SlideShare a Scribd company logo
1 of 40
เมนูการปรับแต่งค่า
BIOS
กิตติพร & ยศวลิน
การปรับแต่ง BIOS
BIOS (Basic Input/Output System) คือ Chip ROM (EPROM
: Erasable Programmable Read-Only Memory) Bios เป็น
โปรแกรมที่ทำหน้ำที่ควบคุมฮำร์ดแวร์ในกำร Boot คอมพิวเตอร์ โดย
ทุกครั้งเมื่อ เรำเปลี่ยนเครื่องอ่ำนข้อมูล ไม่ว่ำ Floppy Disk Drive ,
Hard Disk Drive และ CD-Rom Drive โดยเฉพำะ ฮำร์ดดิสก์ เมื่อต่อ
เพิ่มหรือถอดออก จะต้องบอกให้ Bios รับรู้เพื่อใช้เป็นข้อมูลในกำร
Boot เครื่อง เพื่อเข้ำสู่โปรแกรม Windows หรือ OS ต่อไป
BIOS (Basic Input/Output System)
CMOS (Complementary Metal Oxide Semiconductor )
การทางานของ BIOS
ขั้นตอนการทางานของ BIOS
ขั้นที่ 1เมื่อเปิดเครื่อง BIOS จะตรวจสอบอุปกรณ์พื้นฐำนที่จำเป็นต่อกำรใช้งำน เช่น คีบอร์ด, ดิสก์ไดรฟ์,
จอภำพ,หน่วยควำมจำ ฯลฯ หำกมีอุปกรณ์ใดอุปกรณ์หนึ่งทำงำนไม่ถูกต้อง จะแจ้งข้อผิดพลำดให้
ทรำบทั้งในลักษณะข้อควำม (หำกจอภำพทำงำนได้) และเสียง beep หำกจอภำพทำงำนไม่ได้
ขั้นที่ 2โหลดค่ำกำหนดเกี่ยวกับอุปกรณ์ต่ำงๆขึ้นมำใช้งำน โดยค่ำต่ำงๆเหล่ำนี้จะถูกเก็บไว้ใน CMOS ซึ่ง
ผู้ใช้สำมำรถเปลี่ยนแปลงได้โดยผ่ำน SETUP
ขั้นที่ 3โหลดระบบปฏิบัติกำรที่ติดตั้งไว้ในดิสก์ขึ้นมำทำงำน
ขั้นที่ 4เมื่อระบบปฏิบัติกำรเริ่มทำงำน นั่นคือคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นจะอยู่ในสภำพที่พร้อมสำหรับกำรใช้
งำนแล้ว ส่วน BIOS จะทำหน้ำที่ให้บริกำรต่ำงๆต่อระบบกำรปฏิบัติกำรอยู่เบื้องหลัง เช่น กำรอ่ำน-
เขียนข้อมูลจำกดิสก์, ปิดจอภำพเมื่อผู้ใช้ไม่ได้ใช้งำนเป็นเวลำนำนๆ ฯลฯ
ขั้นที่ 5 เมื่อต้องกำรปิดเครื่อง BIOS จะปิดกำรทำงำนของอุปกรณ์ต่ำงๆทั้งหมดรวมถึงตัดกระแสไฟที่จ่ำย
ให้ power supply ด้วย ค่ำกำหนดต่ำงๆที่เก็บไว้ใน CMOS จะไม่หำยไป เมื่อผู้ใช้เปิดเครื่องขึ้นมำใหม่
 เมื่อเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ BIOS จะเข้ำสู่ขั้นตอนที่เรียกว่ำ POST
(Power-On Self Test) ซึ่งเป็นกำรตรวจ สอบอุปกรณ์ต่ำงๆที่มีใน
คอมพิวเตอร์
 สำเหตุที่ต้องตรวจสอบ
 คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะมีอุปกรณ์ไม่เหมือนกัน อีกทั้งผู้ใช้ยัง
สำมำรถเปลี่ยนแปลงอุปกรณ์เหล่ำนี้ได้โดยอิสระอีกด้วย ดังนั้นย่อม
เป็นกำรดี ที่จะมำตรวจ สอบกันก่อนเริ่มต้นทำงำน ในกรณีที่เจอ
ข้อผิดพลำด ก็ยังสำมำรถรำยงำนให้ผู้ใช้ทรำบและแก้ไขได้อย่ำง
ถูกต้อง
ขั้นตอนการทางานของ POST
กำร POST คือกำรทำงำนของ BIOS ขณะเริ่มต้นระบบ ซึ่งพอสรุปขั้นตอนได้ดังนี้
ขั้นที่ 1แสดงข้อควำมเริ่มต้นของกำร์ดแสดงผล ซึ่งปกติจะขึ้นอยู่กับชนิดของกำร์ดแสดงผลที่ติดตั้งอยู่ใน
คอมพิวเตอร์นั้นๆ โดยอำจแสดงชื่อบริษัท-โลโก้ของผู้ผลิต,ชื่อรุ่น, ขนำดของหน่วยควำมจำ ฯลฯ
หรือในบำงรุ่น อำจไม่แสดง ข้อควำม ใดๆในขั้นตอนนี้เลยก็ได้
ขั้นที่ 2 แสดงรำยละเอียดเกี่ยวกับ BIOS รวมถึงหมำยเลขอ้ำงอิงสำหรับผู้ผลิตเมนบอร์ดและข้อควำม
อื่นๆ จำกภำพที่ 2-2 เป็น BIOS ของ Award บนเมนบอร์ดซึ่งใช้ชิปเซ็ต Intel 430HX
ขั้นที่ 3ตรวจสอบและนับจำนวนหน่ำยควำมจำ รวมทั้งเริ่มกำรทำงำนของอุปกรณ์ประเภทดิสก์ไดรฟ์
ขั้นที่ 4เมื่อสิ้นสุดกำรทำงำนของ POST แล้ว บนหน้ำจอจะแสดงรำยละเอียดเกี่ยวกับฮำร์ดแวร์พื้นฐำน
ทั้งหมด จำกนั้นจึง โหลดระบบปฏิบัติกำร จำกดิสก์ที่กำหนด (ผ่ำนทำง SETUP) มำทำงำนต่อไป
กำร SET BIOS
 โดยปกติแล้ว เรำไม่จำเป็นต้องทำกำรเปลี่ยนแปลงค่ำต่ำง ๆ ใน BIOS บ่อยนัก ยกเว้นเมื่อ
เรำ ต้องกำรเปลี่ยนแปลง กำรตั้งค่ำต่ำง ๆ หรือเมื่อมีกำรเปลี่ยน อุปกรณ์ใหม่ ๆ เช่น
