SlideShare a Scribd company logo
จัดทำโดย
นส.ศศิพิมพ์ คุณำรูป เลขที่ 16
นำยพีรดนย์ สุริยะธง เลขที่ 31
ชั้น ม.6/2
เสนอ
คุณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์
เกี่ยวกับโครงงำน
วัตถุประสงค์
หลักำรและทฤษฎี
ผลที่คำดว่ำจะได้รับ
ที่มำและควำมสำคัญ
ขอบเขตโครงงำน
วิธีกำรดำเนินกำร
แหล่งอ้ำงอิง
สำรบัญ
 1. ปะกำรัง
 2. ควำมสำคัญของแนวปะกำรัง
 3. ปะกำรังฟอกขำว
 4. สำเหตุทำให้เกิดปะกำรังฟอกขำว
 5. ผลกระทบของภำวะโลกร้อนที่มีต่อปะกำรัง
 6. ปรำกฏกำรณ์ Greenhouse Effect
 7. อนำคตของปะกำรังเนื่องมำจำกภำวะโลกร้อน
 8. ผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
 9. แนวทำงกำรแก้ไข
 10. รูปภำพเปรียบเทียบปะกำรัง
ปะการัง จัดอยู่ในประเภทสัตว์ทะเลที่ไม่มีกระดูกสันหลัง (ที่มีกระดูกสันหลังคือปลำ
ต่ำงๆ) ปะกำรังมีมำกมำยหลำยชนิดมีทั้งปะกำรังแข็ง ปะกำรังอ่อน หลำกสีสันและ
หลำกหลำยรูปร่ำง เช่น ปะกำรังเขำกวำง ปะกำรังดอกเห็ด และอีกมำกมำย ประเทศไทย
เรำมีปะกำรังมำกมำยเพรำะประเทศเรำอยู่เขตร้อน ปะกำรังอยู่ได้เฉพำะเขตร้อนและใกล้
เขตร้อนที่อุณหภูมิของน้ำไม่ต่ำกว่ำ 18 องศำเซลเซียส ดังนั้นประเทศในเขตหนำวจึงไม่มี
ปะกำรัง และปะกำรังยังเป็นทรัพยำกรธรรมชำติทำงทะเลที่สำคัญ เป็นที่อยู่อำศัยของพืช
และสัตว์น้ำ เป็นแหล่งอำหำรเพื่อกำรเจริญเติบโต เป็นแหล่งเพรำะพันธุ์และวำงไข่ เป็น
แหล่งหลบภัยของสัตว์น้ำต่ำงๆ ดังนั้นปะกำรังจึงเป็นเหมือนผู้ผลิตและเป็นที่อยู่อำศัยของ
สิ่งมีชีวิตในทะเล
ปะกำรังมีสำหร่ำยซูแซนเทลลี (zooxanthellae) ซึ่งเป็นสำหร่ำยเซลล์เดียวอำศัยอยู่
ร่วมกันภำยในเนื้อเยื่อของปะกำรัง สำหร่ำยซูแซนเทลลีให้พลังงำนที่เป็นผลจำกกำร
สังเครำะห์แสงแก่ปะกำรังที่ใช้เป็นที่อำศัยอีกทั้งให้สีสันที่หลำกหลำยกับปะกำรังด้วยดังนั้น
หำกปะกำรังเหล่ำนี้ไม่มีสำหร่ำยซูแซนเทลลีแล้วปะกำรังจะได้รับพลังงำนไม่เพียงพอต่อกำร
ดำรงชีวิต และปะกำรังก็จะมีแต่สีขำว ซึ่งเป็นสีของโครงร่ำงหินปูนที่เป็นแคลเซียม
คำร์บอเนตเท่ำนั้นสีสันของโลกใต้น้ำบริเวณแนว ปะกำรังก็คงไม่งดงำมเหมือนที่เห็นเช่น
ปัจจุบัน
1. เป็นแหล่งอำหำรที่สำคัญ เป็นแหล่งที่อยู่อำศัยของปลำและสัตว์น้ำหลำยชนิด
2. ควำมสวยงำมของปะกำรัง รูปร่ำงต่ำง ๆ ใช้ในกำรประดับสถำนที่และที่อยู่อำศัย
3. โครงสร้ำงหินปูนของปะกำรังสำมำรถนำมำใช้เป็นวัสดุก่อสร้ำงได้
4. หินปูนจำกปะกำรังและสำหร่ำยบำงชนิดใช้เป็นองค์ประกอบของยำบำงชนิด
5. ปลำในแนวปะกำรัง ซึ่งเป็นปลำสวยงำม ใช้ประดับในตู้ปลำและกลำยเป็น
สินค้ำออกที่สำคัญ
6. ทัศนียภำพควำมสวยงำม จำกตัวแนวปะกำรังเองและสิ่งมีชีวิตที่อยู่อำศัยอยู่ เช่น
ฝูงปลำสวยงำม เป็นต้น นับเป็นแหล่งดึงดูดกำรท่องเที่ยวที่สำคัญ
7. แนวปะกำรังจะช่วยป้องกันกำรกัดเซำะของชำยหำดเนื่องจำกคลื่นและพำยุ
8. คุณค่ำในด้ำนกำรศึกษำและกำรอนุรักษ์ สภำพไว้เพื่อกำรทดลอง
