตรา ๔๕ หรือมาตรา ๔๖ แลวแตกรณี มีสิท ธิอุทธรณคําสั่งดัง กลาวเปน หนังสื อ
ตอคณะกรรมการภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับแจงคําสั่งจากนายทะเบียน
หนา ๑๕
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก                          ราชกิจจานุเบกษา                        ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑

         ใหคณะกรรมการพิจารณาและวินิจฉัยอุทธรณตามวรรคหนึ่งใหแลวเสร็จภายในสามสิบวัน
นับแตวันที่ไดรับหนังสืออุทธรณ
         คําวินิจฉัยของคณะกรรมการใหเปนที่สุด

                                                  หมวด ๓
                                                  มัคคุเทศก

          มาตรา ๔๙ ผูใ ดประสงค จ ะเป น มั ค คุเ ทศก ใ หยื่ น คํ า ขอรั บ ใบอนุ ญ าตเป น มั ค คุ เทศก จ าก
นายทะเบียน
          การขอรั บ ใบอนุ ญาต การออกใบอนุญ าต การต ออายุ ใ บอนุญ าต และการออกใบแทน
ใบอนุญาต ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง
          ความในมาตรานี้มิใ หใ ชบังคับแกเจาหนาที่หรือพนักงานของสวนราชการหรือหนวยงาน
ของรัฐที่ปฏิบัติหนาที่เปนครั้งคราวทํานองเดียวกับมัคคุเทศกหรือนักเรียนนักศึกษาซึ่งมีหนังสือรับรอง
จากสถานศึกษา
          มาตรา ๕๐ ผูขอรับใบอนุญาตเปนมัคคุเทศกตอง
          (๑) มีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้
                (ก) มีอายุไมต่ํากวาสิบแปดปบริบูรณในวันยื่นคําขอรับใบอนุญาตเปนมัคคุเทศก
                (ข) มีสัญชาติไทย
                (ค) สํ า เร็ จ การศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี ห รื อ เที ย บเท า ในสาขามั ค คุ เ ทศก ห รื อ สาขา
การทอ งเที่ยวที่มีวิช าเกี่ยวกั บมัคคุเ ทศก หรือสํ าเร็จการศึกษาระดับ อนุปริญ ญาในสาขามัค คุเทศก
หรือสาขาการทองเที่ยวที่มีวิชาเกี่ยวกับมัคคุเทศกไมนอยกวาที่คณะกรรมการกําหนด หรือไดรับวุฒิบัตร
หรือหนังสือรับรองวาไดผานการฝกอบรมวิชามัคคุเทศกตามหลักสูตรที่คณะกรรมการกําหนด
          (๒) ไมมีลักษณะตองหาม ดังตอไปนี้
                (ก) เปนโรคพิษสุราเรื้อรังหรือติดยาเสพติดใหโทษ หรือเปนโรคติดตอที่คณะกรรมการ
กําหนด
                 (ข) เปนผูอยูในระหวางถูกสั่งพักใชใบอนุญาตเปนมัคคุเทศกหรือใบอนุญาตประกอบ
ธุรกิจนําเที่ยว
หนา ๑๖
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก                           ราชกิจจานุเบกษา                         ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑

                   (ค) เคยถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวตามมาตรา ๔๖ (๑) (๒) (๓)
หรือ (๔) หรือใบอนุญาตเปนมัคคุเทศกตามมาตรา ๖๓ (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) และยังไมพนกําหนด
หาปนับถึงวันยื่นคําขอรับใบอนุญาตเปนมัคคุเทศก
                   (ง) เคยถู ก เพิ ก ถอนใบอนุ ญ าตประกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วตามมาตรา ๔๖ (๕)
หรือใบอนุญาตเปนมัคคุเทศกตามมาตรา ๖๓ (๕)
                   (จ) เคยถูกเพิกถอนทะเบียนเปน ผูนําเที่ยวมาแลวยังไมถึงหาปนับถึงวัน ยื่น คําขอรับ
ใบอนุญาตเปนมัคคุเทศก
              มาตรา ๕๑ เพื่อประโยชนในการสงเสริมการทองเที่ยวในทองถิ่นหรือชุมชนเปนการเฉพาะ
เมื่อคณะกรรมการไดประกาศเขตพื้นที่ในทองถิ่นหรือชุมชนใดตามมาตรา ๑๒ (๔) แลว รัฐมนตรี
จะประกาศยกเว น คุ ณ สมบัติ ต ามมาตรา ๕๐ (๑) (ก) หรื อ (ค) สํ า หรั บ ผู ยื่ น คํ า ขอรั บ ใบอนุ ญ าต
เป น มั ค คุ เทศก ซึ่ ง จะให บ ริ ก ารเฉพาะในเขตพื้ น ที่นั้ น รวมตลอดทั้ งยกเว น หรื อ ลดค า ธรรมเนี ย ม
ใบอนุญาตเปนมัคคุเทศกใหดวยก็ได
              ในกรณีท่ี มีมัค คุเ ทศกต ามวรรคหนึ่ งทํา หนา ที่มัค คุเ ทศกใ นเขตพื้ น ที่ต ามมาตรา ๑๒ (๔)
หามมิใหมัคคุเทศกอื่นเขาไปทําหนาที่มัคคุเทศกในเขตพื้นที่นั้น
              มาตรา ๕๒ เมื่อมีผูยื่น คําขอรับใบอนุญาตเปน มัคคุเ ทศก ใหเปน หนาที่ของนายทะเบียน
หรื อ ผูซึ่ ง นายทะเบี ยนมอบหมายตรวจสอบความครบถ วนของเอกสารหลั ก ฐาน และการปฏิ บั ติ
ตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๔๙ วรรคสอง ในกรณีที่พบวา
เอกสารหรือหลักฐานใดไมครบถวนหรือยังมิไดปฏิบัติใหถูกตอง ใหแจงใหผูยื่นคําขอรับใบอนุญาต
เปนมัคคุเทศกทราบทันที
              มาตรา ๕๓ เมื่ อ นายทะเบี ย นพิ จ ารณาเห็ น ว า ผู ยื่ น คํ า ขอรั บ ใบอนุ ญ าตเป น มั ค คุ เ ทศก
ตามมาตรา ๔๙ ผูใดมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๕๐ หรือผูยื่นคําขอรับใบอนุญาต
เปนมัคคุเทศกซึ่งจะใหบริการเฉพาะในเขตทองถิ่นหรือชุมชนผูใดไดรับยกเวนคุณสมบัติตามมาตรา ๕๑
และได ป ฏิ บั ติ ต ามหลัก เกณฑ แ ละวิ ธี ก ารเกี่ ย วกั บ การขอรั บใบอนุ ญ าตเป น มั ค คุเ ทศก และชํ า ระ
คา ธรรมเนี ยมใบอนุญ าตเป น มั ค คุเ ทศก ตามอัต ราที่ กํา หนดในกฎกระทรวงแลว ใหน ายทะเบี ย น
ออกใบอนุญาตเปน มัค คุเ ทศก ใ หผูยื่น คําขอรั บใบอนุญาตผู นั้น ภายในสามสิบวัน นั บ แตวัน ที่ไดรั บ
คําขอรับใบอนุญาต
หนา ๑๗
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก                          ราชกิจจานุเบกษา                       ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑

             มาตรา ๕๔ เมื่ อนายทะเบี ยนพิจ ารณาเห็ น ว าผู ยื่น คํา ขอรับ ใบอนุ ญาตเปน มัค คุเ ทศกต าม
มาตรา ๔๙ ผูใดขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๕๐ หรือผูยื่นคําขอรับใบอนุญาตเปน
มั ค คุ เ ทศก ซึ่ ง จะให บ ริ ก ารเฉพาะในเขตท อ งถิ่ น หรื อ ชุ ม ชนผู ใ ดไม ไ ด รั บ ยกเว น ตามมาตรา ๕๑
หรือไมชําระคาธรรมเนียมภายในเวลาที่กําหนด ใหนายทะเบียนมีหนังสือ แจงเหตุแ หงการไมออก
ใบอนุญาตใหผูยื่นคําขอรับใบอนุญาตผูนั้นทราบภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับคําขอรับใบอนุญาต
             มาตรา ๕๕ ในกรณีที่น ายทะเบียนมีคําสั่งไมออกใบอนุญาตเปนมัคคุเทศกตามมาตรา ๕๔
ใหผูยื่น คําขอรับใบอนุญาตเปน มัคคุเทศกมีสิทธิอุทธรณคําสั่งดังกลาวเปนหนังสือตอคณะกรรมการ
ภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับแจงคําสั่งจากนายทะเบียน
             ใหคณะกรรมการพิจารณาและวินิจฉัยอุทธรณตามวรรคหนึ่งใหแลวเสร็จภายในสามสิบวัน
นับแตวันที่ไดรับหนังสืออุทธรณ
             คําวินิจฉัยของคณะกรรมการใหเปนที่สุด
             มาตรา ๕๖ ใบอนุญาตเปนมัคคุเทศกใหมีอายุหาปนับแตวันที่ออกใบอนุญาต และอาจตออายุ
ไดตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง
             ใหนําความในมาตรา ๕๒ มาตรา ๕๓ มาตรา ๕๔ และมาตรา ๕๕ มาใชบังคับกับการ
ตออายุใบอนุญาตเปนมัคคุเทศกดวยโดยอนุโลม
             มาตรา ๕๗ มาตรฐานในการปฏิบัติหนาที่ การแตงกาย การรักษามารยาท ความประพฤติ
และการตรวจสุขภาพของมัคคุเทศก ใหเปนไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด
             มัคคุเทศกตองปฏิบัติตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนดตามวรรคหนึ่ง และตองติดบัตร
ประจําตัวตลอดเวลาที่ทําหนาที่มัคคุเทศก
             แบบบัตร การขอมีบัตร การออกบัตร และลักษณะการติดบัตรประจําตัวมัคคุเทศกตามวรรคสอง
ใหเปนไปตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด
             มาตรา ๕๘ ในการรับทํางานเปนมัคคุเทศก หามไมใหมัคคุเทศกจายเงิน หรือใหประโยชน
อื่น ใดแกผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวหรือบุคคลอื่น ใด หรือยอมตนเขารับผิดชอบในคาใชจายทั้งหมด
หรือบางสวนเพื่อใหไดมาซึ่งการนํานักทองเที่ยวไปทองเที่ยว
             มาตรา ๕๙ มัคคุเทศกตองปฏิบัติหนาที่ตามรายการนําเที่ยวที่ไดตกลงไวกับผูประกอบธุรกิจ
นําเที่ยว และจะดําเนินการใดใหเกิดความเสียหายแกนักทองเที่ยวมิได
หนา ๑๘
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก                                   ราชกิจจานุเบกษา                              ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑

           มาตรา ๖๐ มัคคุเทศกตองไมใหหรือยิน ยอมใหบุคคลอื่นซึ่งไมมีใบอนุญาตเปน มัคคุเ ทศก
ทําหนาที่เปนมัคคุเทศกแทนตน
           มาตรา ๖๑ ใบอนุญาตเปนมัคคุเทศกสิ้นสุดลง เมื่อมัคคุเทศก
           (๑) ตาย
           (๒) ไมไดรับการตออายุใบอนุญาตเปนมัคคุเทศกตามมาตรา ๕๖ หรือ
           (๓) ถูกเพิกถอนใบอนุญาตเปนมัคคุเทศกตามมาตรา ๖๓
           มาตรา ๖๒ ใหน ายทะเบียนมีอํ านาจสั่งพั กใชใ บอนุญาตเป น มัคคุเทศกไดไมเ กิน ครั้งละ
หกเดือน เมื่อปรากฏวามัคคุเทศก
           (๑) ฝ า ฝ น หรื อ ไม ป ฏิ บั ติ ต ามระเบี ย บที่ ค ณะกรรมการกํ า หนดตามมาตรา ๑๒ (๓)
หรือมาตรา ๕๗
           (๒) ฝาฝนหรือไมปฏิบติตามมาตรา ๕๑ หรือมาตรา ๕๘
                                              ั
           (๓) ฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามคําสั่งของนายทะเบียนหรือพนักงานเจาหนาที่ซึ่งสั่งตามมาตรา ๗๖
           มั ค คุ เ ทศก ซึ่ ง ถู ก สั่ ง พั ก ใช ใ บอนุ ญ าตจะปฏิ บั ติ ห น า ที่ มั ค คุ เ ทศก ใ นระหว า งถู ก สั่ ง พั ก ใช
ใบอนุญาตเปนมัคคุเ ทศกไมได เวนแตเปน กรณีที่นายทะเบียนอนุญาตใหดําเนินการไดเฉพาะกรณี
เพื่อปองกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นแกนักทองเที่ยวหรือธุรกิจนําเที่ยว
           มาตรา ๖๓ ใหน ายทะเบียนมีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตเปนมัคคุเทศกไดเมื่อปรากฏวา
มัคคุเทศก
           (๑) ขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๕๐ (๑) หรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๕๐ (๒) (ก) (ค)
(ง) และ (จ)
           (๒) เคยถู กสั่ งพักใช ใ บอนุญาตเปน มัคคุ เทศก ตามมาตรา ๖๒ มาแลว และภายในหนึ่ งป
นับแตวันที่ถูกสั่งพักใชใบอนุญาตเปนมัคคุเทศกนั้น มีกรณีที่อาจถูกสั่งพักใชใบอนุญาตเปนมัคคุเทศกอก                             ี
ไมวาจะเปนเหตุเดียวกันหรือไมก็ตาม
           (๓) ประพฤติ หรือปฏิ บัติการใดอัน เปน การฝาฝน พระราชบัญญัตินี้ หรือ กอ ใหเ กิดความ
เสียหายแกนักทองเที่ยวหรือธุรกิจนําเที่ยวอยางรายแรง และนายทะเบียนไดตักเตือ นและสั่งระงับ
หรือใหแกไขแลว แตไมดําเนินการ
           (๔) เปนบุคคลวิกลจริตหรือจิตฟนเฟอนไมสมประกอบ หรือ
หนา ๑๙
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก                            ราชกิจจานุเบกษา                         ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑

           (๕) ต อ งคํ า พิ พ ากษาอั น ถึ ง ที่ สุ ด ว า กระทํ า ความผิ ด ฐานชิ ง ทรั พ ย ปล น ทรั พ ย ฉ อ โกง
โกงเจาหนี้ หรือยักยอกตามประมวลกฎหมายอาญา หรือความผิดฐานฉอโกงประชาชนตามกฎหมาย
วาดวยการกูยืมเงินที่เปนการฉอโกงประชาชน
           ใหนําความในมาตรา ๔๗ และมาตรา ๔๘ มาใชบังคับกับการแจงคําสั่งและการอุทธรณ
คําสั่งดวยโดยอนุโลม

                                                    หมวด ๔
                                                    ผูนําเที่ยว

            มาตรา ๖๔ ผูใดประสงคจะเปนผูนําเที่ยวตองขึ้นทะเบียนเปนผูนําเที่ยวไวกับสํานักงานตาม
หลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง
            กฎกระทรวงตามวรรคหนึ่งใหกําหนดคุณสมบัติของผูนําเที่ยวไวดวย
            ผูซึ่ งไดรั บใบอนุญ าตเป น มั คคุ เ ทศก แ ละมี คุ ณ สมบั ติต ามวรรคสอง ใหป ฏิบั ติห นา ที่เ ป น
ผูนําเที่ยวไดโดยไมตองขึ้น ทะเบียนตามวรรคหนึ่ ง แตใ หแ จงใหน ายทะเบียนทราบเพื่อประโยชน
ดานขอมูลของสํานักงาน
            มาตรา ๖๕ ในการจัดใหนักทองเที่ยวเดินทางไปตางประเทศ ถาผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว
จัดใหมีผูนําเที่ยวเดินทางไปดวย ผูนําเที่ยวนั้นตองเปนผูซึ่งไดขึ้นทะเบียนไวกับสํานักงานตามมาตรา ๖๔
            นอกจากหนาที่ในการนําเที่ยวและอํานวยความสะดวกแลว ผูนําเที่ยวมีหนาที่ตองดําเนินการ
ใหเปนไปตามรายการนําเที่ยวตามมาตรา ๒๖ หรือมาตรา ๒๙ แลวแตกรณีดวย
            มาตรา ๖๖ มาตรฐานในการปฏิบั ติหน าที่ การแต งกาย การรักษามารยาท และความ
ประพฤติของผูนําเที่ยว ใหเปนไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด
            ผูนําเที่ยวตองปฏิบัติตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนดตามวรรคหนึ่ง
            มาตรา ๖๗ ในกรณีที่ปรากฏวาผูนําเที่ยวประพฤติหรือปฏิบัติการใดอันเปนการฝาฝนระเบียบ
ที่ออกตามมาตรา ๖๖ หรือกระทําการใด ๆ อัน กอ ใหเกิดความเสียหายแกนักทองเที่ยวหรือธุรกิจ
นําเที่ยวอยางรายแรง ใหนายทะเบียนมีอํานาจตักเตือนและสั่งใหระงับหรือแกไขการกระทํานั้นได
Law_p
Law_p
Law_p
Law_p
Law_p
Law_p
Law_p
Law_p
Law_p

More Related Content

Similar to Law_p

พ.ร.บ.ภาพยนตร์และวีดีทัศน์ พ.ศ.2551
พ.ร.บ.ภาพยนตร์และวีดีทัศน์ พ.ศ.2551พ.ร.บ.ภาพยนตร์และวีดีทัศน์ พ.ศ.2551
พ.ร.บ.ภาพยนตร์และวีดีทัศน์ พ.ศ.2551Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
พรบ.ลูกเสือ
พรบ.ลูกเสือพรบ.ลูกเสือ
พรบ.ลูกเสือwatdang
 
พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์. พ.ศ. ๒๕๕๑
พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์. พ.ศ. ๒๕๕๑พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์. พ.ศ. ๒๕๕๑
พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์. พ.ศ. ๒๕๕๑Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
พระราชบัญัญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ2540
พระราชบัญัญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ2540พระราชบัญัญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ2540
พระราชบัญัญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ2540por
 
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540Sarod Paichayonrittha
 
ว่าด้วยการลา
ว่าด้วยการลาว่าด้วยการลา
ว่าด้วยการลาprsaowalak
 
2 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน2550
2 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน25502 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน2550
2 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน2550สายฝน ต๊ะวันนา
 

Similar to Law_p (14)

พ.ร.บ.ภาพยนตร์และวีดีทัศน์ พ.ศ.2551
พ.ร.บ.ภาพยนตร์และวีดีทัศน์ พ.ศ.2551พ.ร.บ.ภาพยนตร์และวีดีทัศน์ พ.ศ.2551
พ.ร.บ.ภาพยนตร์และวีดีทัศน์ พ.ศ.2551
 
พรบ.ลูกเสือ
พรบ.ลูกเสือพรบ.ลูกเสือ
พรบ.ลูกเสือ
 
๒.พ.ร.บ.พลเรือน 2551
๒.พ.ร.บ.พลเรือน 2551๒.พ.ร.บ.พลเรือน 2551
๒.พ.ร.บ.พลเรือน 2551
 
๒.พ.ร.บ.พลเรือน 2551
๒.พ.ร.บ.พลเรือน 2551๒.พ.ร.บ.พลเรือน 2551
๒.พ.ร.บ.พลเรือน 2551
 
จักราวุธ พ.ร.บ.พลเรือน 2551
จักราวุธ พ.ร.บ.พลเรือน 2551จักราวุธ พ.ร.บ.พลเรือน 2551
จักราวุธ พ.ร.บ.พลเรือน 2551
 
พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์. พ.ศ. ๒๕๕๑
พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์. พ.ศ. ๒๕๕๑พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์. พ.ศ. ๒๕๕๑
พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์. พ.ศ. ๒๕๕๑
 
พระราชบัญัญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ2540
พระราชบัญัญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ2540พระราชบัญัญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ2540
พระราชบัญัญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ2540
 