CPU, RAM หรือ Hard Disk เป็นต้น
 การเข้าสู่ BIOS Setup Mode
สำหรับวิธีกำรที่จะเข้ำไปตั้งค่ำต่ำง ๆ ใน BIOS ได้นั้น จะขึ้นอยู่กับระบบของ
แต่ละเครื่องด้วย โดยปกติเมื่อเรำทำกำรเปิดสวิทช์ไฟของเครื่องคอมพิวเตอร์ BIOS
ก็จะเริ่มทำงำนโดยทำกำรทดสอบอุปกรณ์ต่ำง ๆ ก่อนที่จะเรียกใช้งำนระบบ DOS
จำกแผ่น Floppy Disk หรือ Hard Disk ในช่วงนี้จะเป็นช่วงที่เรำสำมำรถเข้ำ
ไปทำกำรแก้ไขเปลี่ยนแปลงกำรตั้งค่ำต่ำง ๆ ใน BIOS ได้โดยกด Key ต่ำง ๆ
เช่น DEL, ESC CTRL-ESC, CTRL-ALT-ESC ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับว่ำแต่ละเครื่อง
จะตั้งไว้อย่ำงไร ส่วนใหญ่ จะมีข้อควำมบอกเช่น "Press DEL Key to Enter
BIOS Setup" เป็นต้น
วิธีการ CLEAR/RESET PASSWORD ของ BIOS
โดยปกติแล้ว หำกคุณใช้เครื่องคอมพิวเตอร์คนเดียว ก็คงไม่มีควำม
จำเป็นต้องตั้ง Password สำหรับเข้ำไป Setup BIOS หรือเปิดเครื่อง
แต่ถ้ำหำกได้เคยตั้งไว้แล้วลืม หรือได้เมนบอร์ดมำโดยที่มีกำรตั้ง
Password ไว้และไม่รู้ว่ำใช้ Password อะไร ก็มีวิธีกำรที่จะ Reset หรือ
Clear Password
1. ลองใช้ Password แบบ Case Sensitive คือแบบที่น่าจะเป็น
2. ทาการ Reset โดยการ Clear CMOS ดังนี้
มองหำ jumper สำหรับ Reset CMOS ก่อนโดยดูจำกคู่มือ หรืออำจจะมองหำ jumper ใกล้ ๆ
กับแบตเตอรี่ของ CMOS ก็ได้ ส่วนใหญ่จะมีลักษณะเป็น jumper 3 ขำ
- วิธีกำร Reset คือทำกำร jump ให้ตรงข้ำมกับปกติ คือถ้ำหำกเดิมมีกำร jump อยู่ที่ 1-2 ก็
เปลี่ยนมำเป็น 2-3 หรือถ้ำปกติ jump อยู่ที่ 2-3 อยู่แล้วก็เปลี่ยนเป็น 1-2 จำกนั้นเปิดเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ทิ้งไว้สัก 5-10 วินำที ปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ เปลี่ยน jumper กลับมำที่เดิม
Password จะถูก Reset
3. ทาการถอดแบตเตอรี่ของ CMOS ออก
ถ้ำหำกไม่สำมำรถหำ jumper สำหรับ Reset CMOS ได้อำจจะมีอีกวิธี คือทำกำรถอดแบตเตอรี่
ของ CMOS ออกสัก 5 นำทีแล้วก็ใส่เข้ำไปใหม่ จะเป็นกำรตั้งค่ำทุกอย่ำงของ BIOS กลับไป
เป็น Default ได้ แต่เมนบอร์ดบำงรุ่น จะยังมี Password อยู่โดยจะเป็น Default Password
ตำมด้ำนบน หลังจำกใส่แบตเตอรี่แล้วก็ถ้ำยังถำม Password อีกให้ลองใส่ Default Password
ข้ำงบนดู
กำร SET BIOS
 สำหรับตัวอย่ำงต่อไปนี้นำมำให้ดูแบบทั่ว ๆ ไปของ BIOS ซึ่งส่วนใหญ่ก็จะคล้ำย ๆ กัน
เริ่มจำกหลังจำกที่กด DEL หรือ Key อื่น ๆ ขณะเปิดเครื่องเพื่อเข้ำสู่ BIOS Setup
Mode โดยปกติแล้ว ถ้ำหำกเป็นกำรตั้งค่ำครั้งแรก หลังจำกที่ทำกำร
Reset CMOS แล้ว ก็เลือกที่เมนู Load BIOS Default Setup หรือ Load BIOS
Optimal-performance เพื่อเลือกกำรตั้งค่ำแบบกลำง ๆ ของอุปกรณ์ทั่วไปก่อน
จำกนั้นจึงมำทำกำรเลือกแก้ไขเปลี่ยนแปลงแต่ละค่ำ ตำมเมนูต่อไปนี้เลยครับ
STANDARD CMOS SETUP
 Date และ Time ใส่ วันที่ และ เวลำ ปัจจุบัน
Hard Disk กำหนดขนำดของ HDD(Hard Disk) ว่ำมีขนำดเท่ำไร โดยเลือกตั้งค่ำเอง แบบ User,แบบอัตโนมัติ Auto หรือ
ไม่ได้ติดตั้งก็เลือกที่ None
Primary / Master อุปกรณ์ที่ต่อกับ IDE แรก แบบ Master (1 IDE จะต่อ HDD หรือ CD-ROMได้ 2 ตัว)
Primary / Slave อุปกรณ์ที่ต่อกับ IDE แรก แบบ Slave
Secondary / Master อุปกรณ์ที่ต่อกับ IDEที่สอง แบบ Master
Secondary / Slave อุปกรณ์ที่ต่อกับ IDE ที่สอง แบบ Slave
ซึ่งจะต้องกำหนด Cyls (cylinders) Heads, Sectors และ Mode สำหรับ Mode มีดังนี้
- Auto BIOSจะทำกำรตรวจสอบและตั้ง Mode ของ HDDอัตโนมัติ
- Normal สำหรับ HDDที่มี clys,heads,sectorsไม่เกิน 1024,16,63 หรือขนำดไม่เกิน 528M.