ปะกำรังฟอกขำว เป็นสภำวะที่ปะกำรังสูญเสียสำหร่ำยเซลล์เดียวที่อำศัยอยู่ภำยใน
เนื้อเยื่อ ทำให้ปะกำรังอ่อนแอเพรำะได้รับสำรอำหำรไม่เพียงพอแลปะกำรังอำจตำยไปใน
ที่สุดถ้ำหำกไม่สำมำรถทนต่อสภำวะนี้ได้ สำเหตุที่ทำให้ปะกำรังฟอกขำวเป็นพื้นที่กว้ำง
ครอบคลุมพื้นที่น่ำนน้ำในระดับประเทศหรือครอบคลุมอำณำเขตกว้ำงในระดับภูมิภำคได้คือ
อุณหภูมิน้ำทะเลที่สูงขึ้นอย่ำงผิดปกติ ซึ่งในน่ำนน้ำไทย เคยได้รับผลกระทบเช่นนี้เมื่อปี
พ.ศ.2534 2538 2541 2546 2548 และ 2550 โดยปี พ.ศ.2534 และ 2538 แนวปะกำรัง
ทำงฝั่งทะเลอันดำมันได้รับควำมเสียหำยมำก พบว่ำปะกำรังตำยประมำณ 10-20% ส่วนใน
ปี พ.ศ.2541 ก่อให้เกิดควำมเสียหำยมำกทำงฝั่งอ่ำวไทย แต่ปีต่อๆ มำเกิดทำงฝั่งอันดำมัน
แต่ไม่พบควำมเสียหำยมำกนัก เพรำะปะกำรังสำมำรถฟื้นตัวกลับคืนสู่สภำพปกติได้เนื่องจำก
ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ซึ่งมำเร็วในตอนต้นฤดูช่วยบรรเทำทำให้อุณหภูมิน้ำทะเลลดลงได้
สำหรับในปี พ.ศ.2553 นับเป็นปีที่แนวปะกำรังเสียหำยมำกที่สุดเป็นประวัติกำรณ์
อุณหภูมิน้ำทะเลจำกปกติ 29 องศำเซลเซียสได้เริ่มสูงขึ้นเป็น 30 องศำเซลเซียสตั้งแต่ปลำย
เดือนมีนำคม พ.ศ.2553 สำมสัปดำห์ต่อมำปะกำรังได้เริ่มฟอกขำวแผ่พื้นที่เป็นวงกว้ำงคลุม
ทะเลทั้งฝั่งอันดำมันและอ่ำวไทย จำกกำรสำรวจโดยหลำยหน่วยงำน พบว่ำในแต่ละพื้นที่มี
ปะกำรังฟอกขำวมำกน้อยต่ำงกันไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับว่ำบริเวณนั้นมีปะกำรังชนิดใดเป็นพวกที่
ขึ้นครอบคลุมพื้นที่มำก (dominant group) หำกพวกที่ขึ้นคลุมพื้นที่มำกเป็นพวกที่ไวต่อ
กำรฟอกขำว พื้นที่นั้นก็จะได้รับผลกระทบมำก อย่ำงเช่น แนวปะกำรังที่มีปะกำรังเขำกวำง
(Acropora spp.) ขึ้นเป็นดงกว้ำงใหญ่ พื้นที่นั้นก็จะได้รับผลกระทบมำก
นอกจำกนี้ยังขึ้นอยู่กับว่ำชำยฝั่งที่แนวปะกรังขึ้นอยู่นั้นได้รับอิทธิพลจำกคลื่นลมมำก
น้อยเพียงไรด้วย ด้ำนที่รับแรงจำกคลื่นลมจะเป็นด้ำนที่อุณหภูมิไม่สูงอยู่ตลอดเวลำ (เช่น
ด้ำนตะวันตกของเกำะต่ำงๆ ทำงฝั่งทะเลอันดำมัน) ปะกำรังจึงฟอกขำวน้อยกว่ำด้ำนอื่น
เมื่อประมำณโดยภำพรวมทั่วประเทศแล้ว พบว่ำปะกำรังแต่ละแห่งฟอกขำวมำกถึง 30-
95% ปะกำรังทุกชนิดฟอกขำวเกือบทั้งหมด ยกเว้นเพียง 3-4 ชนิดเท่ำนั้นที่ยังคงต้ำนอยู่ได้
เช่น ปะกำรังสีน้ำเงิน (Heliopora coerulea) ปะกำรังลำยดอกไม้ (Pavona decussata)
และปะกำรังดำวใหญ่ (Diploastrea heliopora)
สำเหตุเกิดหลำยสำเหตุด้วยกัน เช่น ปรำกฏกำรณ์ แอลนิลโญ่ อุณหภูมิมีกำร
เปลี่ยนแปลง รังสีจำกดวงอำทิตย์ กำรถูกแดด-ลมฝนกระทำ ตะกอนและควำมขุ่นของน้ำ
ทะเล ควำมเค็ม สภำพและธำตุอำหำรในน้ำทะเล สำรเคมี หรือสำรชีวภำพที่มนุษย์ใช้ใน
ชีวิตปะจำวัน
สำเหตุสำคัญเกิดจำกภำวะโลกร้อน โดยอุณหภูมิน้ำในทะเลสูงขึ้นประมำณ 1-2
องศำเซลเซียส หรือผลจำกควำมเข้มข้นของแสง หรือสองปัจจัยนี้ร่วมกัน ส่งผลให้
