SlideShare a Scribd company logo
หน่วยที่ 2 
กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ 
วิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ครูณปภัช ไชยศรีสังข์
LOGO 
ภาพรวมในการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ 
การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ มุ่งการออกแบบ 
สื่อสิ่งพิมพ์ให้แสดงเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัย 
เทคโนโลยีสุรนารีอย่างโดดเด่น โดยกาหนดสื่อ 
สิ่งพิมพ์แต่ละประเภทให้มีขนาดและรูปแบบเฉพาะ 
แบบเดียวกัน เพื่อแสดงถึงเอกลักษณ์และบูรณภาพ 
YOUR SITE HERE
LOGO 
บทบาทอาจารย์ นักวัดผล นักเทคโนโลยีการศึกษา 
และนักศึกษา 
อาจารย์และผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งเป็นนักวิชาการด้านเนื้อหา 
เป็นผู้เขียนเนื้อหาสาระของแต่ละรายวิชาที่จะนามาผลิต 
เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ 
นักวัดผลการศึกษา มีบทบาทร่วมกับนักวิชาการด้าน 
เนื้อหาในการกาหนดวัตถุประสงค์การเรียน ออกแบบ 
ประเมินก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน การจัดทา 
ข้อสอบประเภทต่าง ๆ เพื่อเป็นเครื่องมือใช้ในการ 
ประเมินผลการศึกษา รวมไปถึงการวิเคราะห์ข้อสอบและ 
การสร้างคลังข้อสอบประจาวิชา 
YOUR SITE HERE
LOGO 
บทบาทอาจารย์ นักวัดผล นักเทคโนโลยีการศึกษา 
และนักศึกษา 
นักเทคโนโลยีการศึกษา มีบทบาทในการออกแบบ 
ภาพประกอบและกราฟฟิกของสื่อสิ่งพิมพ์ 
นักศึกษา มีบทบาทที่สาคัญในการเรียนรู้และร่วมทดสอบ 
ประเมินประสิทธิภาพของสื่อสิ่งพิมพ์ โดยให้ข้อคิดเห็น 
เกี่ยวกับการใช้สื่อสิ่งพิมพ์ 
YOUR SITE HERE
LOGO 
YOUR SITE HERE 
อุปกรณ์การผลิต 
ในระยะแรกที่ทางมหาวิทยาลัยยังไม่มีโรงพิมพ์เป็น 
ของตนเอง สื่อสิ่งพิมพ์ทุกประเภทสามารถดาเนินการผลิต 
ได้ที่ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา และอุปกรณ์ที่ใช้ในการ 
ออกแบบสิ่งพิมพ์ซึ่ง ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ 
ต่อพ่วง อาทิเช่น เครื่องสแกนเนอร์ เครื่องพิมพ์เลเซอร์ Zip 
Drive เป็นต้น เครื่องมือเหล่านี้จะต้องเป็นเครื่องมือที่ 
ทันสมัยและมีความเร็ว
LOGO 
YOUR SITE HERE 
สภาพแวดล้อมในการผลิต 
ตามทมี่หาวิทยาลัยจัดต้งัหน่วยผลิตและพัฒนา 
สื่อการศึกษา เพื่อเป็นหน่วยกลางในการผลิตสื่อมัลติมีเดีย 