- Large สำหรับ HDD ที่มี cyls มำกกว่ำ 1024 แต่ไม่ support LBA Mode
- LBALogical Block Addressing สำหรับ HDDใหม่ ๆ จะมีกำรส่งข้อมูลที่เร็วกว่ำ
(สำหรับ HDDถ้ำหำกทรำบค่ำที่แน่นอนให้ใส่เป็น User แต่ถ้ำไม่แน่ใจ ให้ตั้ง Auto ไว้)
Drive A: B: ชนิดของ DisketteDrives ที่ติดตั้งใช้งำน 360K, 720K, 1.2M หรือ 1.44M
Video ชนิดของจอแสดงภำพ (ปกติจะเป็น EGA/VGA)
Halt On กำหนดกำร Stop หำกพบ Error ขณะที่ POST (Power-On Seft Test)
- Allerrors กำร POST จะหยุดและแสดง prompts ให้เลือกกำรทำงำนต่อไปทุก Error
- All,But Key กำร POST จะไม่หยุดกรณีของกำรเกิด Keyboard Error
- All,But Disk กำร POST จะไม่หยุดกรณีของกำรเกิด DisketteDrive Error
- All,But Disk/Key กำร POST จะไม่หยุดกรณีของกำรเกิด Keyboard Error หรือ Diskette
Base Memory โดยปกติจะเป็น 640K สำหรับ DOS
Extended คือ Memory ในส่วนที่สูงกว่ำ 1M ขึ้นไป
Other Memory หมำยถึงส่วนของระหว่ำง 640K ถึง 1M
BIOS FEATURES SETUP
 Virus Warning กำรเตือนเมื่อมีกำรเขียนข้อมูลทับ Boot Record ของ HDD[Enabled]
CPU Int / Ext cache กำรใช้งำน CPU Internal / External Cache [Enabled]
Quick Power On Seft Test กำรทำ POST แบบเร็ว [Enabled]
Boot Sequence เลือกลำดับของกำรบูทเช่นจำก C:, A: หรือ IDE-0, IDE-1 [C: A:]
Swap Floppy Disk กำหนดกำรสลับตำแหน่ง Drive A: เป็น Drive B: [Disabled]
Boot Up Floppy Seek กำรตรวจสอบชนิดของ Disk Drive ว่ำเป็นแบบใด [Disabled]
Boot Up NumLockStatus กำหนดกำรทำงำนของ Key NumLock หลังจำกเปิดเครื่อง [Disabled]
Boot Up System Speed กำหนดควำมเร็ว CPU หลังจำกเปิดเครื่อง [High]
Gate A20 Option กำรเข้ำถึง Address memoryส่วนที่สูงกว่ำ 1M [Fast]
Typematic Rate Setting กำหนดควำมเร็วของกำรกด Key [Enabled]
Typematic Rate (Chars/Sec) กำหนดควำมเร็วของกำรกด Key [6]
Typematic Delay (Msec) กำหนดค่ำ delay ของกำรกด Key [250]
Security Option กำหนดกำรตั้งรหัสผ่ำนของกำร Setup BIOS หรือ System [Setup]
PS/2 Mouse Control กำหนดกำรใช้งำน PS/2 Mouse [Disabled]
PCI/VGAPalette Snoop แก้ปัญหำกำรเพี้ยนของสีเมื่อใช้กำร์ดวีดีโออื่น ๆ ร่วมด้วย [Disabled]
Assign IRQ for VGA กำหนดกำรใช้ IRQให้กับกำร์ดจอ [Enabled]
OS Select for DRAM> 64M กำรกำหนดหน่วยควำมจำสำหรับ OS2 [Non-OS]
HDD S.M.A.R.TcapabilitySelf-MoniteringAnalysis and Reporting Technology [Enabled]
 Video BIOS Shadow กำหนดให้ทำ Shadow กับ ROM จำกกำร์ดแสดงผล C0000-
C4000 [Enabled]
Adapter ROM กำหนดให้ทำ Shadow กับ ROM จำกกำร์ดที่เสียบเพิ่มเติม
C8000 ใช้กับกำร์ดแสดงผลชนิด MDA (จอเขียว)
CC000 ใช้กับกำร์ด controller บำงประเภท [Disabled]
D0000 ใช้กับกำร์ด LAN [ถ้ำไม่ใช้ตั้ง Disabled]
D4000 ใช้กับ controller สำหรับ Disk Drive ชนิดพิเศษ [Disabled]
D8000 ตั้ง [Disable]
DC000 ตั้ง [Disable]
E0000 ตั้ง [Disable]
E4000 ตั้ง [Disable]
E8000 ตั้ง [Disable]
EC000 ใช้กับกำร์ด controller ชนิด SCSI [หำกไม่ได้ใช้ตั้ง Disable]
System ROM กำรทำ Shadow กับ ROM ของ BIOS ที่ F000 [Enabled]
CHIPSET FEATURES SETUP
 Auto Configuration คือให้ BIOS จัดกำรค่ำต่ำงๆโดยอัตโนมัติซึ่งจะเป็นค่ำกลำง ๆ
Hidden Refresh กำรเติมประจุไฟของ DRAM [Enabled]
Slow Refresh ให้ DRAM ลดควำมถี่ในกำรเติมประจุไฟลง 2 - 4 เท่ำ [Enabled ถ้ำไม่มีปัญหำ]
Concurrent Refresh กำรอ่ำน-เขียนข้อมูล ได้พร้อมๆกับกำรเติมประจุไฟใน DRAM [Enabled]
Burst Refresh กำรเติมประจุไฟลง DRAM ได้หลำยๆ รอบในกำรทำงำนครั้งเดียว [Enabled]
DRAM Brust at 4 Refresh จำนวนกำร Burst Refresh เป็น 4 รอบในกำรทำงำน 1ครั้ง [Enabled]
Staggered Refresh กำรเติมประจุล่วงหน้ำใน DRAM ใน Bank ถัดไปด้วย [Enabled]
Refresh RAS Active Time ให้ทดลองกำหนดค่ำน้อยที่สุดเท่ำที่เครื่องจะสำมำรถทำงำนได้