สำหร่ำยซูแซนเทลลี ที่อำศัยอยู่ในปะกำรังทนอยู่ไม่ได้และหนีออกจำกปะกำรัง ทำให้
ปะกำรังกลำยเป็นสีขำว ไม่มีสีสัน คล้ำยหินปูน หำกอุณหภูมิน้ำทะเลหรือสภำพแวดล้อม
กลับคืนสู่สภำพปกติ ปะกำรังจะสำมำรถปรับสภำพและฟื้นตัวได้ ดังนั้นหำกในช่วง 2-3
สัปดำห์ อำกำศมีอุณหภูมิลดลง หรือมีฝนตกลงมำเล็กน้อย จะช่วยให้อุณหภูมิน้ำลดลง
ปะกำรังจะกลับมำมีชีวิตและมีสีสันอีกครั้ง
ปะกำรังที่ปรำศจำกสำหร่ำยเหล่ำนี้ก็ไม่มีโอกำสได้รับพลังงำนเสริมที่เพียงพอในกำร
ดำรงชีวิตหำกสถำนกำรณ์ดำรงเช่นนี้ต่อไปปะกำรังก็จะตำยในที่สุดเมื่อสำหร่ำยซูแซนเทลลี
ซึ่งเป็นสีสันของปะกำรัง ออกจำกตัวปะกำรังไปแล้วปะกำรังก็จะกลับคืนมำเป็นสีขำวซึ่งคือ
สีของปะกำรังเองดังนั้นปรำกฏกำรณ์ที่ทำให้สำหร่ำยซูแซนเทลลีออกจำกปะกำรังจึง
เรียกว่ำ ปรำกฏกำรณ์ปะกำรังฟอกขำว (coral bleaching)
สำหรับในพื้นที่ที่เป็นสถำนที่ท่องเที่ยว ควรลดหรืองดกิจกรรมท่องเที่ยวทำงทะเล
เพื่อช่วยลดมลพิษที่จะถูกปล่อยลงสู่ทะเล และให้เวลำปะกำรังในกำรฟื้นตัวกลับคืนสู่สภำพ
เดิมอีกครั้ง
ภำวะโลกร้อน (global warming) หมำยถึง กำรที่อุณหภูมิของโลกเพิ่มขึ้น อัน
เนื่องมำจำก ปัจจัยหลำยประกำรโดยเฉพำะ ปัจจัยที่เกิดจำก ภำวะ เรือนกระจก (green
house effect) ตั้งแต่ศตวรรษที่ผ่ำนมำ มนุษย์ได้หันไปพึ่งพำกำรเผำผลำญเชื้อเพลิงที่ได้มำ
จำกฟอสซิล เช่น น้ำมัน ถ่ำนหิน ก๊ำซธรรมชำติ เพื่อผลิตพลังงำนในกระบวนกำรกำรเผำ
ผลำญเชื้อเพลิงทำให้มีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เกิดขึ้นจำนวนมำก ก๊ำซนี้เมื่อถูกปล่อย
ออกไปแล้วจะถูกสะสมอยู่ที่ชั้นบรรยำกำศ และคอยกันควำมร้อนต่ำงๆ ที่ถูกปล่อยออกจำก
พื้นผิวโลกไม่ให้ควำมร้อนสำมำรถระบำยออกสู่นอกชั้นบรรยำกำศได้จึงเรียกก๊ำซ
คำร์บอนไดออกไซด์ว่ำเป็นก๊ำซเรือนกระจกและเรียกภำวะที่เกิดขึ้นว่ำภำวะเรือนกระจก ซึ่ง
ส่งผลให้เกิดภำวะโลกร้อนขึ้นตำมมำ
สันนิษฐำนว่ำเป็นผลกระทบมำจำกปรำกฏกำรณ์ เอลนินโญ่ ซึ่งทำให้อุณหภูมิของ
โลกและน้ำทะเล สูงขึ้น จนทำให้ปะกำรัง และสัตว์อื่นในบริเวณ แนวปะกำรังได้แก่
ดอกไม้ทะเล ถ้วย ทะเลและปะกำรังอ่อน เปลี่ยนจำกสีต่ำงๆ เป็นสีขำวและค่อยๆ ตำยไป
จำกกำรสำรวจพบว่ำขณะนี้ปะกำรังในอ่ำวไทยเปลี่ยนสีไปแล้วประมำ ณ 60 - 80%
ปรากฏการณ์ GREENHOUSE EFFECT
HTTP://WWW.WEATHERQUESTIONS.COM/WHAT_IS_THE_GREENHOUSE_EFFECT.HTM
กระแสน้าอุ่น กระแสน้าเย็น
HTTP://EMMARRGGH.DIARYIS.COM
วิกฤตปะการังฟอกขาวในไทย
แนวปะการังบริเวณฝั่งตะวันตกตามเกาะต่าง ๆ ทางฝั่งทะเลอันดามัน มีแนวโน้ม
การเกิดฟอกขาวน้อยกว่าด้านอื่นของเกาะ ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากการเคลื่อนที่ของมวล
น้าจากทะเลลึกที่เข้ามาช่วยบรรเทาผลของอุณหภูมิน้าทะเล นอกจากนี้ยังพบว่า
ปะการังลายดอกไม้(Pavona decussata) ปะการังดาวใหญ่ (Diploastrea heliopora )