ท้งัสื่อภาพ สื่อเสียง สื่อกราฟิก และสื่อพิมพ์ เพอื่นาไปใช้ใน 
ระบบการศึกษาไร้พรมแดนและเพื่อการปฏิบัติงานของ 
หน่วยงานอื่นในมหาวิทยาลัย งานผลิตสื่อสิ่งพิมพ์สามารถ 
ใช้สิ่งอานวยความสะดวกของหน่วยฯ นี้ได้ โดย 
สภาพแวดล้อมในด้านการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์นั้นต้องให้มคีวาม 
เหมาะสมในด้านบรรยากาศที่เอื้ออานวยต่อการออกแบบสื่อ 
โดยมีอุณหภูมิและแสงสว่างที่เหมาะสม
LOGO 
YOUR SITE HERE 
ข้นัตอนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ 
ข้นัตอนในการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ มีข้นัตอนหลัก 
4 ขั้นตอนได้แก่ ขั้นวางแผน ขั้นเตรียมการ ขั้นผลิตและข้นั 
ประเมิน 
1. ข้นัวางแผน 
2. ขั้นเตรียมการ 
3. ขั้นผลิต 
4. ข้นัประเมิน
LOGO 
YOUR SITE HERE 
การประเมินผลสื่อสิ่งพิมพ์ 
1. การทดลองใช้เบื้องต้น 
เป็นการนาสิ่งพิมพ์ทไี่ด้ผลิตข้นึทั้งหมดไปทดสอบเบื้องต้น 
เนื้อหาข้อผิดพลาดและปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 
2. การทดลองใช้จริง 
เป็นการนาสื่อสิ่งพิมพ์ตามที่ปรับปรุงแล้วไปใช้ในการเรียน 
การสอนจริงและประเมินผล โดยสอบถามจากนักศึกษาทุกภาค 
การศึกษา
LOGO 
YOUR SITE HERE 
ข้อดีของสื่อสิ่งพิมพ์ 
 1. มีเนื้อที่มีความหลากหลายเพียงพอที่จะใช้บรรจุ 
เนื้อหาสาระ ข้อความภาพต่าง ๆ ได้ตามความมุ่งหมาย 
ของการประชาสัมพันธ์ 
 2. ดึงดูดความสนใจ หรือความสะดวกในการหยิบใช้ 
 3. เข้าถึงกลุ่มประชนชนเป้าหมายได้อย่างมี 
ประสิทธิภาพ อายุการใช้ งานนาน 
 4. ให้ข่าวสาร เนื้อหาสาระความรู้ความเข้าใจอย่าง 
ต่อเนื่องด้วย รูปแบบการนาเสนอต่าง ๆ กัน
LOGO 
YOUR SITE HERE 
ข้อดีของสื่อสิ่งพิมพ์ 
 5.เป็นวิธีการเรียนรู้ที่ดีที่สุดวิธีหนึ่ง 
 6.สามารถอ่านได้ตามความสามารถของแต่ละบุคคลและ 
สามารถนาติดตัวไปทุกหนแห่ง 
 7. เหมาะสาหรับการอ้างอิงหรือทบทวน และสาหรับการ 
ผลิตเป็นจานวนมาก สะดวกในการแก้ไข ปรับปรุงเนื้อหา 
ใหม่ 
 8. เป็นสื่อมีราคาถูก เมื่อผลิตครั้งละจาวนวนมากๆ คงทน 
และเก็บได้เป็นเวลานาน
LOGO 
YOUR SITE HERE 
ข้อเสียของสื่อสิ่งพิมพ์ 
 1. ถ้าจะทาให้ดีต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง 
 2. ต้องอาศัยความสามารถในการอ่าน นั่นคือ ประชาชน 
กลุ่มเป้าหมายจะต้องเป็นผู้ที่อ่านออกเขียนได้ 