AT Cycle Wait State เวลำที่รอให้กำร์ด ISA พร้อม ให้ตั้งค่ำที่น้อยสุดเท่ำที่เครื่องทำงำนได้
16-Bit Memory, I/O Wait State เวลำที่ซีพียูต้องรอระหว่ำงรอบกำรทำงำน ตั้งน้อยที่สุดที่ทำงำนได้
8-Bit Memory, I/O Wait State เวลำที่ซีพียูต้องรอระหว่ำงรอบกำรทำงำน ให้ตั้งน้อยสุดที่ทำงำนได้
DMA Clock Source กำหนดควำมเร็วของอุปกรณ์ DMA โดยมีค่ำปกติคือ 5 MHz
Memory Remapping หำกเปิดกำรทำงำนนี้ไว้จะทำ Shadows กับ BIOS ใดๆ ไม่ได้ [Disable]
Cache Read Hit Burst หรือ
SRAM Read Wait State ระยะพักรอเมื่ออ่ำนข้อมูลลงใน L1 Cache ให้ตั้งน้อยที่สุดเท่ำที่ทำงำนได้
Cache Write Hit Burst หรือ
SRAM Write Wait State ระยะพักรอเมื่ออ่ำนข้อมูลลงใน L1 Cache ให้ตั้งน้อยที่สุดเท่ำที่ทำงำนได้
Fast Cache Read / Write ให้แคชทำงำนโหมดควำมเร็วสูง จะมีผลเมื่อแคชมีขนำด 64 KB หรือ 256 KB
 Tag Ram Includes Ditry ให้แคชทำงำนในโหมดเขียนทับโดยไม่ต้องย้ำย/ลบข้อมูลเดิมออกก่อน
หำกมี Ram น้อยกว่ำ 256 MB ควรใช้ Dirty Bit
Non-Cacheable Block-1 Size กำหนดขนำดหน่วยควำมจำที่ห้ำมทำแคช [OK หรือ Disabled]
RAS to CAS Delay Time ค่ำหน่วงเวลำก่อนที่จะสลับกำรทำงำน RAS-CAS ตั้งค่ำน้อยที่สุดเท่ำที่ทำงำนได้
CAS Before RAS กำรสลับลำดับกำรทำงำนระหว่ำง RAS และ CAS
CAS Width in Read Cycle กำหนดค่ำหน่วงเวลำก่อนที่ซีพียูจะเริ่มอ่ำนข้อมูลใน DRAM ตั้งน้อยที่สุดที่ทำงำนได้
Interleave Mode ให้ซีพียูอ่ำน - เขียนข้อมูลจำก DRAM ในโหมด Interleave
Fast Page Mode DRAM ให้หน่วยควำมจำทำงำนแบบ FPM โดยไม่ต้องอำศัย RAS และ CAS ซึ่งจะเร็วกว่ำ
SDRAM CAS Latency Time หรือ
SDRAM Cycle Length ระยะรอบกำรทำงำนของ CAS latency ใน SDRAM ตั้งค่ำน้อยที่สุด
หรือใช้ค่ำ 2 กับ RAM ชนิด PC100 และใช้ค่ำ 3 กับ RAM ชนิด PC66/83
Read Around Write กำหนดให้ซีพียูอ่ำน - เขียนข้อมูลจำกหน่วยควำมจำได้ในครำวเดียวกัน [Enabled]
DRAM Data Integrity Mode เลือก Non-ECC หรือ ECC ตำมขนิดของ SDRAM System BIOS
Cacheable กำรทำแคชของ System BIOS ROM #F0000-FFFFF [Enabled]
Video BIOS Cacheable กำรทำแคชของ Video BIOS ROM [Enabled]
Video RAM Cacheable กำรทำแคชของ Video RAM #A0000-AFFFF [Enabled ถ้ำไม่มีปัญหำ]
Memory Hole at 15M-16M กำรจองพื้นที่สำหรับ ISA Adapter ROM [Enabled]
Passive Release กำหนด CPU to PCI bus accesses ช่วง passive release [Enabled]
Delayed Transaction เลือก Enable สำหรับ PCI version 2.1
AGP Aperture Size (MB) กำหนดขนำดของ AGP Aperture กำหนดเป็นครึ่งหนึ่งของ RAM ทั้งหมด
POWER MANAGEMENT
 Max Saving กำหนดกำรประหยัดพลังงำนแบบ สูงสุด
User Define กำหนดกำรประหยัดพลังงำนแบบ ตั้งค่ำเอง
Min Saving กำหนดกำรประหยัดพลังงำนแบบ ต่ำสุด
PM Control by APM กำหนดให้ควบคุมกำรประหยัดพลังงำนผ่ำนทำงซอฟท์แวร์
APM Video Off Method กำหนดวิธีกำรปิดจอภำพเมื่อเข้ำสู่โหมดประหยัดพลังงำน
V/H SYNC + Blank จะปิดกำรทำงำน V/H SYNC และดับจอภำพด้วย Blank Screen
DPMS สำหรับกำร์ดแสดงผลและจอภำพที่สนับสนุนโหมด DPMS
Blank Screen จะทำกำรแสดงหน้ำจอว่ำง ๆ เมื่อประหยัดพลังงำน สำหรับจอรุ่นเก่ำ ๆ
Video Off After ให้ปิดจอภำพเมื่อเข้ำสู่โหมดประหยัดพลังงำนแบบ Stanby หรือ Suspend
Standby Mode กำหนดระยะเวลำเมื่อพบว่ำไม่มีกำรใช้งำน จะหยุดทำงำนของอุปกรณ์บำงส่วน
Supend Mode จะตัดกำรทำงำนบำงส่วนคล้ำย Standby Mode แต่หยุดอุปกรณ์ที่มำกกว่ำ
HDD Power Down กำหนดระยะเวลำก่อนที่ BIOS จะหยุดกำรทำงำนของ HDD
Resume by Ring เมื่อ Enabled สำมำรถสั่งให้ทำงำนจำก Soft Off Mode ได้
Resume by Alarm เมื่อ Enabled สำมำรถตั้งเวลำทำงำนจำก Suspend Mode ได้
Wake Up On LAN เมื่อ Enabled สำมำรถสั่งให้ทำงำนจำก Soft Off Mode ได้
INTEGRATED PERIPHERALS