เป็นชนิดที่มีแนวโน้มต้านทานต่อการฟอกขาวได้ดี
อนาคตของปะการังเนื่องมาจากภาวะโลกร้อน
ปะกำรังเป็นสิ่งมีชีวิตที่เก่ำแก่สิ่งหนึ่งที่ปรำกฏอยู่บนโลกมำนำนกว่ำ 200 ล้ำนปี ปัจจุบันแนว
ปะกำรังได้ลดลงไปอย่ำงมำกเมื่อเทียบกับในอดีต สำเหตุสำคัญที่ทำให้ปะกำรังถูกทำลำยและลด
จำนวนลงอย่ำงมำกเนื่องมำจำกกิจกรรมที่เป็นผลจำกกำรกระทำ ของมนุษย์ เช่นกำรทำประมงที่มำก
เกินไป กำรท่องเที่ยว เป็นต้น นอกจำกนั้นภำวะโลกร้อนก็เป็นอีกสำเหตุหนึ่งที่สำคัญในปัจจุบัน
นักวิทยำศำสตร์คำดกำรณ์ว่ำร้อยละ 70 ของปะกำรังจะตำยภำยใน 40 ปีข้ำงหน้ำหำกพวกเรำ ไม่
ช่วยกันป้องกันหรืออนุรักษ์ปะกำรัง กำรให้ควำมรู้แก่ประชำชนเกี่ยวกับภำวะโลกร้อนและผลกระทบ
ที่ตำมมำก็เป็นอีกวิธีกำรหนึ่ง ที่สำมำรถสร้ำงควำมเข้ำใจให้ประชำชนร่วมกันปกป้องรักษำปะกำรังได้
ผลกระทบที่ตำมมำเหล่ำนี้ สุดท้ำยอำจสะท้อนกลับมำสู่มนุษย์เรำผู้เริ่มต้นของปัญหำต่ำง ๆ นั่นเอง
เมื่อปะกำรังได้รับผลกระทบสิ่งมีชีวิตต่ำง ๆ หลำกหลำยที่อำศัยแนวปะกำรังเป็น ที่อยู่อำศัยเป็นแหล่ง
หำอำหำรหรือเป็นแหล่งหลบภัย ก็ไม่สำมำรถดำรงชีวิตอยู่ได้ รวมทั้งสัตว์เศรษฐกิจอีกมำกมำยที่
มนุษย์เรำใช้ประโยชน์ที่อำศัยอยู่ในแนวปะกำรังก็จะลดน้อยลง อีกทั้งสถำนที่พักผ่อนหย่อนใจ
สถำนที่ท่องเที่ยวอีกมำกมำยก็จะสูญหำยไปด้วย หำกมนุษย์เรำไม่คำนึงกันตั้งแต่บัดนี้ วันที่เรำไม่
อยำกเห็นก็อำจปรำกฏได้เร็วมำกขึ้นอย่ำงหลีกเลี่ยงไม่ได้
พื้นที่ที่มีปะกำรังฟอกขำวในแนวปะกำรังเหตุกำรณ์สำคัญที่เกิดขึ้นในช่วง 15 ปีที่ผ่ำน
YELLOW SPOTS INDICATE MAJOR BLEACHING EVENTS. จุดสีเหลืองบ่งบอกถึงเหตุกำรณ์ที่
สำคัญกำรฟอกสี
HTTP://WWW.MARINEBIOLOGY.ORG/CORALBLEACHING.HTM
HTTP://MRVOP.WORDPRESS.COM
HTTP://WWW.DMCR.GO.TH/MARINECENTER/CORAL-LESSON6.PHP
จำกกรำฟแสดงอุณหภูมิน้ำทะเลในแนวปะกำรังบริเวณเกำะภูเก็ตตั้งแต่ มกรำคม พ.ศ.2552 –
กันยำยน พ.ศ.2553 พบว่ำข้อมูลในกรอบเป็นช่วงที่อุณหภูมิน้ำทะเลขึ้นสูงกว่ำ 30 องศำเซลเซียสต่อเนื่องกัน
เป็นเวลำประมำณ 3 เดือน ทั้งนี้ประมำณไว้ว่ำ ณ อุณหภูมิตั้งแต่ 30 องศำเซลเซียสขึ้นไป เป็นจุดวิกฤตที่
กระตุ้นให้เกิดกำรฟอกขำวของปะกำรัง ทั้งนี้ขึ้นกับองค์ประกอบอื่นด้วยที่เป็นตัวกระตุ้นร่วม โดยเฉพำะควำม
เข้มของแสงแดด
HTTP://WWW.DMCR.GO.TH/MARINECENTER/CORAL-LESSON6.PHP
HTTP://WWW.DMCR.GO.TH/MARINECENTER/CORAL-LESSON6.PHP
 1. ปะกำรังเกิดควำมเสื่อมโทรม ส่งผลกระทบต่อภำคกำรท่องเที่ยว
 2. ปะกำรังฟอกขำวทำให้แนวปะกำรังเสื่อมโทรม ส่งผลให้กระทบต่อสมดุลในระบบ
นิเวศแนวปะกำรัง โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งโครงสร้ำงประชำคมปลำในแนวปะกำรังและ
สิ่งมีชีวิตในแนวปะกำรังชนิดอื่นๆ
 3. เพิ่มอัตรำกำรกร่อนทำงชีวภำพ (bioerosion) และทำลำยโครงสร้ำงของแนวปะกำรัง