พรบ.วิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ.2537
พรบ.วิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ.2537พรบ.วิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ.2537
พรบ.วิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ.2537
 
พรบ.วิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ.2537
พรบ.วิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ.2537พรบ.วิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ.2537
พรบ.วิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ.2537
 
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
 
ว่าด้วยการลา
ว่าด้วยการลาว่าด้วยการลา
ว่าด้วยการลา
 
พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
 
2 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน2550
2 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน25502 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน2550
2 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน2550
 
พ.ร.บ
พ.ร.บพ.ร.บ
พ.ร.บ
 

More from HT241 [Bangkok University] (13)

Tutor
TutorTutor
Tutor
 
Tutor
TutorTutor
Tutor
 
Tutor_midterm
Tutor_midtermTutor_midterm
Tutor_midterm
 
License Form_Scuba
License Form_ScubaLicense Form_Scuba
License Form_Scuba
 
Assignment [Mid-Term]
Assignment [Mid-Term]Assignment [Mid-Term]
Assignment [Mid-Term]
 
Form tour person1
Form tour person1Form tour person1
Form tour person1
 
Chapter 5_Managing Tour Operators
Chapter 5_Managing Tour OperatorsChapter 5_Managing Tour Operators
Chapter 5_Managing Tour Operators
 
Form for Tour Operator (company)
Form for Tour Operator (company)Form for Tour Operator (company)
Form for Tour Operator (company)
 
Chapter1_Intro to Travel Agent and Tour Operator Management
Chapter1_Intro to Travel Agent and Tour Operator ManagementChapter1_Intro to Travel Agent and Tour Operator Management
Chapter1_Intro to Travel Agent and Tour Operator Management
 
Chapter 3.3_Components of Tour Operator Business
Chapter 3.3_Components of Tour Operator Business Chapter 3.3_Components of Tour Operator Business
Chapter 3.3_Components of Tour Operator Business
 
Chapter 3.2_Components of Tour Operator Business
Chapter 3.2_Components of Tour Operator Business Chapter 3.2_Components of Tour Operator Business
Chapter 3.2_Components of Tour Operator Business
 
Chapter 3.1_Components of Tour Operator Business
Chapter 3.1_Components of Tour Operator BusinessChapter 3.1_Components of Tour Operator Business
Chapter 3.1_Components of Tour Operator Business
 
Chapter 2_Types of Tour Operations Business
Chapter 2_Types of Tour Operations Business Chapter 2_Types of Tour Operations Business
Chapter 2_Types of Tour Operations Business
 