 IDE HDD BLOCKS MODE ให้ HDD อ่ำน-เขียนข้อมูลได้ครั้งละหลำย Sector พร้อมกัน [Enabled]
IDE PIO Mode... กำหนดกำรทำงำนแบบ Programe Input/Output [ตั้งสูงสุดหรือ Auto]
IDE UDMA... กำหนดกำรทำงำนแบบ DMA หรือ UDMA [Enabled หรือ Auto]
On-Chip PCI IDE กำหนดกำรใช้ช่องเสียบ HDD IDE ที่อยู่บนเมนบอร์ด [Enabled]
USB Keyboard Support กำหนดให้ใช้ Keyboard แบบ USB [Enabled]
Onboard FDC Controller กำหนดให้ใช้ช่องเสียบ Disk Drive ที่อยู่บนเมนบอร์ด [Enabled]
Onboard Serial Port 1 กำหนดค่ำแอดเดรสและ IRQ ให้ COM1 ค่ำปกติคือ 3F8/IRQ4
Onboard Serial Port 2 กำหนดค่ำแอดเดรสและ IRQ ให้ COM2 ค่ำปกติคือ 2F8/IRQ3
Parallel Port Mode กำหนดโหมดกำรทำงำนของพอร์ตขนำนได้ใน 3 แบบ [EPP&ECP]
SPP (Standard Parallel Port) คือโหมดมำตรฐำนเหมำะแก่เครื่องพิมพ์รุ่นเก่ำๆ
EPP (EnhancedParallel Port) คือโหมด 2 ทิศทำงเหมำะแก่เครื่องพิมพ์รุ่นใหม่
ECP (ExtendedCapabilitiesPort) คือโหมดควำมเร็วสูง เมื่อต่อพ่วงกับ Scanner, Laplink ฯลฯ
ECP MODE USE DMA คือกำหนด DMA สำหรับ Port ขนำนแบบ ECP ซึ่งค่ำปกติคือ 3
IDE HDD AUTO DETECTION
 สำหรับค้นหำฮำร์ดดิสก์แบบอัตโนมัติ โดยจะค้นหำ Primary Master , Primary Slave , Secondary
Master , Secondary Slave ตำมลำดับ โดยให้เรำตอบ Y ในแต่ละขั้นตอนที่ต้องกำร ถ้ำในขั้นตอนนี้ไม่
สำมำรถ ค้นหำ ฮำร์ดดิสก์ที่เรำติดตั้งไว้ได้ ต้องตรวจสอบกำรต่อฮำร์ดดิสก์ให้ถูกต้องอีกครั้ง
การตั้งค่าอื่น ๆ
Load BIOSDefault Setup
เมื่อกดเลือกที่นี่ BIOSจะทำกำรตั้งค่ำต่ำง ๆ ให้เป็นแบบกลำง ๆ สำหรับอุปกรณ์ทั่ว ๆ ไป หรือเป็นกำรตั้งค่ำแบบ Factory
Setup ก็ได้
Load BIOSOptimize Setup
เมื่อกดเลือกที่นี่ BIOSจะทำกำรตั้งค่ำต่ำง ๆ ของอุปกรณ์ ให้ได้ประสิทธิภำพสูงสุด
Password Setting
ใช้สำหรับกำรตั้ง Password เมื่อต้องกำรจะเข้ำไปเปลี่ยนแปลงกำรตั้งค่ำต่ำง ๆ ใน BIOSหรือเมื่อต้องกำรจะเปิด เครื่อง โดยปกติ
เมื่อใส่ Password ระบบจะให้ใส่ Confirmซ้ำ 2 รอบเพื่อป้ องกันกำรใส่ผิดพลำด (ไม่ใส่อะไรเลย คือกำรยกเลิก password)
HDD Low Level Format
เป็นเมนูสำหรับทำ Low Level Format ของ Hard Disk ซึ่งใช้สำหรับทำกำร Format Hard Disk แบบระดับต่ำสุด ซึ่งถ้ำหำกไม่มี
ปัญหำอะไรกับ Hard Disk ก็ไม่จำเป็นต้องทำ
Exit withSave Setting หรือ Exit withoutSave Setting
เมื่อทำกำรเปลี่ยนแปลงข้อมูลกำรตั้งค่ำต่ำง ๆ ของ BIOS แล้วต้องทำกำร Save เก็บไว้ด้วยนะครับ ส่วนใหญ่ เมื่อทำกำร Save
แล้วจะบูทเครื่องใหม่ ค่ำต่ำง ๆ ที่ตั้งไว้จึงจะใช้งำนได้
CPU Setup
นอกจำกนี้ ในเมนบอร์ดรุ่นใหม่ ๆ ที่เป็นแบบ Jumper Free (ไม่ใช้ Jumper แต่จะใช้เมนูใน BIOSสำหรับตั้งค่ำ ต่ำง ๆ ) จะ
สำมำรถตั้งค่ำของควำมเร็ว CPU,ค่ำ multipleหรือ FSB, ค่ำไฟ Vcore และอื่น ๆ อีกแล้วแต่รุ่นของ เมนบอร์ดนั้น ๆ
FLASH BIOS
 การ Flash BIOS ก็ คื อกำร Update เปลี่ยนแปลงข้อมูลหรือซอฟท์แวร์ที่บรรจุอยู่ใน BIOS ROM Chip
ซึ่งจะเป็นซอฟท์แวร์ขนำดเล็ก ๆ ที่จำเป็นสำหรับกำรบูทเครื่องคอมพิวเตอร์ กำรที่เรำทำกำร Update BIOS
ก็คือกำร Update ซอฟท์แวร์นี้นั่นเอง เหตุผลที่ต้องมีกำร Update BIOS มีดังนี้
- เพื่อให้ BIOS นั้นสำมำรถรองรับกำรทำงำนของอุปกรณ์ใหม่ ๆ ได้
- เพิ่มเติมและแก้ไขควำมสำมำรถต่ำง ๆ ให้มำกขึ้นเช่นกำร Auto Detect อุปกรณ์ต่ำง ๆ
- เพิ่มกำร Support กับ CPU ใหม่ ๆ ที่เพิ่งจะเกิดขึ้นมำด้วย
- เพิ่มกำรรองรับกับ Hard Disk ขนำดใหญ่ ๆ
- รองรับหรือแก้ปัญหำ Y2K
- แก้ไขปัญหำบำงอย่ำงที่เกิดขึ้นกับเมนบอร์ด
- ในบำงครั้ง ก็อำจจะช่วยเพิ่มประสิทธิภำพและควำมเสถียรภำพของระบบโดยรวมได้
- และอื่น ๆ อีกมำกมำย
รำยละเอียดของ BIOS แต่ละ Version คงต้องหำข้อมูลจำกเวปไซต์ของผู้ผลิตเมนบอร์ดแต่ละยี่ห้อนะครับว่ำ
จะมีอะไรไหม่ ๆ บ้ำง
จาเป็นมากแค่ไหน ที่ต้องทาการ FLASH BIOS