 3. หากต้องการคุณภาพสิ่งพิมพ์ที่มีคุณภาพดีต้องใช้ 
ต้นทุนที่สูง 
4. บางครั้งต้องพิมพ์ใหม่เพื่อปรับปรุงข้อมูลที่ล้าสมัย 
5. ต้องอาศัยความสามารถในการอ่าน เพราะผู้ที่ไม่รู้ 
หนังสือไม่สามารถอ่านให้เข้าใจได้
LOGO 
YOUR SITE HERE 
คุณค่าของสื่อสิ่งพิมพ์ 
 1. ใช้ประกอบคาบรรยายในการสอน 
 2. ช่วยเป็นแนวทางในการกาหนดเนื้อหาในรูปแบบ 
เดียวกัน 
 3. ช่วยให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าได้ตลอดเวลาที่ต้องการ 
และใช้เป็นหลักฐานทางวิชาการ 
 4. เป็นสื่อพื้นฐานทางด้านการเรียนการสอน 
 5. ใช้เป็นสื่อเพื่อการเผยแพร่โฆษณาประชาสัมพันธ์
LOGO 
YOUR SITE HERE 
ประเภทของการพิมพ์ 
 1. การพิมพ์โดยแม่พิมพ์ร่องลึก (Intaglio Printing) 
 2. การพิมพ์โดยแม่พิมพ์พื้นแบน (Planographic 
printing) 
 3. การพิมพ์โดยแม่พิมพ์นูน (Relief Printing) 
 4. การพิมพ์โดยแม่พิมพ์ลายฉลุ (Screen-Process 
Printing) 
 5. การพิมพ์ด้วยแสงโดยวิธีการถ่ายเอกสาร 
(Photographic Printing) 
 6. ระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในการพิมพ์
LOGO 
การพิมพ์โดยแม่พิมพ์ร่องลึก (Intaglio 
Printing) 
วิธีการพิมพ์แบบนี้ จะทาแม่พิมพ์โดยการกัดแบบให้ 
เป็นร่องลงไปในแม่พิมพ์ ส่วนที่เป็นผิวเรียบด้านหน้าใช้ 
น้ายาเคลือบผิว เพื่อกันหมึกไหลมาเกาะ เมื่อนาหมึกทางลง 
บนแม่พิมพ์ หมึกจะลงไปขังในร่องที่กัดไว้หลังจากนั้นนา 
กระดาษที่ต้องการพิมพ์วางทับบน แม่พิมพ์ หมึกก็จะติด 
ออกมาตามต้องการ งานพิมพ์ประเภทนี้เป็นชนิดที่มี 
คุณภาพยอดเยี่ยม ตัวพิพม์จะนูนทั้ง ภาพลายเส้นและ 
ตัวหนังสือ นิยมใช้พิมพ์เอกสารสาคัญเพื่อป้องกันการ 
ปลอมแปลงหรือทาเลียนแบบ 
YOUR SITE HERE
LOGO 
การพิมพ์โดยแม่พิมพ์พื้นแบน (planographic 
Printing) 
แม่พิมพ์ชนิดนี้จะมีลักษณะเป็นแผ่นแบน (Plate) 
การพิมพ์จะอาศัยหลักการทางเคมีคือ เมื่อจัดทาภาพบน 
แผ่นโลหะแบนแล้ว คุณสมบัติที่ต้องการคือ เมื่อทาหมึกลง 
บนแผ่นนั้นส่วนที่เป็นภาพจะดูดหมึกไว้ส่วนที่ไม่มีภาพคือ 
ไม่ต้องการพิมพ์จะไม่ดูดหมึก เมื่อนาไปกดทับกระดาษหมึก 
ก็จะติดบนกระดาษเป็นภาพที่ต้องการได้ การพิมพ์แบบนี้ 
เป็นที่นิยมมากเรียกว่าระบบออฟเซท (Offset) เหมาะ 
สาหรับการพิมพ์ตัวหนังสือและภาพหลายเส้น ลงบน 
แผ่นกระดาษ แผ่นโลหะ หรือผ้าก็ได้ 
YOUR SITE HERE
LOGO 
การพิมพ์ออฟเซท (offset Printing) 