Law_p

  • 1. หนา ๑ เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ พระราชบัญญัติ ธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก พ.ศ. ๒๕๕๑ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑ เปนปที่ ๖๓ ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จ พระปรมิน ทรมหาภู มิพลอดุล ยเดช มีพ ระบรมราชโองการโปรดเกล า ฯ ใหประกาศวา โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก พระราชบัญ ญัตินี้ มีบ ทบัญ ญัติ บางประการเกี่ยวกับ การจํา กัดสิ ทธิ แ ละเสรีภาพของบุ คคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๓ และมาตรา ๔๓ ของรัฐ ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอมของ สภานิติบัญญัติแหงชาติ ดังตอไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัตธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก พ.ศ. ๒๕๕๑” ิ มาตรา ๒ พระราชบั ญ ญั ติ นี้ ใ ห ใ ช บั ง คั บ เมื่ อ พ น กํ า หนดหกสิ บ วั น นั บ แต วั น ประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
  • 2. หนา ๒ เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ มาตรา ๓ ใหยกเลิก (๑) พระราชบัญญัติธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก พ.ศ. ๒๕๓๕ (๒) พระราชบัญญัติธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ “ธุรกิจนําเที่ยว” หมายความวา ธุรกิจเกี่ยวกับการนํานักทองเที่ยวเดิน ทางไปทองเที่ยว หรือเดินทางไปเพื่อวัตถุประสงคอื่น โดยจัดใหมีบริการหรือการอํานวยความสะดวกอยางใดอยางหนึ่ง หรื อ หลายอย า ง อั น ได แ ก สถานที่ พั ก อาหาร มั ค คุ เ ทศก หรื อ บริ ก ารอื่ น ใดตามที่ กํ า หนด ในกฎกระทรวง “นักทองเที่ยว” หมายความวา ผูเดิน ทางจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งเพื่อประโยชนใ นการ พักผอนหยอนใจ การศึกษาหาความรู การบันเทิง หรือการอื่นใด “มัคคุเทศก” หมายความวา ผูใหบริการเปนปกติธุระในการนํานักทองเที่ยวไปยังสถานที่ตาง ๆ โดยใหบริการเกี่ยวกับคําแนะนําและความรูดานตาง ๆ แกนักทองเที่ยว “ผูนําเที่ยว” หมายความวา ผูรับผิดชอบในการดูแลและอํานวยความสะดวกแกนักทองเที่ยว ในการเดินทางไปทองเที่ยวในตางประเทศ “คาบริการ” หมายความวา คาจางและคาใชจายตาง ๆ ที่นักทองเที่ยวจายใหแกผูประกอบ ธุร กิ จนํ า เที่ย ว สํ า หรั บ การจั ด การให บริ ก าร หรื อ การอํ า นวยความสะดวกเกี่ ยวกั บ การเดิน ทาง สถานที่พัก อาหาร หรือการอื่นใด “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก “กองทุน” หมายความวา กองทุนคุมครองธุรกิจนําเที่ยว “สํานักงาน” หมายความวา สํานักงานพัฒนาการทองเที่ยว “ผูอํานวยการ” หมายความวา ผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาการทองเที่ยว “นายทะเบียน” หมายความวา นายทะเบียนธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศกกลางหรือนายทะเบียน ธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศกสาขา แลวแตกรณี “พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา ผูซึ่งผูอํานวยการแตงตั้งใหปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
  • 3. หนา ๓ เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ มาตรา ๕ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬารักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจออกกฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมไมเกินอัตราทายพระราชบัญญัตินี้ ยกเวนคาธรรมเนียม และกําหนดกิจการอื่นเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได มาตรา ๖ พระราชบัญญัตินี้ไมใ หใ ชบังคับกับการทองเที่ยวแหงประเทศไทยและกิจการ ซึ่งตองไดรับอนุญาตตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมกิจการฮัจย หมวด ๑ คณะกรรมการธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก มาตรา ๗ ให มี ค ณะกรรมการธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วและมั ค คุ เ ทศก ค ณะหนึ่ ง ประกอบด ว ย ปลั ดกระทรวงการท อ งเที่ย วและกี ฬ า เป น ประธานกรรมการ ผู อํา นวยการสํา นัก งานพัฒ นาการ ท อ งเที่ ย ว เป น รองประธานกรรมการ ผู แ ทนกระทรวงมหาดไทย ผู แ ทนกระทรวงแรงงาน ผูบัญชาการสํานักงานตรวจคนเขาเมือง ผูบังคับการตํารวจทองเที่ยว ผูวาการการทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประธานสภาอุตสาหกรรมทองเที่ยวแหงประเทศไทย เปนกรรมการ และผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งจํานวน เจ็ดคน เปนกรรมการ ใหนายทะเบียนธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศกกลาง เปนกรรมการและเลขานุการ กรรมการซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งตามวรรคหนึ่ง ใหแตงตั้งจากผูแทนสภาอุตสาหกรรมทองเที่ยว แหงประเทศไทยหาคน และผูทรงคุณวุฒิซึ่งเปนหรือเคยเปนอาจารยสอนในสถาบันอุดมศึกษามาแลว ไมนอยกวาสามปในวิชาการทองเที่ยวหนึ่งคนและวิชามัคคุเทศกหนึ่งคน กรรมการผูแ ทนสภาอุตสาหกรรมทองเที่ยวแหงประเทศไทยหาคนตามวรรคสอง จะเปน สมาชิ ก สภาอุ ต สาหกรรมท อ งเที่ ย วแห ง ประเทศไทยหรื อ ไม ก็ ไ ด โดยอย า งน อ ยให แ ต ง ตั้ ง จากผูแทนผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวสองคนและผูแทนมัคคุเทศกสองคน มาตรา ๘ กรรมการซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งมีวาระการดํารงตําแหนงคราวละสองป กรรมการ ซึ่งพนจากตําแหนงอาจไดรับแตงตั้งอีกไดแตไมเกินสองวาระติดตอกัน
  • 4. หนา ๔ เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ ในกรณีที่กรรมการพนจากตําแหนงตามวาระ แตยังมิไดแตงตั้งกรรมการใหมใหกรรมการ ซึ่งพนจากตําแหนงปฏิบัติหนาที่ไปพลางกอนจนกวาจะไดแตงตั้งกรรมการใหม มาตรา ๙ การพนจากตําแหนงกอนครบวาระของกรรมการซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้ง ใหเปนไป ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง นอกจากการพน จากตําแหน งตามวรรคหนึ่ง รัฐ มนตรีจะสั่งใหกรรมการดังกล าวพน จาก ตําแหนงเมื่อบกพรองตอหนาที่ มีความประพฤติเสื่อมเสีย หรือหยอนความสามารถก็ได มาตรา ๑๐ ในกรณี ที่ ก รรมการซึ่ ง รั ฐ มนตรี แ ต ง ตั้ ง พ น จากตํ า แหน ง ก อ นครบวาระ ใหกรรมการซึ่งเหลืออยูปฏิบัติหนาที่ตอไปได และใหดําเนินการแตงตั้งกรรมการประเภทเดียวกันแทน ภายในหกสิบวันนับแตวันที่กรรมการนั้นวางลง เวนแตวาระของกรรมการเหลือไมถึงหนึ่งรอยแปดสิบวัน จะไมดําเนินการแตงตั้งกรรมการขึ้นแทนก็ได ทั้งนี้ ใหกรรมการซึ่งไดรับแตงตั้งใหดํารงตําแหนงแทน มีวาระการดํารงตําแหนงเทากับวาระที่เหลืออยูของกรรมการซึ่งตนแทน มาตรา ๑๑ การประชุ ม การดํ า เนิ น การประชุ ม หรื อ การอื่ น ใดที่ เ กี่ ย วกั บ การประชุ ม ใหเปนไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด มาตรา ๑๒ ใหคณะกรรมการมีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้ (๑) กําหนดแผนงานและมาตรการตา ง ๆ เกี่ ยวกับการส งเสริม พัฒ นา และกํากับดูแ ล ธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก (๒) เสนอความเห็นตอรัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวงตามพระราชบัญญัตินี้ (๓) ออกระเบี ย บปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ มาตรฐานการประกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วและมาตรฐาน การปฏิบัติหนาที่ของมัคคุเทศกและผูนําเที่ยวที่จะพึงปฏิบัติตอนักทองเที่ยว และความรับผิดชอบที่มี ตอนักทองเที่ยวและผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว ตลอดจนคาตอบแทนหรือความคุม ครองที่มัคคุเ ทศก และผูนําเที่ยวจะพึงไดรับจากผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว (๔) ประกาศกําหนดเขตพื้นที่ในทองถิ่นหรือชุมชนใดเพื่อใหมัคคุเทศกซึ่งไดรับการยกเวน คุณสมบัติตามมาตรา ๕๑ ทําหนาที่มัคคุเทศก รวมทั้งกําหนดมาตรการตาง ๆ เพื่อประโยชนในการ สงเสริมการทองเที่ยวในทองถิ่นหรือชุมชนนั้น ทั้งนี้ โดยความเห็นชอบของรัฐมนตรี (๕) ออกระเบียบเกี่ยวกับการเป ดบัญชีเงิน ฝากและการเบิก จายจากบัญชีเ งิน ฝากสําหรั บ หลักประกันที่เปนเงินสดตามมาตรา ๑๘ รวมทั้งการคืนหลักประกันตามมาตรา ๓๙