 4. สังคมสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ อำจเจริญเติบโตแทนที่แนวปะกำรังเดิม
1. ลดกำรใช้สำรเคมีที่มี ปฏิกิริยำเรือนกระจกและเพิ่มเติมกำรปลูกป่ำ สร้ำงควำมชุ่มชื้นให้ผิวดิน
2. สร้ำงควำมรู้ ควำมเข้ำใจแก่ประชำชน นักท่องเที่ยว ผู้ประกอบกำรธุรกิจท่องเที่ยว
3.ลดผลกระทบจำกกิจกรรมกำรท่องเที่ยวที่ส่งผลกระทบต่อแนวปะกำรัง ด้วยกำรกำหนดพื้นที่
รูปแบบกิจกรรม
4.ผลักดันให้เรือท่องเที่ยวปรับปรุงเรือ โดยให้มีถังกักเก็บของเสียในเรือ
5.มีกำรจัดกำรอย่ำงเข้มงวดเพื่อลดปริมำณตะกอนจำกแผ่นดินลงสู่ทะเล
6.กำหนดมำตรกำรป้องกันกิจกรรมประมงที่ส่งผลกระทบต่อแนวปะกำรัง
7.ปิดพื้นที่ไม่ให้มีกำรใช้ประโยชน์ใดๆ ในพื้นที่แนวปะกำรัง
8.จัดสร้ำงแหล่งดำน้ำใหม่ หรือปะกำรังเทียมเสริมในบริเวณที่เหมำะสม
แนวปะการังในอ่าวทางทิศเหนือของเกาะราชาใหญ่ มีปะการังเขากวาง
(Acropora austera) ขึนอยู่เป็นดงกว้างใหญ่เริ่มฟอกขาวตังแต่เดือนพฤษภาคม
พ.ศ.2553 (ซ้าย) หลังจากนันในเดือนกันยายน เมื่อตรวจสอบอีกครังพบว่าปะการังเขา
กวางตายไปทังหมด (ขวา)
แนวปะการังสีน้าเงิน (Heliopora coerulea) ที่อ่าวฝั่งตะวันตกของเกาะราชา
ใหญ่ (ซ้าย) อ่าวทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะปายู (ขวา) ยังคงอยู่ในสภาพดี ไม่ได้
รับผลกระทบจากการฟอกขา
ปะการังโขด (Porites lutea) เริ่มกลับมามีสีน้าตาล เมื่ออุณหภูมิน้าลดลงสู่ปกติ
ในปลายเดือนมิถุนายน (ซ้าย) และจากการประเมินในหลายพืนที่ พบว่าปะการังโขด (P.
lutea) ตายจากการฟอกขาว 25-50% (ขวา)
แนวปะการังบริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2553 มีความสมบูรณ์
มาก (ซ้าย) หลังจากเกิดการฟอกขาวท้าให้แนวปะการังกลับอยู่ในสภาพเสียหายมาก
(ขวา)
แนวปะการังตามเวิงอ่าวทางฝั่งตะวันตกของเกาะต่างๆ ทางฝั่งทะเลอันดามัน
ได้รับอิทธิพลจากคลื่นใต้น้า (internal waves) ผลกระทบจากปะการังฟอกขาวจึงไม่
รุนแรงมาก
วัตถุประสงค์
 เพื่อศึกษำเกี่ยวกับกำรเปลี่ยนแปลงของปะกำรัง
 เพื่อศึกษำสำเหตุของกำรเกิดปะกำรังฟอกขำว
 เพื่อศึกษำแนวทำงกำรป้องกันกำรเกิดปะกำรังฟอกขำว
 เพื่อศึกษำถึงวิธีกำรอนุรักษ์ปะกำรัง
หลักการและทฤษฎี
ปะกำรังฟอกขำว เป็นสภำวะที่ปะกำรังสูญเสียสำหร่ำยเซลล์เดียวที่อำศัย
อยู่ภำยในเนื้อเยื่อ ทำให้ปะกำรังอ่อนแอเพรำะได้รับสำรอำหำรไม่เพียงพอแล
ปะกำรังอำจตำยไปในที่สุดถ้ำหำกไม่สำมำรถทนต่อสภำวะนี้ได้
ปะการัง จัดอยู่ในประเภทสัตว์ทะเลที่ไม่มีกระดูกสันหลัง (ที่มีกระดูกสัน
หลังคือปลำต่ำงๆ) ปะกำรังมีมำกมำยหลำยชนิดมีทั้งปะกำรังแข็ง ปะกำรังอ่อน
หลำกสีสันและหลำกหลำยรูปร่ำง
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
 ได้รับควำมรู้เกี่ยวกับกำรเปลี่ยนแปลงของปะกำรัง
 ได้ศึกษำสำเหตุของกำรเกิดปะกำรังฟอกขำว
 ได้ศึกษำแนวทำงกำรป้องกันกำรเกิดปะกำรังฟอกขำว