 1. ลูกโมใช้หุ้มแผ่นแม่พิมพ์ 
 2. ทาหน้าที่รับภาพจากแผ่นแม่พิมพ์ เรียกว่า 
ลูกโมยาง (Blanket Cylinder) 
 3. ทาหน้าที่กดกระดาษให้แนบกับลูกโมยาง เพื่อให้หมึก 
ติดเป็นภาพลงบนกระดาษ (Impression cylinder) 
YOUR SITE HERE
LOGO 
การพิมพ์โดยแม่พิมพ์นูน (Relief Printing) 
การพิมพ์วิธีนี้เป็นการแกะหรือกัดบล็อค หรือการใช้ 
ตัวอักษรหล่อเป็นตัวนูน เมื่อนาหมึกทาลงบนหน้าของบล็อค แล้ว 
นาไปกดทับบนกระดาษก็จะได้ภาพบนกระดาษนั้น แม่พิมพ์ไม่ว่าจะ 
เป็นภาพหรือตัวอักษรจะต้องกลับซ้ายขวา เพราะการพิมพ์จะ 
เหมือนกับการกดด้วยตรายาง ภาพจะกลับเป็นจริงบน 
กระดาษ แม่พิมพ์อาจทาได้หลายวิธี เช่น การแกะด้วยมือ การหล่อ 
หรือจะใช้วิธีการแกะบล็อคก็ได้ โดยเฉพาะแม่พิมพ์เป็นภาพจาก 
ภาพถ่าย สาหรับวิธีการหล่อส่วนมาก จะหล่อเป็นตัวอักษรนามา 
เรียง เรียกว่า ตัวเรียงพิมพ์ (Letter press) จึงเรียกว่าการพิมพ์แบบ 
ตัวเรียง (Letter Press Printing) 
YOUR SITE HERE
LOGO 
การพิมพ์โดยแม่พิมพ์ลายฉลุ (Screen-Process 
printing) 
 1. การฉลุด้วยมือ (Hand Cut Stencil) 
 2. การใช้วิธีการถ่ายภาพ (Photo Stencil) 
 3. การใช้เครื่องปรุไขอิเล็คโทรนิคส์ 
YOUR SITE HERE
LOGO 
การพิมพ์ด้วยแสงโดยวิธีการถ่ายเอกสาร 
 1. แสงสว่างจากหลดไฟส่องไปกระทบกับ 
ต้นฉบับและสะท้อนภาพไปยัง Drum 
 2. เกิดไฟฟ้าสถิตบนผิว Drum บริเวณที่ไม่ได้รับ 
แสงสะท้อนที่เป็นภาพ 
 3. ผงแม่เหล็กที่อยู่ในกล่องรวมกับผงหมึกถูก 
ส่งออกมาเกาะที่ผิว Drum เฉพาะบริเวณที่เป็นภาพ 
 4. แผ่นกระดาษเคลื่อนที่ผ่าน 
YOUR SITE HERE
LOGO 
YOUR SITE HERE 
การพิมพ์ด้วยแสงโดยวิธีการถ่ายเอกสาร 
 5. เกิดประจุที่มีกาลังสูงกว่า บนเส้นลวดใต้แผ่นกระดาษที่กาลัง 
เคลื่อนที่การเคลื่อนที่ของกระดาษจะ สัมพันธ์กับ Drum 
 6. ผงเหล็กจะพาผงหมึกลงมาที่กระดาษ ที่จริงแล้วจะมาที่ 
เส้นลวดแต่มีกระดาษ ขวางอยู่ผงจึงติดอยู่ บนกระดาษ ภาพจึง 
มาปรากฏบนกระดาษเพราะมีผงหมึกที่ถูกดูดลงมาตามลักษณะ 
ของภาพ 
 7. กระดาษที่มีภาพปรากฏ เคลื่อนที่ผ่านลูกกลิ้งความร้อนและ 
อัดให้ผงหมึกละลายติดแน่นเป็นภาพที่คง ทนตามต้องการ
LOGO 
ระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในการพิมพ์ 
YOUR SITE HERE 
 เครื่องพิมพ์แบบ Dot Matrix 
 เครื่องพิมพ์แบบ Inkjet 
 เลเซอร์ (Laser Printer)
LOGO 
จบการนาเสนอ 
YOUR SITE HERE