  • 5. หนา ๕ เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ (๖) กําหนดหลักเกณฑและวิธีการในการสอบหาขอเท็จจริงและการวินิจฉัยของนายทะเบียน ตามมาตรา ๔๐ (๗) ออกระเบียบเกี่ยวกับหลักเกณฑ วิธีการ และอัตราการจายเงินชดเชยใหแกนักทองเที่ยว ซึ่งไดรับความเสียหายจากผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวตามมาตรา ๔๑ (๘) พิจารณาและวินิจฉัยอุทธรณคําสั่งของนายทะเบียนตามพระราชบัญญัตินี้ (๙) กํ า หนดหลั ก เกณฑ แ ละวิ ธี ก ารในการเก็ บ รั ก ษาและการบริ ห ารเงิ น และทรั พ ย สิ น ของกองทุนตามมาตรา ๗๑ (๑๐) ปฏิ บั ติ ก ารอื่ น ตามพระราชบั ญ ญั ติ นี้ ห รื อ ตามที่ ไ ด รั บ มอบหมายจากคณะรั ฐ มนตรี หรือรัฐมนตรี มาตรา ๑๓ ในการดํา เนิน การตามอํา นาจหนาที่ คณะกรรมการจะตั้งคณะอนุ กรรมการ เพื่อดําเนินการตามที่มอบหมายก็ได การประชุ มและการลงมติของคณะอนุกรรมการ ใหเปน ไปตามระเบียบที่คณะกรรมการ กําหนด มาตรา ๑๔ ให ป ระธานกรรมการ กรรมการ และอนุ ก รรมการ ได รั บ เบี้ ย ประชุ ม และประโยชนตอบแทนอื่นตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกําหนด หมวด ๒ ธุรกิจนําเที่ยว มาตรา ๑๕ ผู ใ ดประสงค จ ะประกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วให ยื่ น คํ า ขอรั บ ใบอนุ ญ าตประกอบ ธุรกิจนําเที่ยวจากนายทะเบียน การขอรับ ใบอนุญาต การออกใบอนุญาต และการออกใบแทนใบอนุญาตใหเปน ไปตาม หลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง
  • 6. หนา ๖ เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ มาตรา ๑๖ ผูขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวซึ่งเปนบุคคลธรรมดาตอง (๑) มีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ (ก) มีอายุไมต่ํากวายี่สิบปบริบูรณในวันยื่นคําขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยว (ข) มีสัญชาติไทย (ค) มีภูมิลําเนาหรือถิ่นที่อยูในราชอาณาจักรไทย (๒) ไมมีลักษณะตองหาม ดังตอไปนี้ (ก) เปนบุคคลลมละลาย หรืออยูในระหวางถูกพิทักษทรัพย (ข) เปนบุคคลวิกลจริตหรือจิตฟนเฟอนไมสมประกอบ หรือเปนคนไรความสามารถ หรือเสมือนไรความสามารถ (ค) เปน ผูอยูในระหวางถูกสั่งพักใชใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวหรือใบอนุญาต เปนมัคคุเทศก (ง) เคยถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวตามมาตรา ๔๖ (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) หรือใบอนุญาตเปนมัคคุเทศกตามมาตรา ๖๓ (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) และยังไมพนกําหนด หาปนับถึงวันยื่นคําขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยว (จ) เคยถู ก เพิ ก ถอนใบอนุ ญ าตประกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วตามมาตรา ๔๖ (๕) หรือใบอนุญาตเปนมัคคุเทศกตามมาตรา ๖๓ (๕) (ฉ) เคยถูกเพิก ถอนทะเบีย นเปน ผูนําเที่ยวมาแล วยังไมถึงห าปนับถึงวัน ยื่น คําขอรั บ ใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยว มาตรา ๑๗ ผูขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวซึ่งเปนนิติบุคคลตอง (๑) มีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ (ก) เปนนิติบุคคลตามกฎหมายไทยที่มีวัตถุประสงคเพื่อดําเนินกิจการเกี่ยวกับการทองเที่ยว ถ าเป น ห างหุ น ส วนนิ ติ บุ คคล ผู เป นหุ น ส วนประเภทไม จํ ากั ดความรั บผิ ดต องเป น ผู มี สั ญชาติ ไทย ถาเปนบริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัด ทุน ของบริษัทไมนอยกวารอยละหาสิบเอ็ดตองเปนของ บุคคลธรรมดาซึ่งมีสัญชาติไทย และกรรมการของบริษัทเกินกึ่งหนึ่งตองเปนผูมีสัญชาติไทย (ข) กรรมการหรือผูมี อํานาจจัดการแทนนิติบุค คลตองมีคุณสมบั ติและไม มีลักษณะ ตองหามตามมาตรา ๑๖
  • 7. หนา ๗ เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ (๒) ไมมีลักษณะตองหาม ดังตอไปนี้ (ก) เปนนิติบุคคลที่มีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๖ (๒) (ค) (ง) หรือ (จ) (ข) มีผูเปน หุนสวนซึ่งมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๖ (๒) (ค) (ง) หรือ (จ) หรือซึ่งพนจากการเปนหุน สวนของหางหุนสวนนิติบุคคลที่มีลักษณะตองหามตาม (๒) (ก) มาแลว ยังไมถึงหาปนับถึงวันยื่นคําขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยว (ค) มีผูถือหุนซึ่งถือหุนเกินรอยละหามีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๖ (๒) (ค) (ง) หรือ (จ) หรือซึ่งพนจากการเปนกรรมการหรือผูมีอํานาจจัดการแทนนิติบุคคลที่มีลักษณะตองหามตาม (๒) (ก) มาแลวยังไมถึงหาปนับถึงวันยื่นคําขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยว ความใน (๒) (ข) และ (ค) ไมนํา มาใช บังคั บกับ ผูซึ่ง เคยเปน หุ น สว น กรรมการหรื อ ผูมีอํานาจจัดการแทนนิติบุคคล ซึ่งพิสูจนไดวาตนมิไดมีสวนรวมหรือรูเห็นกับการกระทําของนิติบุคคล ที่เปนเหตุใหมีลักษณะตองหามตาม (๒) (ก) มาตรา ๑๘ ผู ข อรั บ ใบอนุ ญ าตตามมาตรา ๑๖ และมาตรา ๑๗ ต อ งวางหลั ก ประกั น ซึ่งไดแ ก เงิน สด หนังสือค้ําประกันของธนาคาร พัน ธบัตรรัฐบาลไทยหรือพัน ธบัตรรัฐ วิสาหกิจ ที่รัฐ บาลไทยค้ําประกันตนเงินและดอกเบี้ยอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางรวมกันตอนายทะเบียน เพื่อเปนหลักประกันการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ตามจํานวนเงินที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๑๙ เมื่ อ มี ผู ยื่ น คํ า ขอรั บ ใบอนุ ญ าตประกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย ว ให เ ป น หน า ที่ ข อง นายทะเบี ยนหรือ ผูซึ่ งนายทะเบีย นมอบหมายตรวจสอบความครบถวนของเอกสารหลั กฐานและ การปฏิบั ติต ามหลัก เกณฑ แ ละวิธี การที่กํ าหนดในกฎกระทรวงที่ ออกตามมาตรา ๑๕ วรรคสอง ในกรณีที่พบวาเอกสารหรือหลักฐานใดไมครบถวนหรือยังมิไดปฏิบัติใหถูกตอง ใหแจงใหผูยื่นคําขอ รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวทราบทันที มาตรา ๒๐ เมื่อนายทะเบียนพิจารณาเห็นวาผูยื่นคําขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยว มีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๖ หรือมาตรา ๑๗ แลวแตกรณี และไดปฏิบัติตาม หลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวแลว ใหนายทะเบียนมีหนังสือ แจงใหผูยื่นคําขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวทราบภายในสามสิบวันนับแตวัน ที่ไดรับคําขอ รับใบอนุญาต ในหนังสือแจงนั้นใหแจงคาธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวและหลักประกัน ที่ตองวางไวดวย
  • 8. หนา ๘ เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ เมื่อผูยื่นคําขอรับใบอนุญาตชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวตามอัตรา ที่ กํ า หนดในกฎกระทรวงและวางหลั ก ประกั น ตามมาตรา ๑๘ ครบถ ว นแล ว ให น ายทะเบี ย น ออกใบอนุ ญ าตประกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วให ภ ายในเจ็ ด วั น นั บ แต วั น ที่ ไ ด รั บ ชํ า ระค า ธรรมเนี ย ม และหลักประกันนั้น การกําหนดคาธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวตามวรรคสอง จะกําหนดอัตรา ที่แตกตางกันตามประเภทหรือลักษณะของผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวก็ได มาตรา ๒๑ เมื่อนายทะเบียนพิจารณาเห็นวาผูยื่นคําขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยว ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๖ หรือมาตรา ๑๗ แลวแตกรณี ใหนายทะเบียน มีหนังสือแจงเหตุแหงการไมออกใบอนุญาตใหผูยื่นคําขอรับใบอนุญาตทราบภายในสามสิบวันนับแต วันที่ไดรับคําขอรับใบอนุญาต มาตรา ๒๒ ในกรณี ที่ น ายทะเบี ย นมี คํ า สั่ ง ไม อ อกใบอนุ ญ าตประกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย ว ตามมาตรา ๒๑ ให ผู ยื่น คํา ขอรั บใบอนุ ญาตประกอบธุ รกิ จนํ า เที่ ยวมีสิ ท ธิอุ ทธรณคํ าสั่ ง ดัง กล า ว เปนหนังสือตอคณะกรรมการภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับแจงคําสั่งจากนายทะเบียน ใหคณะกรรมการพิจารณาและวินิจฉัยอุทธรณตามวรรคหนึ่งใหแลวเสร็จภายในสามสิบวัน นับแตวันที่ไดรับหนังสืออุทธรณ คําวินิจฉัยของคณะกรรมการใหเปนที่สุด มาตรา ๒๓ ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวตองแสดงใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวไวในที่เปดเผย เห็นไดงาย ณ สถานที่ประกอบธุรกิจนําเที่ยวที่ระบุไวในใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยว มาตรา ๒๔ ผูประกอบธุ รกิจนํ าเที่ย วตองไมกระทําการใดอัน จะกอ ให เกิดความเสียหาย แกอุตสาหกรรมทองเที่ยว แหลงทองเที่ยว หรือนักทองเที่ยว มาตรา ๒๕ ผู ป ระกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วต อ งปฏิ บั ติ ต ามระเบี ย บที่ ค ณะกรรมการกํ า หนด ตามมาตรา ๑๒ (๓) มาตรา ๒๖ ในการโฆษณาหรือชี้ชวนเกี่ยวกับรายการนําเที่ยว ใหผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว จัดทําเปนเอกสารซึ่งอยางนอยตองมีรายละเอียด ดังตอไปนี้ (๑) ชื่อผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว และสถานที่และเลขที่ใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยว (๒) ระยะเวลาที่ใชในการนําเที่ยว