 ได้ศึกษำถึงวิธีกำรอนุรักษ์ปะกำรัง
 เวลำไปท่องเที่ยวบริเวณทะเลที่มีปะกำรังเรำก็จะได้ช่วยกันอนุรักษ์ปะกำรัง
ที่มาและความส้าคัญ
ปะกำรังเป็นสิ่งมี่ชีวิตซึ่งจัดเป็นสิ่งมีชีวิตที่ไม่มีกระดูสันหลัง ที่อำศัยอยู่ใต้ท้อง
ทะเลโดยปะกำรังเป็นแหล่งอำศัยและกันภัยของสิ่งมีชีวิต ใต้ท้องทะเล และปะกำรังยัง
สำมำรถบ่งบอกถึงควำมอุดมสมบูรณ์ของสิ่งมีชีวิตภำยใต้ท้องทะเลนั้นอีกด้วย ในช่วง
ไม่กี่ปีที่ผ่ำนมำแนวปะกำรังทั่วโลกต้องเผชิญกับภำวะฟอกขำวที่นับวันจะทวีควำม
รุนแรงและมีควำมถี่ในกำรเกิดบ่อยครั้งมำกขึ้นโดยแม้ขณะนี้ยังไม่มีคำตอบที่แน่ชัดของ
สำเหตุกำรเกิดปะกำรังฟอกขำวแต่นักวิชำกำรส่วนใหญ่เชื่อว่ำเป็นผลมำจำกกำร
แปรปรวนสภำพอำกำศเนื่องจำกภำวะโลกร้อนและปะกำรังยังเป็นที่พักอำศัยและที่
ป้องกันภัยของปลำ สัตว์ต่ำงๆที่อำศัยอยู่ในท้องทะเลและส่งผลให้แนวปะกำรังขำด
ควำมสวยงำมและระบบนิเวศเสื่อมโทรม อีกทั้งกำรเดปะกำรังฟอกขำวยังส่งผลในวง
กว้ำงของระบบนิเวศ ทำให้เกิดปัญหำอย่ำงรุนแรง ดังนั้นปะกำรังใต้ทะเลเป็นสิ่งที่เรำ
ควรเห็นคุณค่ำของปะกำรังอย่ำงมำกและควรที่จะได้รับรู้เกี่ยวกับกำรอนุรักษ์แนว
ปะกำรังและตัวปะกำรังเพื่อช่วยอนุรักษ์ปะกำรัง
ขอบเขตโครงงาน
 1. จัดทำโครงงำนคอมพิวเตอร์ เรื่องปะกำรังฟอกขำว
โดยนำเสนอในรูปแบบpowerpoint
 2. ศึกษำเรื่องปะกำรังฟอกขำว ว่ำเกิดขึ้นได้อย่ำงไร
และจะมีแนวทำงอนุรักษ์ได้อย่ำงไรบ้ำง
วิธีการด้าเนินการ
แนวทำงกำรดำเนินงำน
 1 คิดหัวข้อโครงงำนเพื่อนำเสนอครูที่ปรึกษำโครงงำน
 2 ศึกษำและค้นคว้ำข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจ คือเรื่องปะกำรังฟอกขำว ว่ำมีเนื้อหำมำกน้อย
เพียงใด และต้องศึกษำค้นคว้ำเพิ่มเติมเพียงใดจำกเว็บไซต์ต่ำงๆ และเก็บข้อมูลไว้เพื่อจัดทำเนื้อหำ
ต่อไป
 3จัดทำโครงร่ำงโครงงำนคอมพิวเตอร์เพื่อนำเสนอครูที่ปรึกษำ
 4 ปฏิบัติกำรจัดทำโครงงำนคอมพิวเตอร์ เรื่องปะกำรังฟอกขำว
 5 นำเสนอรำยงำนควำมก้ำวหน้ำเป็นระยะๆ โดยแจ้งให้ครูที่ปรึกษำโครงงำนเข้ำไปตรวจ
ควำมก้ำวหน้ำของโครงงำนผ่ำนของเรำ ซึ่งครูที่ปรึกษำจะให้ข้อเสนอแนะต่ำงๆ เพื่อให้จัดทำเนื้อหำ
และกำรนำเสนอที่น่ำสนใจต่อไป ทั้งนี้เมื่อได้รับคำแนะนำก็จะนำมำปรับปรุง แก้ไขให้เป็นที่สนใจ
ยิ่งขึ้น
 6 ประเมินผลงำน โดยกำรนำเสนอผ่ำน powerpoint แล้วให้ครูที่ปรึกษำประเมินผลงำน
วิธีการด้าเนินการ
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
 1 เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ำยอินเทอร์เน็ต
 2 เว็บไซต์ที่ใช้ในกำรติดต่อสื่อสำร เช่น www.facebook.com
www.hotmail.com www.google.com
 3 โปรแกรมตัดต่อและตกแต่งรูปภำพ เช่นAdobe Photoshop CS4 และ
PhotoScape2.0
แหล่งอ้างอิง
 http://marinegiscenter.dmcr.go.th/km/coral-blenching/
 http://www.mkh.in.th/index.php/2010-03-22-18-05-34/2011-08-
24-04-53-51