More Related Content

Similar to Caption2

ประเภทของโครงงาน แบ งได เป_น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ งได เป_น 5 ประเภทประเภทของโครงงาน แบ งได เป_น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ งได เป_น 5 ประเภทสุชาติ องค์มิ้น
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์apichaya413
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sornnarin Wuthifuey
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kanokwan Pudlee
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kanokwan Pudlee
 
การทำแผ่นพับด้วย Publisher
การทำแผ่นพับด้วย Publisherการทำแผ่นพับด้วย Publisher
การทำแผ่นพับด้วย Publisher
Duangnapa Inyayot
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3Aungkana Na Na
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3Aungkana Na Na
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานmacnetic
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานcartoon656
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 84315609
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8
แทน จิบิ
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานPuifai Sineenart Phromnin
 
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานNet'Net Zii
 
Lesson 1การเริ่มต้นใช้โปรแกรม
Lesson 1การเริ่มต้นใช้โปรแกรมLesson 1การเริ่มต้นใช้โปรแกรม
Lesson 1การเริ่มต้นใช้โปรแกรมErrorrrrr
 
Projectm6 2-2554 sakboss
Projectm6 2-2554 sakbossProjectm6 2-2554 sakboss
Projectm6 2-2554 sakbossTheyok Tanya
 
งานคอมเรื่อง กราฟฟิค ดรีม
งานคอมเรื่อง กราฟฟิค ดรีมงานคอมเรื่อง กราฟฟิค ดรีม
งานคอมเรื่อง กราฟฟิค ดรีมKittitud SaLad
 

Similar to Caption2 (20)

ประเภทของโครงงาน แบ งได เป_น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ งได เป_น 5 ประเภทประเภทของโครงงาน แบ งได เป_น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ งได เป_น 5 ประเภท
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Unit6
Unit6Unit6
Unit6
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
Photoshop cs
Photoshop csPhotoshop cs
Photoshop cs
 
การทำแผ่นพับด้วย Publisher
การทำแผ่นพับด้วย Publisherการทำแผ่นพับด้วย Publisher
การทำแผ่นพับด้วย Publisher
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
Lesson 1การเริ่มต้นใช้โปรแกรม
Lesson 1การเริ่มต้นใช้โปรแกรมLesson 1การเริ่มต้นใช้โปรแกรม
Lesson 1การเริ่มต้นใช้โปรแกรม
 
Projectm6 2-2554 sakboss
Projectm6 2-2554 sakbossProjectm6 2-2554 sakboss
Projectm6 2-2554 sakboss
 
งานคอมเรื่อง กราฟฟิค ดรีม
งานคอมเรื่อง กราฟฟิค ดรีมงานคอมเรื่อง กราฟฟิค ดรีม
งานคอมเรื่อง กราฟฟิค ดรีม
 