  • 9. หนา ๙ เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ (๓) คาบริการและวิธีการชําระคาบริการ (๔) ลักษณะและประเภทของยานพาหนะที่ใชในการเดินทาง (๕) จุดหมายปลายทางและที่แวะพัก รวมทั้งสถานที่สําคัญในการนําเที่ยว (๖) ลักษณะและประเภทของที่พัก และจํานวนครั้งของอาหารที่จัดให (๗) จํานวนมัคคุเทศกหรือผูนําเที่ยวในกรณีที่จัดใหมีมัคคุเทศกหรือผูนําเที่ยว (๘) จํานวนขั้นต่ําของนักทองเที่ยวสําหรับการนําเที่ยว ในกรณีมีเงื่อนไขวาตองมีนักทองเที่ยว ไมนอยกวาจํานวนที่กําหนด มาตรา ๒๗ การเปลี่ ย นแปลงรายการนํ า เที่ ย วให ผิ ด ไปจากที่ ไ ด โ ฆษณาหรื อ ชี้ ช วนไว ตามมาตรา ๒๖ ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวตองแจงใหนักทองเที่ยวทราบกอนรับชําระเงินคาบริการ การเปลี่ ย นแปลงรายการนํ า เที่ ย วภายหลั ง ที่ นั ก ท อ งเที่ ย วชํ า ระเงิ น ค า บริ ก ารแล ว หากนักทองเที่ยวไมประสงคจะเดิน ทาง ผู ประกอบธุ รกิจนําเที่ย วตองคืน เงิน ที่รับชําระแลวใหแ ก นักทองเที่ยวโดยไมชักชา และจะหักคาใชจายใด ๆ ไมได มาตรา ๒๘ ในกรณีที่นักทองเที่ยวชําระเงินคาบริการแลวไมวาทั้งหมดหรือบางสวนถามีเหตุ ที่ทําใหนักทองเที่ยวไมสามารถเดิน ทางไดเฉพาะตัว หรือมีเหตุใ หตองยกเลิกการนําเที่ยวตามที่ได โฆษณาไว ทั้งนี้ โดยมิใชความผิดของผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว ใหผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวจายเงินคืน ใหแกนักทองเที่ยวไมนอยกวาอัตราตามหลักเกณฑที่คณะกรรมการประกาศกําหนด ในกรณีตามวรรคหนึ่ง ถาการยกเลิกการนําเที่ยวเกิดจากกรณีมีนักทองเที่ยวไมครบจํานวน ตามที่กําหนดในมาตรา ๒๖ (๘) หรือเกิดจากเหตุใด ๆ อันเปนความผิดของผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวตองคืนเงินทั้งหมดใหแกนักทองเที่ยว มาตรา ๒๙ ในระหวางการนําเที่ยว ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวจะเปลี่ยนแปลงรายการนําเที่ยว ไมได เวนแตจะไดรับความยินยอมจากนักทองเที่ยวหรือเปนเหตุสุดวิสัย การเปลี่ยนแปลงรายการนําเที่ยวตามวรรคหนึ่ง ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวตองจายเงินคาบริการ คืน ใหแกนักทองเที่ยวตามสัดสวน เวน แตผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวจะพิสูจนไดวาการเปลี่ยนแปลง รายการนั้นทําใหตนมีคาใชจายเทาหรือสูงกวาเดิม มาตรา ๓๐ ผู ป ระกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วจะเรี ย กเก็ บ ค า บริ ก ารอื่ น ใดนอกจากที่ ร ะบุ ไ ว ในมาตรา ๒๖ (๓) หรือที่ตกลงกันไวลวงหนาไมได
  • 10. หนา ๑๐ เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ ในกรณีที่ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวหรือมัคคุเทศกชี้ชวนใหนักทองเที่ยวไปในสถานที่หรือทํา กิจกรรมใดนอกเหนือจากที่ระบุไวในเอกสารโฆษณาหรือชี้ชวน ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวหรือมัคคุเทศก ตองแจงคาบริการของตนและคาบริการที่ตองจายเนื่องจากการเขาไปในสถานที่หรือทํากิจกรรมนั้น ใหนักทองเที่ยวทราบลวงหนา และจะเรียกเก็บคาบริการเกินที่แจงไวมิได มาตรา ๓๑ หามไมใหผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวจัดบริการนําเที่ยวใหแกนักทองเที่ยวที่เดินทาง มาจากตางประเทศโดยไมไดรับคาบริการหรือรับคาบริการในอัตราที่เห็นไดวาไมเพียงพอกับคาใชจาย ตามหลักเกณฑที่คณะกรรมการประกาศกําหนด มาตรา ๓๒ หามไมใหผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวมอบหมายใหมัคคุเทศก ผูนําเที่ยวหรือบุคคล อื่น ใด นํ า นั กท อ งเที่ ย วในความรั บ ผิ ด ชอบของตนไปท อ งเที่ ย ว โดยเรี ย กเก็บ เงิ น จากมั คคุ เ ทศก ผูนํ า เที่ ย ว หรือ บุ ค คลอื่ น นั้ น หรื อ โดยให บุ คคลดั งกล าวรั บ ผิด ชอบค า ใช จ ายเกี่ ยวกั บค า เดิน ทาง คาที่พัก คาอาหาร หรือคาอํานวยความสะดวกอื่นใดของนักทองเที่ยว ไมวาทั้งหมดหรือบางสวน มาตรา ๓๓ ในการจัดใหมีมัคคุเทศกหรือผูนําเที่ยวเดิน ทางไปกับนักทองเที่ยวผูประกอบ ธุรกิ จนํ าเที่ย วต อ งใช มัค คุเ ทศกซึ่ งไดรั บใบอนุญ าตเปน มัค คุเ ทศกห รือ ผูนํ าเที่ย วซึ่ งไดขึ้ นทะเบียน ตามพระราชบัญญัตินี้ แลวแตกรณี ในการเดินทางไปปฏิบัติหนาที่ของมัคคุเทศกหรือผูนําเที่ยวตามวรรคหนึ่ง ใหถือวาเปนการ กระทําในทางการที่จางของผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว มาตรา ๓๔ ผูประกอบธุรกิ จนํา เที่ย วตองจัดใหมีก ารประกั น อุบัติ เหตุ ใ หแ กนัก ทองเที่ย ว มัคคุเทศกและผูนําเที่ยวในระหวางเดินทางทองเที่ยว ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑที่คณะกรรมการประกาศ กําหนด มาตรา ๓๕ ใหผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวชําระคาธรรมเนียมประกอบธุรกิจนําเที่ยวทุกสองป ตามหลักเกณฑ วิธีการ และอัตราที่กําหนดในกฎกระทรวง ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวผูใดไมชําระคาธรรมเนียมภายในระยะเวลาที่กําหนดใหเสียเงินเพิ่ม อีกรอยละสองตอเดือน และถาพน สามเดือนแลวยังมิไดชําระ ใหน ายทะเบียนสั่งพักใชใ บอนุญาต ดังกลาวจนกวาจะชําระคาธรรมเนียมและเงินเพิ่ม ซึ่งตองไมเกินหกเดือนนับแตวันสั่งพักใชใบอนุญาต เมื่อพนกําหนดหกเดือนแลว ถาผูถูกสั่งพักใชใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวยังมิไดชําระ คาธรรมเนียมและเงินเพิ่มตามวรรคสอง ใหนายทะเบียนสั่งเพิกถอนใบอนุญาต
  • 11. หนา ๑๑ เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ มาตรา ๓๖ ใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวสิ้นสุดลง เมื่อผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว (๑) ตายหรือสิ้นสุดความเปนนิติบุคคล (๒) เลิกประกอบกิจการตามมาตรา ๓๘ หรือ (๓) ถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวตามมาตรา ๔๖ มาตรา ๓๗ ในกรณี ที่ ใ บอนุ ญ าตประกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วสิ้ น สุ ด ลงตามมาตรา ๓๖ (๒) หรือ (๓) ใหผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวมีหนาที่ดําเนินการตามขอผูกพันที่มีอยูกับนักทองเที่ยวตอไปเทาที่ จําเปน ซึ่งตองไมเกินหกเดือนนับแตวันที่ใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวสิ้นสุดลง มาตรา ๓๘ ผู ป ระกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วซึ่ ง ประสงค จ ะเลิ ก ประกอบกิ จ การ ให แ จ ง ให นายทะเบียนทราบ พรอมทั้งสงคืนใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวแกนายทะเบียนภายในสิบหาวัน นับแตวันที่เลิกประกอบกิจการ การเลิ ก ประกอบกิ จ การไม เ ป น เหตุ ใ ห ผู ป ระกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วพ น จากความรั บ ผิ ด ที่ มี ตอนักทองเที่ยวตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๓๙ หลักประกันที่ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยววางไวตามมาตรา ๑๘ ไมอยูในความรับผิด แหงการบังคับคดีตราบเทาที่ผู ประกอบธุรกิจนํ าเที่ยวยังมิได เลิกประกอบกิจ การ แตยังไมพน จาก ความรับผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ในกรณี เ ลิ ก ประกอบกิ จ การ ผู ป ระกอบธุ รกิ จ นํ า เที่ ย วจะขอรั บ คื น หลั ก ประกั น ที่ ว างไว พรอมทั้งดอกผลไดก็ตอเมื่อไดสงคืนใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวตามมาตรา ๓๘ และชําระหนี้ ที่เกิดขึ้น ตามพระราชบัญญัตินี้เสร็จสิ้นแลว แตถาหนี้ที่เหลือมีจํานวนนอยกวาหลักประกัน ที่วางไว ใหนายทะเบียนมีอํานาจสั่งใหลดหลักประกันลงใหเหลือเทากับหนี้ที่จะพึงรับผิดชอบได ในกรณี ที่ น ายทะเบี ย นได แ จ ง ให ผู ป ระกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วมาขอรั บ หลั ก ประกั น คื น แล ว แตผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวไมมารับหลักประกันคืนภายในสองปนับแตวันที่ไดรับแจง ใหหลักประกัน ดังกลาวตกเปนของกองทุน มาตรา ๔๐ เมื่อ มีผู รอ งเรี ยนหรื อปรากฏต อนายทะเบีย นว านั กทอ งเที่ย วผู ใ ดไดรั บความ เสียหายจากการที่ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวไมปฏิบัติตามขอตกลงเกี่ยวกับธุรกิจนําเที่ยวหรือตามที่ได โฆษณาหรื อชี้ ช วนไว หรื อตามพระราชบัญ ญัติ นี้ ให น ายทะเบี ยนดํ าเนิน การสอบหาข อ เท็ จจริ ง และวินิจฉัยโดยเร็วและเปนธรรม ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่คณะกรรมการกําหนด