More Related Content

Viewers also liked

Coral bleaching
Coral bleachingCoral bleaching
Coral bleaching
Hafiz Zulkifili
 
Coral reefs & bleaching
Coral reefs & bleachingCoral reefs & bleaching
Coral reefs & bleaching
Taichi Kikuchi
 
Joomla 15 quickstart
Joomla 15 quickstartJoomla 15 quickstart
Joomla 15 quickstart
arslanpdf
 
How to insert you tube videos into moodle
How to insert you tube videos into moodleHow to insert you tube videos into moodle
How to insert you tube videos into moodle
Kammy Benham
 
Praktikum histo modul 6 i
Praktikum histo modul 6 iPraktikum histo modul 6 i
Praktikum histo modul 6 i
agnesbondang
 
Offline freelancerViet chủ đề: "What's new on Social Media"
Offline freelancerViet chủ đề: "What's new on Social Media"Offline freelancerViet chủ đề: "What's new on Social Media"
Offline freelancerViet chủ đề: "What's new on Social Media"
FreelancerViet
 
Offline freelancerViet chủ đề: "What's new on Social Media"
Offline freelancerViet chủ đề: "What's new on Social Media"Offline freelancerViet chủ đề: "What's new on Social Media"
Offline freelancerViet chủ đề: "What's new on Social Media"
FreelancerViet
 
John fante toza sor
John fante   toza sorJohn fante   toza sor
John fante toza sor
Oncü Yıldız
 
Customers & false advertising
Customers & false advertisingCustomers & false advertising
Customers & false advertising
Jia Lai
 