Caption2

  • 1. หน่วยที่ 2 กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ วิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ครูณปภัช ไชยศรีสังข์
  • 2. LOGO ภาพรวมในการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ มุ่งการออกแบบ สื่อสิ่งพิมพ์ให้แสดงเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารีอย่างโดดเด่น โดยกาหนดสื่อ สิ่งพิมพ์แต่ละประเภทให้มีขนาดและรูปแบบเฉพาะ แบบเดียวกัน เพื่อแสดงถึงเอกลักษณ์และบูรณภาพ YOUR SITE HERE
  • 3. LOGO บทบาทอาจารย์ นักวัดผล นักเทคโนโลยีการศึกษา และนักศึกษา อาจารย์และผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งเป็นนักวิชาการด้านเนื้อหา เป็นผู้เขียนเนื้อหาสาระของแต่ละรายวิชาที่จะนามาผลิต เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ นักวัดผลการศึกษา มีบทบาทร่วมกับนักวิชาการด้าน เนื้อหาในการกาหนดวัตถุประสงค์การเรียน ออกแบบ ประเมินก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน การจัดทา ข้อสอบประเภทต่าง ๆ เพื่อเป็นเครื่องมือใช้ในการ ประเมินผลการศึกษา รวมไปถึงการวิเคราะห์ข้อสอบและ การสร้างคลังข้อสอบประจาวิชา YOUR SITE HERE
  • 4. LOGO บทบาทอาจารย์ นักวัดผล นักเทคโนโลยีการศึกษา และนักศึกษา นักเทคโนโลยีการศึกษา มีบทบาทในการออกแบบ ภาพประกอบและกราฟฟิกของสื่อสิ่งพิมพ์ นักศึกษา มีบทบาทที่สาคัญในการเรียนรู้และร่วมทดสอบ ประเมินประสิทธิภาพของสื่อสิ่งพิมพ์ โดยให้ข้อคิดเห็น เกี่ยวกับการใช้สื่อสิ่งพิมพ์ YOUR SITE HERE
  • 5. LOGO YOUR SITE HERE อุปกรณ์การผลิต ในระยะแรกที่ทางมหาวิทยาลัยยังไม่มีโรงพิมพ์เป็น ของตนเอง สื่อสิ่งพิมพ์ทุกประเภทสามารถดาเนินการผลิต ได้ที่ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา และอุปกรณ์ที่ใช้ในการ ออกแบบสิ่งพิมพ์ซึ่ง ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ต่อพ่วง อาทิเช่น เครื่องสแกนเนอร์ เครื่องพิมพ์เลเซอร์ Zip Drive เป็นต้น เครื่องมือเหล่านี้จะต้องเป็นเครื่องมือที่ ทันสมัยและมีความเร็ว
  • 6. LOGO YOUR SITE HERE สภาพแวดล้อมในการผลิต ตามทมี่หาวิทยาลัยจัดต้งัหน่วยผลิตและพัฒนา สื่อการศึกษา เพื่อเป็นหน่วยกลางในการผลิตสื่อมัลติมีเดีย ท้งัสื่อภาพ สื่อเสียง สื่อกราฟิก และสื่อพิมพ์ เพอื่นาไปใช้ใน ระบบการศึกษาไร้พรมแดนและเพื่อการปฏิบัติงานของ หน่วยงานอื่นในมหาวิทยาลัย งานผลิตสื่อสิ่งพิมพ์สามารถ ใช้สิ่งอานวยความสะดวกของหน่วยฯ นี้ได้ โดย สภาพแวดล้อมในด้านการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์นั้นต้องให้มคีวาม เหมาะสมในด้านบรรยากาศที่เอื้ออานวยต่อการออกแบบสื่อ โดยมีอุณหภูมิและแสงสว่างที่เหมาะสม
  • 7. LOGO YOUR SITE HERE ข้นัตอนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ข้นัตอนในการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ มีข้นัตอนหลัก 4 ขั้นตอนได้แก่ ขั้นวางแผน ขั้นเตรียมการ ขั้นผลิตและข้นั ประเมิน 1. ข้นัวางแผน 2. ขั้นเตรียมการ 3. ขั้นผลิต 4. ข้นัประเมิน