 โดยทั่วไปแล้ว หำกคุณสำมำรถใช้งำนเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ปกติไม่มีปัญหำอะไรก็คงไม่มี
ควำมจำเป็นที่จะต้องทำกำร Update BIOS แต่ถ้ำหำกวันใดที่ต้องกำรเพิ่มอุปกรณ์ใหม่ ๆ
เข้ำไปในเครื่องคอมพิวเตอร์ของคุณ เช่นเปลี่ยน CPU หรือ Hard Disk ใหม่ และเกิดปัญหำ
หรือไม่สำมำรถใช้งำนได้ ก็อำจจะมีควำมจำเป็นที่จะต้องทำกำร Update BIOS นะครับ
ดังนั้น คงจะขึ้นอยู่กับควำมจำเป็นต่ำง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ ว่ำต้องกำรที่จะแก้ไขอะไรใน BIOS
หรือไม่ เพรำะจะว่ำไปแล้ว กำร Update BIOS ไม่ใช่เรื่องยำกเย็นอะไรนัก แต่หำกเกิดกำรผิดพลำด ระหว่ำง
กำร Flash BIOS ก็อันตรำยมำก ถึงขนำดไม่สำมำรถบูทเครื่องได้
จะสามารถหา BIOS ใหม่ ๆ ได้จากที่ไหน
เวปไซต์ของผู้ผลิตเมนบอร์ดของแต่ละยี่ห้อนั้น ๆ และจะต้องเป็น BIOS
ของเมนบอร์ดรุ่นเดียวกันด้วย ไม่ขอแนะนำให้นำ BIOS ของเมนบอร์ดรุ่นอื่น ๆ หรือ
ที่ไม่แน่ใจมำทำกำร Flash เด็ดขำด ส่วนใหญ่จะไม่สำมำรถใช้งำนได้หรืออำจจะไม่สำมำรถ
บูทเครื่องได้เลยก็ได้ อีกที่หนึ่งสำหรับ Award BIOS นะครับ ถ้ำหำกหำไม่ได้และต้องกำร
Flash จริง ๆ ก็ลองเข้ำไปหำดูที่ http://www.award.com.tw/download นะครับจะมี Image
ของ BIOS อยู่หลำยรุ่น
กำรเตรียมอุปกรณ์ก่อนทำกำร FLASH BIOS
สิ่งที่ต้องเตรียมสำหรับกำร Flash BIOS มีดังนี้
เตรียมแผ่น Floppy Disk สำหรับ Boot เครื่องเช่น Windows Start Up Disk
หรือแผ่น Boot DOS เพื่อใช้สำหรับ Boot เครื่องเข้ำ DOS Prompt อย่ำงเดียว
(อำจจะทำขึ้นมำเองง่ำย ๆ โดยใส่แผ่นดิสก์แล้วสั่ง format a: /s ก็ได้)
เตรียมโปรแกรมสำหรับ Flash BIOS โดยที่จะสำมำรถหำได้จำกเวปไซต์ของผู้ผลิต
เมนบอร์ดนั้น ๆ นะครับ ส่วนใหญ่จะเป็นไฟล์เล็ก ๆ เช่น AWDFLASH.EXE
หรือหำกเวปไซต์นั้น แนะนำให้ใช้โปรแกรมตัวอื่น ๆ ก็ขอให้ใช้ตำมนั้นนะครับ
เตรียม Image BIOS โดยที่จะสำมำรถหำได้จำกเวปไซต์ของผู้ผลิตเมนบอร์ดนั้น ๆ
นะครับรูปแบบทั่วไปส่วนใหญ่ จะเป็นไฟล์นำมสกุล .BIN นะครับ อันนี้ขอเน้นอีก
ครั้งว่ำ ต้องเป็น Image BIOS สำหรับเมนบอร์ดรุ่นเดียวกันเท่ำนั้นนะครับ
ขั้นตอนการทา FLASH BIOS
หลังจำกที่ตัดสินใจจะทำกำร Update BIOS แน่นอนแล้ว และเตรียมอุปกรณ์หรือซอฟท์แวร์
ต่ำง ๆพร้อมแล้ว ก็เริ่มต้นขั้นตอนตำมนี้ เปิดเครื่อง และเข้ำไปทำกำร BIOS Setup โดย
กด DEL ระหว่ำงที่เครื่องกำลังทดสอบ RAM อยู่ ทำกำรตั้งค่ำของ System BIOS
Cacheable Option ใน BIOS ให้เป็น Disabled เสียก่อนที่จะทำกำร Flash BIOS ใหม่ ให้
เปิดคู่มือของเมนบอร์ดเพื่อหำตำแหน่งของ jumper สำหรับกำร Flash BIOS (หำกไม่มี
คู่มือลองมองหำดู jumper ใกล้ ๆ กับ CMOS นะครับ ส่วนใหญ่จะเป็น jumper 3 ขำและ
มีกำรพิมพ์กำกับกำรใช้งำนอยู่บนบอร์ด) ทำกำรเปลี่ยน jumper ไปที่ตำแหน่ง Flash นะ
ครับ ซึ่งเท่ำที่ทรำบมำเมนบอร์ดบำงรุ่นอำจจะไม่มีก็ได้ ให้ลองหำดูก่อน Boot เครื่องใหม่
โดยทำกำร Boot แบบ Clean Boot ครับ คือให้กด F8 ขณะที่กำลังจะเข้ำสู่หน้ำจอ Start
Windows จะเข้ำหน้ำจอของ Menu แล้วจำกนั้นเลือก Save Mode MS DOS Prompt
แล้วจึงทำในขั้นตอนต่อไป หรือจะให้ดีควรจะ Boot เครื่องจำกแผ่นดิสก์ที่มีแต่เพียง DOS
อย่ำงเดียวโดยไม่มีกำร Load Driver อะไรต่ำง ๆ เลย
สั่งหรือเรียกโปรแกรมสำหรับ Flash เช่น AWDFLASH หรือโปรแกรมสำหรับ Flash BIOS
ที่ Download มำ ท โดยส่วนใหญ่ตรงนี้ โปรแกรมจะถำมให้ทำกำร Save BIOS Version
เก่ำที่มีอยู่ในเครื่องเก็บไว้ก่อน ขอแนะนำให้ทำกำร Save BIOS ใส่แผ่นดิสก์ไว้นะครับ เพื่อ
ควำมไม่ประมำท หรือถ้ำหำกเกิดกำรผิดพลำดขึ้น อำจจะยังพอแก้ไขได้ ใส่ชื่อของ file ที่
เป็น Image BIOS ที่ต้องกำรจะ Flash จำกนั้นทำกำร Flash ตำมขั้นตอนคำแนะนำของ
โปรแกรมนะครับกำร Flash จะใช้เวลำไม่นำนมำกนัก ประมำณไม่เกิน 1 นำที ระหว่ำงนี้ก็
ต้องระวัง ห้ำมปิดเครื่องหรือทำกำร Reset โดยเด็ดขำดนะครับ ไม่เช่นนั้น เมนบอร์ดคุณ