Eng presentation
Eng presentationEng presentation
Eng presentation
Jia Lai
 
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์firstyuppedu
 

Viewers also liked (13)

Coral bleaching
Coral bleachingCoral bleaching
Coral bleaching
 
Coral reefs & bleaching
Coral reefs & bleachingCoral reefs & bleaching
Coral reefs & bleaching
 
Joomla 15 quickstart
Joomla 15 quickstartJoomla 15 quickstart
Joomla 15 quickstart
 
How to insert you tube videos into moodle
How to insert you tube videos into moodleHow to insert you tube videos into moodle
How to insert you tube videos into moodle
 
Esitlus
EsitlusEsitlus
Esitlus
 
Praktikum histo modul 6 i
Praktikum histo modul 6 iPraktikum histo modul 6 i
Praktikum histo modul 6 i
 
Offline freelancerViet chủ đề: "What's new on Social Media"
Offline freelancerViet chủ đề: "What's new on Social Media"Offline freelancerViet chủ đề: "What's new on Social Media"
Offline freelancerViet chủ đề: "What's new on Social Media"
 
Offline freelancerViet chủ đề: "What's new on Social Media"
Offline freelancerViet chủ đề: "What's new on Social Media"Offline freelancerViet chủ đề: "What's new on Social Media"
Offline freelancerViet chủ đề: "What's new on Social Media"
 
John fante toza sor
John fante   toza sorJohn fante   toza sor
John fante toza sor
 
Customers & false advertising
Customers & false advertisingCustomers & false advertising
Customers & false advertising
 
Akta hkti
Akta hktiAkta hkti
Akta hkti
 
Eng presentation
Eng presentationEng presentation
Eng presentation
 
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

More from firstyuppedu

ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
firstyuppedu
 
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
firstyuppedu
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
firstyuppedu
 
ข้อสบโค้วตา มช วิชา สังคมศึกษา ปี2552
ข้อสบโค้วตา มช วิชา สังคมศึกษา ปี2552ข้อสบโค้วตา มช วิชา สังคมศึกษา ปี2552
ข้อสบโค้วตา มช วิชา สังคมศึกษา ปี2552firstyuppedu
 
ข้อสอบโค้วตา มช ปี 2552 วิชาภาษาไทย
ข้อสอบโค้วตา มช ปี 2552 วิชาภาษาไทยข้อสอบโค้วตา มช ปี 2552 วิชาภาษาไทย
ข้อสอบโค้วตา มช ปี 2552 วิชาภาษาไทยfirstyuppedu
 
ข้อสอบโค้วตา มช วิชาวิทยาศาสตร์1 ปี2552
ข้อสอบโค้วตา มช วิชาวิทยาศาสตร์1 ปี2552ข้อสอบโค้วตา มช วิชาวิทยาศาสตร์1 ปี2552
ข้อสอบโค้วตา มช วิชาวิทยาศาสตร์1 ปี2552firstyuppedu
 
ข้อสอบโค้วตา มช วิชาคณิตศาสตร์ ปี 52
ข้อสอบโค้วตา มช วิชาคณิตศาสตร์ ปี 52ข้อสอบโค้วตา มช วิชาคณิตศาสตร์ ปี 52
ข้อสอบโค้วตา มช วิชาคณิตศาสตร์ ปี 52firstyuppedu
 

More from firstyuppedu (8)

ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
5555
55555555
5555
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
 
ข้อสบโค้วตา มช วิชา สังคมศึกษา ปี2552
ข้อสบโค้วตา มช วิชา สังคมศึกษา ปี2552ข้อสบโค้วตา มช วิชา สังคมศึกษา ปี2552
ข้อสบโค้วตา มช วิชา สังคมศึกษา ปี2552
 
ข้อสอบโค้วตา มช ปี 2552 วิชาภาษาไทย
ข้อสอบโค้วตา มช ปี 2552 วิชาภาษาไทยข้อสอบโค้วตา มช ปี 2552 วิชาภาษาไทย
ข้อสอบโค้วตา มช ปี 2552 วิชาภาษาไทย
 
ข้อสอบโค้วตา มช วิชาวิทยาศาสตร์1 ปี2552
ข้อสอบโค้วตา มช วิชาวิทยาศาสตร์1 ปี2552ข้อสอบโค้วตา มช วิชาวิทยาศาสตร์1 ปี2552
ข้อสอบโค้วตา มช วิชาวิทยาศาสตร์1 ปี2552
 
ข้อสอบโค้วตา มช วิชาคณิตศาสตร์ ปี 52
ข้อสอบโค้วตา มช วิชาคณิตศาสตร์ ปี 52ข้อสอบโค้วตา มช วิชาคณิตศาสตร์ ปี 52
ข้อสอบโค้วตา มช วิชาคณิตศาสตร์ ปี 52
 

Coral reef-bleaching