  • 8. LOGO YOUR SITE HERE การประเมินผลสื่อสิ่งพิมพ์ 1. การทดลองใช้เบื้องต้น เป็นการนาสิ่งพิมพ์ทไี่ด้ผลิตข้นึทั้งหมดไปทดสอบเบื้องต้น เนื้อหาข้อผิดพลาดและปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 2. การทดลองใช้จริง เป็นการนาสื่อสิ่งพิมพ์ตามที่ปรับปรุงแล้วไปใช้ในการเรียน การสอนจริงและประเมินผล โดยสอบถามจากนักศึกษาทุกภาค การศึกษา
  • 9. LOGO YOUR SITE HERE ข้อดีของสื่อสิ่งพิมพ์  1. มีเนื้อที่มีความหลากหลายเพียงพอที่จะใช้บรรจุ เนื้อหาสาระ ข้อความภาพต่าง ๆ ได้ตามความมุ่งหมาย ของการประชาสัมพันธ์  2. ดึงดูดความสนใจ หรือความสะดวกในการหยิบใช้  3. เข้าถึงกลุ่มประชนชนเป้าหมายได้อย่างมี ประสิทธิภาพ อายุการใช้ งานนาน  4. ให้ข่าวสาร เนื้อหาสาระความรู้ความเข้าใจอย่าง ต่อเนื่องด้วย รูปแบบการนาเสนอต่าง ๆ กัน
  • 10. LOGO YOUR SITE HERE ข้อดีของสื่อสิ่งพิมพ์  5.เป็นวิธีการเรียนรู้ที่ดีที่สุดวิธีหนึ่ง  6.สามารถอ่านได้ตามความสามารถของแต่ละบุคคลและ สามารถนาติดตัวไปทุกหนแห่ง  7. เหมาะสาหรับการอ้างอิงหรือทบทวน และสาหรับการ ผลิตเป็นจานวนมาก สะดวกในการแก้ไข ปรับปรุงเนื้อหา ใหม่  8. เป็นสื่อมีราคาถูก เมื่อผลิตครั้งละจาวนวนมากๆ คงทน และเก็บได้เป็นเวลานาน
  • 11. LOGO YOUR SITE HERE ข้อเสียของสื่อสิ่งพิมพ์  1. ถ้าจะทาให้ดีต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง  2. ต้องอาศัยความสามารถในการอ่าน นั่นคือ ประชาชน กลุ่มเป้าหมายจะต้องเป็นผู้ที่อ่านออกเขียนได้  3. หากต้องการคุณภาพสิ่งพิมพ์ที่มีคุณภาพดีต้องใช้ ต้นทุนที่สูง 4. บางครั้งต้องพิมพ์ใหม่เพื่อปรับปรุงข้อมูลที่ล้าสมัย 5. ต้องอาศัยความสามารถในการอ่าน เพราะผู้ที่ไม่รู้ หนังสือไม่สามารถอ่านให้เข้าใจได้
  • 12. LOGO YOUR SITE HERE คุณค่าของสื่อสิ่งพิมพ์  1. ใช้ประกอบคาบรรยายในการสอน  2. ช่วยเป็นแนวทางในการกาหนดเนื้อหาในรูปแบบ เดียวกัน  3. ช่วยให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าได้ตลอดเวลาที่ต้องการ และใช้เป็นหลักฐานทางวิชาการ  4. เป็นสื่อพื้นฐานทางด้านการเรียนการสอน  5. ใช้เป็นสื่อเพื่อการเผยแพร่โฆษณาประชาสัมพันธ์
  • 13. LOGO YOUR SITE HERE ประเภทของการพิมพ์  1. การพิมพ์โดยแม่พิมพ์ร่องลึก (Intaglio Printing)  2. การพิมพ์โดยแม่พิมพ์พื้นแบน (Planographic printing)  3. การพิมพ์โดยแม่พิมพ์นูน (Relief Printing)  4. การพิมพ์โดยแม่พิมพ์ลายฉลุ (Screen-Process Printing)  5. การพิมพ์ด้วยแสงโดยวิธีการถ่ายเอกสาร (Photographic Printing)  6. ระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในการพิมพ์
  • 14. LOGO การพิมพ์โดยแม่พิมพ์ร่องลึก (Intaglio Printing) วิธีการพิมพ์แบบนี้ จะทาแม่พิมพ์โดยการกัดแบบให้ เป็นร่องลงไปในแม่พิมพ์ ส่วนที่เป็นผิวเรียบด้านหน้าใช้ น้ายาเคลือบผิว เพื่อกันหมึกไหลมาเกาะ เมื่อนาหมึกทางลง บนแม่พิมพ์ หมึกจะลงไปขังในร่องที่กัดไว้หลังจากนั้นนา กระดาษที่ต้องการพิมพ์วางทับบน แม่พิมพ์ หมึกก็จะติด ออกมาตามต้องการ งานพิมพ์ประเภทนี้เป็นชนิดที่มี คุณภาพยอดเยี่ยม ตัวพิพม์จะนูนทั้ง ภาพลายเส้นและ ตัวหนังสือ นิยมใช้พิมพ์เอกสารสาคัญเพื่อป้องกันการ ปลอมแปลงหรือทาเลียนแบบ YOUR SITE HERE