  • 12. หนา ๑๒ เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ ในการดําเนินการสอบหาขอเท็จจริงและวินิจฉัยตามวรรคหนึ่ง ใหนายทะเบียนรับฟงคําชี้แจง ของผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวซึ่งถูกกลาวหาประกอบดวย มาตรา ๔๑ เมื่อปรากฏผลจากการสอบหาขอเท็จจริงตามมาตรา ๔๐ วานักทองเที่ยวผูใ ด ไดรับความเสี ยหายจากผูประกอบธุรกิจนํา เที่ยวรายใดและเปน จํานวนเงิน เทาใด ใหน ายทะเบีย น สั่งจายเงินจากกองทุนเพื่อชดเชยความเสียหายนั้นไปพลางกอน และแจงใหผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวนั้น สงคืนเงินชดใชกองทุนภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดรับแจง หลักเกณฑ วิธีการ และอัตราการจายเงิน ชดเชยตามวรรคหนึ่ง ใหเปน ไปตามระเบียบที่ คณะกรรมการกําหนด ผู ป ระกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วผู ใ ดไม ส ง เงิ น ชดใช ก องทุ น ภายในกํ า หนดเวลาตามวรรคหนึ่ ง ใหนายทะเบียนหักเงินจํานวนดังกลาวจากหลักประกันที่วางไวตามมาตรา ๑๘ สงคืนกองทุน มาตรา ๔๒ ในกรณีที่หลักประกันที่ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยววางไวตามมาตรา ๑๘ ลดลง เพราะถูกใชจายไปตามพระราชบัญญัตินี้ ใหนายทะเบียนสั่งเปนหนังสือใหผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว วางหลักประกันเพิ่มจนครบจํานวนเงินที่กําหนดภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดรับคําสั่ง ผู ป ระกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วผู ใ ดไม ว างหลั ก ประกั น เพิ่ ม ภายในกํ า หนดเวลาตามวรรคหนึ่ ง ตองชําระเงินเพิ่มอีกรอยละสองตอเดือนจนกวาจะวางหลักประกันเพิ่มจนครบถวน มาตรา ๔๓ นั ก ท อ งเที่ ย วหรื อ ผู ป ระกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วซึ่ ง ไม เ ห็ น ด ว ยกั บ คํ า สั่ ง ของ นายทะเบียนตามมาตรา ๔๑ มีสิทธิอทธรณคําสั่งดังกลาวเปนหนังสือตอคณะกรรมการภายในสามสิบวัน ุ นับแตวันที่ไดรับแจงคําสั่งจากนายทะเบียน ใหคณะกรรมการพิจารณาและวินิจฉัยอุทธรณตามวรรคหนึ่งใหแลวเสร็จภายในสามสิบวัน นับแตวันที่ไดรับหนังสืออุทธรณ คําวินิจฉัยของคณะกรรมการใหเปนที่สุด การอุทธรณคําสั่งของนายทะเบียนตามวรรคหนึ่งไมเปนเหตุใหชะลอการสงเงินชดใชกองทุน และการหัก เงิ น จากหลัก ประกัน สง คืน กองทุน ตามมาตรา ๔๑ และการวางหลัก ประกัน เพิ่ ม ตาม มาตรา ๔๒ เวนแตคณะกรรมการจะผอนผันใหเปนการเฉพาะราย ในกรณีที่ นั ก ท องเที่ ยวตาย ให ทายาทหรื อ ผู มีส ว นไดเ สี ย มีสิ ท ธิ อุ ทธรณ ได เ ช น เดี ย วกั บ นักทองเที่ยว
  • 13. หนา ๑๓ เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ มาตรา ๔๔ ในการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ ใหคณะกรรมการมีอํานาจดังตอไปนี้ (๑) กรณี ที่ จํ า นวนเงิ น ที่ สั่ ง จ า ยจากกองทุ น ต่ํ า กว า ความเสี ย หายที่ นั ก ท อ งเที่ ย วได รั บ ใหคณะกรรมการสั่งใหนายทะเบียนจายเงินจากกองทุนเพิ่มเติมใหแกนักทองเที่ยวตามที่คณะกรรมการ กําหนด และแจ งใหผูป ระกอบธุ รกิจนํา เที่ยวสง เงิน จํานวนดังกลาวชดใชกองทุ น ภายในสิบหาวั น นับแตวันที่ไดรับแจง และใหนําความในมาตรา ๔๑ วรรคสาม และมาตรา ๔๒ มาใชบังคับโดยอนุโลม เว น แต ค ณะกรรมการจะเห็ น ว า ความเสี ย หายที่ ต อ งจ า ยเพิ่ ม เติ ม นั้ น มิ ใ ช เ ป น ความผิ ด ของ ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว จะไมสั่งใหผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวสงเงินจํานวนดังกลาวชดใชกองทุนก็ได (๒) กรณีที่ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวไมตองรับผิดในความเสียหายนั้นหรือรับผิดเพียงบางสวน และเป น กรณี ที่ ผู ป ระกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วได จ า ยเงิ น ชดใช ก องทุ น ตามคํ า สั่ ง ของนายทะเบี ย น ตามมาตรา ๔๑ แลว หรือเปนกรณีที่นายทะเบียนไดหักเงินจากหลักประกันที่วางไวตามมาตรา ๑๘ สงคืนกองทุนและผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวไดวางหลักประกันเพิ่มจนครบถวนแลว ใหคณะกรรมการ สั่งใหนายทะเบียนจายเงินกองทุนคืนใหแกผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวทั้งหมดหรือตามสวนที่ไมตองรับผิด แลวแตกรณี ให สํ า นั ก งานแจ ง คํ า วิ นิ จ ฉั ย ของคณะกรรมการให ผู ซึ่ ง เกี่ ย วข อ งทราบภายในสิ บ ห า วั น นับแตวันที่มีคําวินิจฉัย มาตรา ๔๕ ใหน ายทะเบียนมีอํานาจสั่งพักใชใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวไดไมเกิน ครั้งละหกเดือน เมื่อปรากฏวาผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว (๑) ฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนดตามมาตรา ๑๒ (๓) (๒) ฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรา ๓๐ มาตรา ๓๑ มาตรา ๓๒ หรือมาตรา ๓๓ (๓) ไม ชํา ระค าธรรมเนี ย มประกอบธุร กิ จนํ า เที่ ยวและเงิ น เพิ่ ม จนพน กํา หนดสามเดื อ น นับแตวันที่กําหนดใหชําระคาธรรมเนียมตามมาตรา ๓๕ วรรคสอง (๔) ไมวางหลักประกันเพิ่มจนครบถวนเกินหกเดือนนับแตวันครบกําหนดเวลาตามมาตรา ๔๒ หรือมาตรา ๔๔ (๑) หรือ (๕) ฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามคําสั่งของนายทะเบียนหรือพนักงานเจาหนาที่ซึ่งสั่งตามมาตรา ๗๖
  • 14. หนา ๑๔ เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวซึ่งถูกสั่งพักใชใบอนุญาตจะประกอบธุรกิจนําเที่ยวในระหวางถูกสั่ง พักใชใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวไมได เวนแตเปนกรณีที่นายทะเบียนอนุญาตใหดําเนินการได เฉพาะกรณีเพื่อปองกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับนักทองเที่ยวหรือธุรกิจนําเที่ยว มาตรา ๔๖ ให น ายทะเบี ย นมี อํ า นาจสั่ ง เพิ ก ถอนใบอนุ ญ าตประกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วได เมื่อปรากฏวาผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว (๑) ขาดคุ ณ สมบั ติต ามมาตรา ๑๖ (๑) หรื อ มาตรา ๑๗ (๑) หรื อ มี ลั กษณะต อ งห า ม ตามมาตรา ๑๖ (๒) (ก) (ข) (ง) (จ) หรือ (ฉ) หรือมาตรา ๑๗ (๒) (๒) ไม ชํ า ระค า ธรรมเนี ย มประกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วและเงิ น เพิ่ ม จนพ น กํ า หนดหกเดื อ น นับแตวันที่ถูกสั่งพักใชใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวตามมาตรา ๓๕ วรรคสาม (๓) เคยถูกสั่งพักใชใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวตามมาตรา ๔๕ มาแลว และภายใน หนึ่งปนับแตวันที่ถูกสั่งพักใชใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวนั้น มีกรณีที่อาจถูกสั่งพักใชใบอนุญาต ประกอบธุรกิจนําเที่ยวอีก ไมวาจะเปนเหตุเดียวกันหรือไมก็ตาม (๔) ประพฤติหรือปฏิบัติการใดอั น เปน การฝา ฝน พระราชบัญ ญัตินี้ หรือก อ ใหเกิดความ เสียหายแกนักทองเที่ยวหรือธุรกิจนําเที่ยวอยางรายแรง และนายทะเบียนไดตักเตือ นและสั่งระงับ หรือใหแกไขแลว แตไมดําเนินการ หรือ (๕) ตองคําพิพากษาอันถึงที่สุดวากระทําความผิดเกี่ยวกับการคา หรือความผิดฐานชิงทรัพย ปลนทรัพย ฉอโกง โกงเจาหนี้ หรือยักยอกตามประมวลกฎหมายอาญา หรือความผิดฐานฉอโกง ประชาชนตามกฎหมายวาดวยการกูยืมเงินที่เปนการฉอโกงประชาชน มาตรา ๔๗ ใหนายทะเบียนสงหนังสือแจงคําสั่งพักใชหรือเพิกถอนใบอนุญาตประกอบธุรกิจ นําเที่ยวตามมาตรา ๔๕ หรือมาตรา ๔๖ แลวแตกรณี ใหผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวทราบภายในหาวัน นับแตวันที่มีคําสั่งดังกลาว การแจงตามวรรคหนึ่ง นายทะเบียนจะสงทางไปรษณียลงทะเบียนตอบรับ ทางโทรสาร ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส หรือวิธีอื่นใดตามที่คณะกรรมการกําหนดก็ได มาตรา ๔๘ ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวซึ่งถูกสั่งพักใชหรือเพิกถอนใบอนุญาตประกอบธุรกิจ นําเที่ยวตามมาตรา ๔๕ หรือมาตรา ๔๖ แลวแตกรณี มีสิท ธิอุทธรณคําสั่งดัง กลาวเปน หนังสื อ ตอคณะกรรมการภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับแจงคําสั่งจากนายทะเบียน
  • 15. หนา ๑๕ เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ ใหคณะกรรมการพิจารณาและวินิจฉัยอุทธรณตามวรรคหนึ่งใหแลวเสร็จภายในสามสิบวัน นับแตวันที่ไดรับหนังสืออุทธรณ คําวินิจฉัยของคณะกรรมการใหเปนที่สุด หมวด ๓ มัคคุเทศก มาตรา ๔๙ ผูใ ดประสงค จ ะเป น มั ค คุเ ทศก ใ หยื่ น คํ า ขอรั บ ใบอนุ ญ าตเป น มั ค คุ เทศก จ าก นายทะเบียน การขอรั บ ใบอนุ ญาต การออกใบอนุญ าต การต ออายุ ใ บอนุญ าต และการออกใบแทน ใบอนุญาต ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง ความในมาตรานี้มิใ หใ ชบังคับแกเจาหนาที่หรือพนักงานของสวนราชการหรือหนวยงาน ของรัฐที่ปฏิบัติหนาที่เปนครั้งคราวทํานองเดียวกับมัคคุเทศกหรือนักเรียนนักศึกษาซึ่งมีหนังสือรับรอง จากสถานศึกษา มาตรา ๕๐ ผูขอรับใบอนุญาตเปนมัคคุเทศกตอง (๑) มีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ (ก) มีอายุไมต่ํากวาสิบแปดปบริบูรณในวันยื่นคําขอรับใบอนุญาตเปนมัคคุเทศก (ข) มีสัญชาติไทย (ค) สํ า เร็ จ การศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี ห รื อ เที ย บเท า ในสาขามั ค คุ เ ทศก ห รื อ สาขา การทอ งเที่ยวที่มีวิช าเกี่ยวกั บมัคคุเ ทศก หรือสํ าเร็จการศึกษาระดับ อนุปริญ ญาในสาขามัค คุเทศก หรือสาขาการทองเที่ยวที่มีวิชาเกี่ยวกับมัคคุเทศกไมนอยกวาที่คณะกรรมการกําหนด หรือไดรับวุฒิบัตร หรือหนังสือรับรองวาไดผานการฝกอบรมวิชามัคคุเทศกตามหลักสูตรที่คณะกรรมการกําหนด (๒) ไมมีลักษณะตองหาม ดังตอไปนี้ (ก) เปนโรคพิษสุราเรื้อรังหรือติดยาเสพติดใหโทษ หรือเปนโรคติดตอที่คณะกรรมการ กําหนด (ข) เปนผูอยูในระหวางถูกสั่งพักใชใบอนุญาตเปนมัคคุเทศกหรือใบอนุญาตประกอบ ธุรกิจนําเที่ยว