อำจจะไม่สำมำรถ Boot ได้เลยก็ได้
(ต้องระวังเรื่องไฟฟ้ ำดับด้วยนะครับ พยำยำมอย่ำทำขณะที่เสี่ยงต่อกำรเกิดไฟฟ้ำดับเป็นอัน
ขำด)หลังจำกที่ Flash เรียบร้อยแล้ว ให้ปิดเครื่องสักประมำณ 15 วินำที หำกได้ทำกำร
เปลี่ยน jumper สำหรับกำร Flash ไว้ตั้งแต่ต้น ก็ทำกำรเปลี่ยนกลับไปเป็นเหมือนเดิมด้วย
นะครับ บำงครั้ง ต้องทำกำร Clear CMOS jumper (คนละอันกับ Flash jumper นะครับ)
ก่อนที่จะเปิด
เครื่องใหม่ด้วยครับ
 เปิดเครื่องใหม่ เข้ำไปทำกำร Setup BIOS โดยกด DEL ขั้นตอนแรกคือเลือกที่เมนู Load
Default Setup หรือ Load BIOS Setup ก่อน จึงตั้งค่ำต่ำง ๆ ตำมต้องกำร เลือก Save ค่ำ
ที่ตั้งไว้ ก็จบขั้นตอน กำร Flash BIOS ครับ
 สำหรับ Award BIOS หำกว่ำในขณะที่ทำกำร Flash BIOS ใหม่นั้น เกิด Error Message
มำว่ำInsufficient Memory ก็ไม่ต้องตกใจนะครับ เพรำะ มันก็จะยังไม่ได้ทำกำร Flash
BIOS ให้ใหม่ ดังนั้น ก็ให้คุณ Boot เครื่องใหม่ แล้วเข้ำไป set ใน BIOS ตรง Chipset
Feature Setup ให้เลือก Video BIOS Cacheable เป็น Disable ซะ แล้ว Save และ Exit
เพื่อ Boot ใหม่ Boot เข้ำ Clean Boot แล้วทำกำร Flash ใหม่ ซึ่งก็ไม่น่ำจะเกิดปัญหำนี้อีก
แล้ว จำกนั้น เมื่อทำกำรเสร็จแล้ว ก็ Reboot หรือ ปิดเครื่องไว้สักพัก แล้วเปิดใหม่ และเมื่อ
Boot เข้ำมำใหม่แล้ว ให้เข้ำไปแก้ไขที่ Chipset Feature Setup ตรง Video BIOS
Cacheable เป็น Enabled เหมือนเดิมครับ
ข้อควรระวังสำหรับกำร FLASH BIOS
 ต้องใช้ Image BIOS ที่เป็นรุ่นเดียวกับเมนบอร์ดเท่ำนั้น
 ระวังไฟตก ไฟฟ้ ำดับ หรือเครื่องแฮงก์ ขณะทำกำร Flash เพรำะอำจจะทำให้ไม่
สำมำรถ
Boot เครื่องได้เลย
 ให้ทำกำร Save Image BIOS ของเดิมเก็บใส่แผ่นดิสก์ไว้ก่อนเสมอครับ
 ถ้ำมีกำรเตือนว่ำ Image BIOS ที่กำลังจะ Flash นั้นไม่สำมำรถเข้ำกันได้กับ
เครื่อง
เหนือเมนบอร์ดของคุณ ระวัง อย่ำทำกำร Flash โดยเด็ดขำด เพรำะเป็นไป
ได้มำกที่คุณใช้ Image BIOS ผิดรุ่น ซึ่งอำจจะทำให้เครื่องคุณ Boot ไม่ขึ้นเลยก็
ได้
หำก FLASH BIOS ไปแล้ว BOOT ไม่ขึ้นจะแก้ไขอะไรได้
บ้ำง
 กำรทำ Boot-Block BIOS สำหรับเมนบอร์ดรุ่นใหม่ๆ โดยเฉพำะที่ใช้กับ Award BIOS นั้นจะ
มี Boot-Block BIOS มำด้วย โดยจะเป็นส่วนของข้อมูลเล็กๆ ที่จะไม่มีกำรเขียนทับหรือ แก้ไข
ใดๆ ลงไปได้ แม้ว่ำจะ Flash BIOS สักกี่ครั้งก็ตำม โดย Boot-BlockBIOS นั้นจะรู้จักแต่
Floppy Disk Drive และ Display Card แบบ ISA เท่ำนั้น! หำกว่ำใช้ Display Card เป็น PCI
หรือ AGP ก็หมดหวังเลยครับ และ Boot-BlockBIOS นี้ จะสำมำรถ Boot เครื่องได้ เฉพำะ
Floppy Disk เท่ำนั้น ดังนั้น ก็เรำก็สำมำรถเตรียมImage BIOS และ ตัว โปรแกรม Flash ใส่
ไว้ในแผ่น แล้ว พอ Boot เสร็จ ก็ ทำกำร Flash ซะใหม่ ก็ได้ หรือ จะเขียน autoexec.bat ให้
ทำกำร Flash อัตโนมัติ เลยก็ได้ครับ
กำรทำ HOT SWAPPING
กำรแก้ไขวิธีนี้ มีหลักกำรคือ นำเอำ Chip BIOS ที่มีปัญหำไปทำกำร Flash
กับเมนบอร์ดของเครื่องที่ใช้งำนได้ปกติ โดยทำขณะที่ยังเปิดเครื่องปกติอยู่ และถอดChip BIOS
ของเครื่องนั้นออก นำเอำ Chip BIOS ที่ของเรำที่มีปัญหำใส่เข้ำไปแล้วทำกำร Flash ใหม่ กำร
แก้ไขวิธีนี้วุ่นวำยไม่ใช่น้อยๆ และ ผมขอไม่รับผิดชอบนะครับกับควำมเสียหำย ที่เกิดขึ้นจำกวิธีนี้
นะครับ เพรำะมันค่อนข้ำงละเอียด และ ผิดพลำดได้ง่ำยๆ ... เพรำะฉะนั้น ขอให้อยู่ในดุลยพินิจ
ของตัวเองด้วยนะครับ สำหรับวิธีนี้
1. ให้ถอด Chip BIOS ที่มีปัญหำออกมำ แล้วหำเมนบอร์ดรุ่นเดียวกัน Spec เดียวกัน ซึ่งไม่มี
ปัญหำมำเพื่อใช้ในกำร Boot โดยก่อนที่จะทำกำร Flash ก็ให้เข้ำไปใน BIOS เพื่อ Set System
BIOS Cacheable ให้เป็น Enable ก่อนด้วย 2. Boot เครื่อง ด้วยเมนบอร์ดตัวที่ BIOS ไม่มี
ปัญหำ และ Boot แบบ Clean ดังที่กล่ำวมำแล้ว 3. ทำกำรแกะ Chip BIOS จำกเมนบอร์ดออก
โดยที่ยังเปิดเครื่องทิ้งไว้อยู่ ตรงนี้ ต้องใช้ควำมระมัดระวัง และ เสี่ยงเป็นอย่ำงมำก4. ใส่ Chip