  • 15. LOGO การพิมพ์โดยแม่พิมพ์พื้นแบน (planographic Printing) แม่พิมพ์ชนิดนี้จะมีลักษณะเป็นแผ่นแบน (Plate) การพิมพ์จะอาศัยหลักการทางเคมีคือ เมื่อจัดทาภาพบน แผ่นโลหะแบนแล้ว คุณสมบัติที่ต้องการคือ เมื่อทาหมึกลง บนแผ่นนั้นส่วนที่เป็นภาพจะดูดหมึกไว้ส่วนที่ไม่มีภาพคือ ไม่ต้องการพิมพ์จะไม่ดูดหมึก เมื่อนาไปกดทับกระดาษหมึก ก็จะติดบนกระดาษเป็นภาพที่ต้องการได้ การพิมพ์แบบนี้ เป็นที่นิยมมากเรียกว่าระบบออฟเซท (Offset) เหมาะ สาหรับการพิมพ์ตัวหนังสือและภาพหลายเส้น ลงบน แผ่นกระดาษ แผ่นโลหะ หรือผ้าก็ได้ YOUR SITE HERE
  • 16. LOGO การพิมพ์ออฟเซท (offset Printing)  1. ลูกโมใช้หุ้มแผ่นแม่พิมพ์  2. ทาหน้าที่รับภาพจากแผ่นแม่พิมพ์ เรียกว่า ลูกโมยาง (Blanket Cylinder)  3. ทาหน้าที่กดกระดาษให้แนบกับลูกโมยาง เพื่อให้หมึก ติดเป็นภาพลงบนกระดาษ (Impression cylinder) YOUR SITE HERE
  • 17. LOGO การพิมพ์โดยแม่พิมพ์นูน (Relief Printing) การพิมพ์วิธีนี้เป็นการแกะหรือกัดบล็อค หรือการใช้ ตัวอักษรหล่อเป็นตัวนูน เมื่อนาหมึกทาลงบนหน้าของบล็อค แล้ว นาไปกดทับบนกระดาษก็จะได้ภาพบนกระดาษนั้น แม่พิมพ์ไม่ว่าจะ เป็นภาพหรือตัวอักษรจะต้องกลับซ้ายขวา เพราะการพิมพ์จะ เหมือนกับการกดด้วยตรายาง ภาพจะกลับเป็นจริงบน กระดาษ แม่พิมพ์อาจทาได้หลายวิธี เช่น การแกะด้วยมือ การหล่อ หรือจะใช้วิธีการแกะบล็อคก็ได้ โดยเฉพาะแม่พิมพ์เป็นภาพจาก ภาพถ่าย สาหรับวิธีการหล่อส่วนมาก จะหล่อเป็นตัวอักษรนามา เรียง เรียกว่า ตัวเรียงพิมพ์ (Letter press) จึงเรียกว่าการพิมพ์แบบ ตัวเรียง (Letter Press Printing) YOUR SITE HERE
  • 18. LOGO การพิมพ์โดยแม่พิมพ์ลายฉลุ (Screen-Process printing)  1. การฉลุด้วยมือ (Hand Cut Stencil)  2. การใช้วิธีการถ่ายภาพ (Photo Stencil)  3. การใช้เครื่องปรุไขอิเล็คโทรนิคส์ YOUR SITE HERE
  • 19. LOGO การพิมพ์ด้วยแสงโดยวิธีการถ่ายเอกสาร  1. แสงสว่างจากหลดไฟส่องไปกระทบกับ ต้นฉบับและสะท้อนภาพไปยัง Drum  2. เกิดไฟฟ้าสถิตบนผิว Drum บริเวณที่ไม่ได้รับ แสงสะท้อนที่เป็นภาพ  3. ผงแม่เหล็กที่อยู่ในกล่องรวมกับผงหมึกถูก ส่งออกมาเกาะที่ผิว Drum เฉพาะบริเวณที่เป็นภาพ  4. แผ่นกระดาษเคลื่อนที่ผ่าน YOUR SITE HERE
  • 20. LOGO YOUR SITE HERE การพิมพ์ด้วยแสงโดยวิธีการถ่ายเอกสาร  5. เกิดประจุที่มีกาลังสูงกว่า บนเส้นลวดใต้แผ่นกระดาษที่กาลัง เคลื่อนที่การเคลื่อนที่ของกระดาษจะ สัมพันธ์กับ Drum  6. ผงเหล็กจะพาผงหมึกลงมาที่กระดาษ ที่จริงแล้วจะมาที่ เส้นลวดแต่มีกระดาษ ขวางอยู่ผงจึงติดอยู่ บนกระดาษ ภาพจึง มาปรากฏบนกระดาษเพราะมีผงหมึกที่ถูกดูดลงมาตามลักษณะ ของภาพ  7. กระดาษที่มีภาพปรากฏ เคลื่อนที่ผ่านลูกกลิ้งความร้อนและ อัดให้ผงหมึกละลายติดแน่นเป็นภาพที่คง ทนตามต้องการ
  • 21. LOGO ระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในการพิมพ์ YOUR SITE HERE  เครื่องพิมพ์แบบ Dot Matrix  เครื่องพิมพ์แบบ Inkjet  เลเซอร์ (Laser Printer)