  • 16. หนา ๑๖ เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ (ค) เคยถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวตามมาตรา ๔๖ (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) หรือใบอนุญาตเปนมัคคุเทศกตามมาตรา ๖๓ (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) และยังไมพนกําหนด หาปนับถึงวันยื่นคําขอรับใบอนุญาตเปนมัคคุเทศก (ง) เคยถู ก เพิ ก ถอนใบอนุ ญ าตประกอบธุ ร กิ จ นํ า เที่ ย วตามมาตรา ๔๖ (๕) หรือใบอนุญาตเปนมัคคุเทศกตามมาตรา ๖๓ (๕) (จ) เคยถูกเพิกถอนทะเบียนเปน ผูนําเที่ยวมาแลวยังไมถึงหาปนับถึงวัน ยื่น คําขอรับ ใบอนุญาตเปนมัคคุเทศก มาตรา ๕๑ เพื่อประโยชนในการสงเสริมการทองเที่ยวในทองถิ่นหรือชุมชนเปนการเฉพาะ เมื่อคณะกรรมการไดประกาศเขตพื้นที่ในทองถิ่นหรือชุมชนใดตามมาตรา ๑๒ (๔) แลว รัฐมนตรี จะประกาศยกเว น คุ ณ สมบัติ ต ามมาตรา ๕๐ (๑) (ก) หรื อ (ค) สํ า หรั บ ผู ยื่ น คํ า ขอรั บ ใบอนุ ญ าต เป น มั ค คุ เทศก ซึ่ ง จะให บ ริ ก ารเฉพาะในเขตพื้ น ที่นั้ น รวมตลอดทั้ งยกเว น หรื อ ลดค า ธรรมเนี ย ม ใบอนุญาตเปนมัคคุเทศกใหดวยก็ได ในกรณีท่ี มีมัค คุเ ทศกต ามวรรคหนึ่ งทํา หนา ที่มัค คุเ ทศกใ นเขตพื้ น ที่ต ามมาตรา ๑๒ (๔) หามมิใหมัคคุเทศกอื่นเขาไปทําหนาที่มัคคุเทศกในเขตพื้นที่นั้น มาตรา ๕๒ เมื่อมีผูยื่น คําขอรับใบอนุญาตเปน มัคคุเ ทศก ใหเปน หนาที่ของนายทะเบียน หรื อ ผูซึ่ ง นายทะเบี ยนมอบหมายตรวจสอบความครบถ วนของเอกสารหลั ก ฐาน และการปฏิ บั ติ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๔๙ วรรคสอง ในกรณีที่พบวา เอกสารหรือหลักฐานใดไมครบถวนหรือยังมิไดปฏิบัติใหถูกตอง ใหแจงใหผูยื่นคําขอรับใบอนุญาต เปนมัคคุเทศกทราบทันที มาตรา ๕๓ เมื่ อ นายทะเบี ย นพิ จ ารณาเห็ น ว า ผู ยื่ น คํ า ขอรั บ ใบอนุ ญ าตเป น มั ค คุ เ ทศก ตามมาตรา ๔๙ ผูใดมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๕๐ หรือผูยื่นคําขอรับใบอนุญาต เปนมัคคุเทศกซึ่งจะใหบริการเฉพาะในเขตทองถิ่นหรือชุมชนผูใดไดรับยกเวนคุณสมบัติตามมาตรา ๕๑ และได ป ฏิ บั ติ ต ามหลัก เกณฑ แ ละวิ ธี ก ารเกี่ ย วกั บ การขอรั บใบอนุ ญ าตเป น มั ค คุเ ทศก และชํ า ระ คา ธรรมเนี ยมใบอนุญ าตเป น มั ค คุเ ทศก ตามอัต ราที่ กํา หนดในกฎกระทรวงแลว ใหน ายทะเบี ย น ออกใบอนุญาตเปน มัค คุเ ทศก ใ หผูยื่น คําขอรั บใบอนุญาตผู นั้น ภายในสามสิบวัน นั บ แตวัน ที่ไดรั บ คําขอรับใบอนุญาต
  • 17. หนา ๑๗ เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ มาตรา ๕๔ เมื่ อนายทะเบี ยนพิจ ารณาเห็ น ว าผู ยื่น คํา ขอรับ ใบอนุ ญาตเปน มัค คุเ ทศกต าม มาตรา ๔๙ ผูใดขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๕๐ หรือผูยื่นคําขอรับใบอนุญาตเปน มั ค คุ เ ทศก ซึ่ ง จะให บ ริ ก ารเฉพาะในเขตท อ งถิ่ น หรื อ ชุ ม ชนผู ใ ดไม ไ ด รั บ ยกเว น ตามมาตรา ๕๑ หรือไมชําระคาธรรมเนียมภายในเวลาที่กําหนด ใหนายทะเบียนมีหนังสือ แจงเหตุแ หงการไมออก ใบอนุญาตใหผูยื่นคําขอรับใบอนุญาตผูนั้นทราบภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับคําขอรับใบอนุญาต มาตรา ๕๕ ในกรณีที่น ายทะเบียนมีคําสั่งไมออกใบอนุญาตเปนมัคคุเทศกตามมาตรา ๕๔ ใหผูยื่น คําขอรับใบอนุญาตเปน มัคคุเทศกมีสิทธิอุทธรณคําสั่งดังกลาวเปนหนังสือตอคณะกรรมการ ภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับแจงคําสั่งจากนายทะเบียน ใหคณะกรรมการพิจารณาและวินิจฉัยอุทธรณตามวรรคหนึ่งใหแลวเสร็จภายในสามสิบวัน นับแตวันที่ไดรับหนังสืออุทธรณ คําวินิจฉัยของคณะกรรมการใหเปนที่สุด มาตรา ๕๖ ใบอนุญาตเปนมัคคุเทศกใหมีอายุหาปนับแตวันที่ออกใบอนุญาต และอาจตออายุ ไดตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง ใหนําความในมาตรา ๕๒ มาตรา ๕๓ มาตรา ๕๔ และมาตรา ๕๕ มาใชบังคับกับการ ตออายุใบอนุญาตเปนมัคคุเทศกดวยโดยอนุโลม มาตรา ๕๗ มาตรฐานในการปฏิบัติหนาที่ การแตงกาย การรักษามารยาท ความประพฤติ และการตรวจสุขภาพของมัคคุเทศก ใหเปนไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด มัคคุเทศกตองปฏิบัติตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนดตามวรรคหนึ่ง และตองติดบัตร ประจําตัวตลอดเวลาที่ทําหนาที่มัคคุเทศก แบบบัตร การขอมีบัตร การออกบัตร และลักษณะการติดบัตรประจําตัวมัคคุเทศกตามวรรคสอง ใหเปนไปตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด มาตรา ๕๘ ในการรับทํางานเปนมัคคุเทศก หามไมใหมัคคุเทศกจายเงิน หรือใหประโยชน อื่น ใดแกผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวหรือบุคคลอื่น ใด หรือยอมตนเขารับผิดชอบในคาใชจายทั้งหมด หรือบางสวนเพื่อใหไดมาซึ่งการนํานักทองเที่ยวไปทองเที่ยว มาตรา ๕๙ มัคคุเทศกตองปฏิบัติหนาที่ตามรายการนําเที่ยวที่ไดตกลงไวกับผูประกอบธุรกิจ นําเที่ยว และจะดําเนินการใดใหเกิดความเสียหายแกนักทองเที่ยวมิได
  • 18. หนา ๑๘ เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ มาตรา ๖๐ มัคคุเทศกตองไมใหหรือยิน ยอมใหบุคคลอื่นซึ่งไมมีใบอนุญาตเปน มัคคุเ ทศก ทําหนาที่เปนมัคคุเทศกแทนตน มาตรา ๖๑ ใบอนุญาตเปนมัคคุเทศกสิ้นสุดลง เมื่อมัคคุเทศก (๑) ตาย (๒) ไมไดรับการตออายุใบอนุญาตเปนมัคคุเทศกตามมาตรา ๕๖ หรือ (๓) ถูกเพิกถอนใบอนุญาตเปนมัคคุเทศกตามมาตรา ๖๓ มาตรา ๖๒ ใหน ายทะเบียนมีอํ านาจสั่งพั กใชใ บอนุญาตเป น มัคคุเทศกไดไมเ กิน ครั้งละ หกเดือน เมื่อปรากฏวามัคคุเทศก (๑) ฝ า ฝ น หรื อ ไม ป ฏิ บั ติ ต ามระเบี ย บที่ ค ณะกรรมการกํ า หนดตามมาตรา ๑๒ (๓) หรือมาตรา ๕๗ (๒) ฝาฝนหรือไมปฏิบติตามมาตรา ๕๑ หรือมาตรา ๕๘ ั (๓) ฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามคําสั่งของนายทะเบียนหรือพนักงานเจาหนาที่ซึ่งสั่งตามมาตรา ๗๖ มั ค คุ เ ทศก ซึ่ ง ถู ก สั่ ง พั ก ใช ใ บอนุ ญ าตจะปฏิ บั ติ ห น า ที่ มั ค คุ เ ทศก ใ นระหว า งถู ก สั่ ง พั ก ใช ใบอนุญาตเปนมัคคุเ ทศกไมได เวนแตเปน กรณีที่นายทะเบียนอนุญาตใหดําเนินการไดเฉพาะกรณี เพื่อปองกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นแกนักทองเที่ยวหรือธุรกิจนําเที่ยว มาตรา ๖๓ ใหน ายทะเบียนมีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตเปนมัคคุเทศกไดเมื่อปรากฏวา มัคคุเทศก (๑) ขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๕๐ (๑) หรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๕๐ (๒) (ก) (ค) (ง) และ (จ) (๒) เคยถู กสั่ งพักใช ใ บอนุญาตเปน มัคคุ เทศก ตามมาตรา ๖๒ มาแลว และภายในหนึ่ งป นับแตวันที่ถูกสั่งพักใชใบอนุญาตเปนมัคคุเทศกนั้น มีกรณีที่อาจถูกสั่งพักใชใบอนุญาตเปนมัคคุเทศกอก ี ไมวาจะเปนเหตุเดียวกันหรือไมก็ตาม (๓) ประพฤติ หรือปฏิ บัติการใดอัน เปน การฝาฝน พระราชบัญญัตินี้ หรือ กอ ใหเ กิดความ เสียหายแกนักทองเที่ยวหรือธุรกิจนําเที่ยวอยางรายแรง และนายทะเบียนไดตักเตือ นและสั่งระงับ หรือใหแกไขแลว แตไมดําเนินการ (๔) เปนบุคคลวิกลจริตหรือจิตฟนเฟอนไมสมประกอบ หรือ
  • 19. หนา ๑๙ เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ (๕) ต อ งคํ า พิ พ ากษาอั น ถึ ง ที่ สุ ด ว า กระทํ า ความผิ ด ฐานชิ ง ทรั พ ย ปล น ทรั พ ย ฉ อ โกง โกงเจาหนี้ หรือยักยอกตามประมวลกฎหมายอาญา หรือความผิดฐานฉอโกงประชาชนตามกฎหมาย วาดวยการกูยืมเงินที่เปนการฉอโกงประชาชน ใหนําความในมาตรา ๔๗ และมาตรา ๔๘ มาใชบังคับกับการแจงคําสั่งและการอุทธรณ คําสั่งดวยโดยอนุโลม หมวด ๔ ผูนําเที่ยว มาตรา ๖๔ ผูใดประสงคจะเปนผูนําเที่ยวตองขึ้นทะเบียนเปนผูนําเที่ยวไวกับสํานักงานตาม หลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง กฎกระทรวงตามวรรคหนึ่งใหกําหนดคุณสมบัติของผูนําเที่ยวไวดวย ผูซึ่ งไดรั บใบอนุญ าตเป น มั คคุ เ ทศก แ ละมี คุ ณ สมบั ติต ามวรรคสอง ใหป ฏิบั ติห นา ที่เ ป น ผูนําเที่ยวไดโดยไมตองขึ้น ทะเบียนตามวรรคหนึ่ ง แตใ หแ จงใหน ายทะเบียนทราบเพื่อประโยชน ดานขอมูลของสํานักงาน มาตรา ๖๕ ในการจัดใหนักทองเที่ยวเดินทางไปตางประเทศ ถาผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว จัดใหมีผูนําเที่ยวเดินทางไปดวย ผูนําเที่ยวนั้นตองเปนผูซึ่งไดขึ้นทะเบียนไวกับสํานักงานตามมาตรา ๖๔ นอกจากหนาที่ในการนําเที่ยวและอํานวยความสะดวกแลว ผูนําเที่ยวมีหนาที่ตองดําเนินการ ใหเปนไปตามรายการนําเที่ยวตามมาตรา ๒๖ หรือมาตรา ๒๙ แลวแตกรณีดวย มาตรา ๖๖ มาตรฐานในการปฏิบั ติหน าที่ การแต งกาย การรักษามารยาท และความ ประพฤติของผูนําเที่ยว ใหเปนไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด ผูนําเที่ยวตองปฏิบัติตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนดตามวรรคหนึ่ง มาตรา ๖๗ ในกรณีที่ปรากฏวาผูนําเที่ยวประพฤติหรือปฏิบัติการใดอันเปนการฝาฝนระเบียบ ที่ออกตามมาตรา ๖๖ หรือกระทําการใด ๆ อัน กอ ใหเกิดความเสียหายแกนักทองเที่ยวหรือธุรกิจ นําเที่ยวอยางรายแรง ใหนายทะเบียนมีอํานาจตักเตือนและสั่งใหระงับหรือแกไขการกระทํานั้นได