BIOS ตัวที่มีปัญหำลงไปแทนที่ แล้วทำกำร Flash BIOS ใหม่ จำกนั้น ก็ Reboot หรือ ปิด
เครื่อง 5. ถ้ำไม่มีปัญหำใดๆ เจ้ำ BIOS ที่เคยมีปัญหำ ก็จะกลับมำใช้งำนได้ดังเดิมครับ
ข้อแนะนำเพิ่มเติมสำหรับใครที่คิดจะใช้วิธีกำรนี้คือ ก่อนที่จะเริ่มต้น ให้ทำกำร
แกะ Chip BIOS ออกมำจำก Socket ก่อนแล้วใส่ใหม่โดยวำงแปะลงไป กดแต่
เพียงเบำ ๆ แต่ต้องแน่ใจว่ำทุก ๆ ขำของ Chip BIOS สัมผัสกับ Socket ดีนะ
ครับ เมื่อถึงเวลำที่เปลี่ยน Chip BIOS โดยที่ยังต้องเปิดเครื่องอยู่นั้น จะช่วย
ให้สำมำรถแกะ Chip CMOS ออกมำได้ง่ำย เพื่อทำกำร Flash BIOS แบบ
Hot Swapping โดยที่ขณะที่จะทำกำร Flash จะมีข้อควำมเตือนว่ำ BIOS นั้น
ไม่สำมำรถเข้ำกับเครื่องหรือเมนบอร์ดได้ ก็กดยืนยันกำรทำกำร Flash BIOS
ต่อไปได้เลย
สำหรับเมนบอร์ดของ INTEL โดยเฉพำะ
1. เปลี่ยน Jumper ตรง Flash Recovery Jumper ให้ไปอยู่ตรง Recovery Mode ( อ่ำนจำก
คู่มือ และ สำหรับบำงรุ่น ก็ไม่มี Jumper ตัวนี้นะครับ )
2. เอำแผ่น Bootable Upgrade Disk ใส่ไว้ที่ Drive A;
3. Boot เครื่อง โดยเครื่องจะทำงำนตำมปกติ แต่จะไม่มีกำร Display อะไรออกที่หน้ำจอ( วิธี
นี้ ก็คล้ำยๆ กับ วิธีที่ Boot-Block BIOS เพียงแต่ ใช้สำหรับเมนบอร์ดของ Intel บำงรุ่น
เท่ำนั้น ) โดยจะดูผลกำร Boot หรือ กำรทำงำนโดยสังเกตุจำกไฟ LED บนฝำ CASE
และ/หรือ ฟังจำกเสียง Beep
4. ระบบจะทำกำรกู้คืนข้อมูล BIOS ด้วยข้อมูลที่อยู่บน Disk ให้สังเกตุที่ไฟของ Floppy
Disk ถ้ำไฟติดอยู่ และ ยังมีเสียงอ่ำนอยู่ ก็แสดงว่ำกำลังทำงำนอยู่ และถ้ำดับเมื่อไร ก็
แสดงว่ำกำร กู้คืนนั้น เสร็จสิ้นลงแล้ว
5. ปิดเครื่อง แล้วเปลี่ยน Jumper จำกข้อแรกให้กลับอยู่ตำแหน่งเดิม จำกนั้นก็เปิดเครื่อง
ใหม่ ซึ่งก็น่ำจะไม่มีปัญหำแล้ว
ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจาก BIOS
การแก้ไขเมื่อ Flash BIOS ล้มเหลว
หลังจำก Flash BIOS แล้ว ถ้ำกระบวนกำรดำเนินกำรไปอย่ำงถูกต้อง คอมพิวเตอร์ก็จะ
ทำงำนได้อย่ำงถูกต้อง ไม่ มีปัญหำอย่ำงใด อย่ำงไรก็ตำม หลำยครั้งพบว่ำผลจำกกำร Flash
BIOS ไม่ได้เป็นไปตำมที่ คำดหวังทุกประกำร บำงครั้ง อำจ พบควำมผิดพลำดได้ เช่น ในกรณี
ของผู้ใช้งำนที่เคย Flash BIOS ครั้งแรก อำจจะทำผิดพลำด โดยกำร ปิดสวิทช์ไฟ ระหว่ำง
กระบวนกำร Erase , Re-program BIOS ซึ่งกรณีนี้จะทำให้ไบออสเสีย ใช้บูตคอมพิวเตอร์ ไม่ได้
หรืออีกกรณี หนึ่งคือ มีควำมผิดพลำดในตัวโปรแกรมเอง เมื่อ Flash แล้วปรำกฎว่ำใช้งำนไม่ได้
อีกต่อไป อำกำรที่บ่งชี้ว่ำ ไบออสเสียก็คือ เมื่อเปิดสวิทช์แต่เครื่องไม่บูต ไม่มีเสียงบี๊บ (POST =
Power on self test) ไม่มีข้อควำมใด ปรำกฎ บนจอภำพ ถ้ำอำกำรดังกล่ำวเกิดขึ้นหลังจำกกำร
Flash BIOS ก็ให้ตั้งสมมุติฐำนไว้ก่อนว่ำ เกิดปัญหำขึ้นจำกกำร FlashBIOS
สำเหตุที่ทำให้ไบออสนอกจำกกำร Flash ผิดแล้ว ยังเกิดได้จำกไวรัสบำงตัว เช่น
W32.CIH.SPACEFILLER ซึ่งถูกตั้งเงื่อนไขให้ Flash BIOS ด้วยโปรแกรมขยะอีกด้วย
การแก้ไข หลังจำก Flash BIOS แล้วเมื่อเปิดคอมพิวเตอร์แล้วไม่บูต ให้ปิดสวิทช์แล้วแกะไบออสออก ระหว่ำงกำรแกะให้
ระวัง เพรำะตัว EEPROM สำหรับ BIOS นั้นมีหลำยประเภท ประเภทที่เป็นตีนตะขำบเสียบบน Socket จะแกะ
ง่ำยกว่ำ แต่หำกเป็นลักษณะคล้ำยฝังตัวใน Socket แบบนั้นแกะลำบำกมำกกว่ำ
1. ให้แกะ BIOS จำกเมนบอร์ดที่ดี หรือนำเอำ BIOS ที่ดีอยู่แล้ว มำใส่แทน BIOS ที่เสียแทน
2. ให้เปิดเครื่องและบูตเครื่องตำมปกติ สังเกตว่ำคอมพิวเตอร์จะต้องบูตตำมปกติ ถ้ำอำกำรเสียนั้นเกิดจำก
ไบออสเสีย แต่ถ้ำไม่บูตอีก แสดงว่ำไบออสไม่เสียแล้ว แต่เป็นเมนบอร์ดเสียแทน
3. ถ้ำเครื่องก็บูตขึ้นมำแล้ว กำรทำงำนของไบออสนั้นจะเหมือนกันกับสตำร์ตเตอร์ในวงจรของหลอดฟลูออเรสต์
เซ็นต์ คือ เมื่อเปิดคอมพิวเตอร์ได้แล้ว BIOS ก็หยุดทำงำนไป (จะทำงำนอีกครั้งเมื่อใช้พวกโปรแกรม
Management เข้ำถึงข้อมูลใน DMI Pool เท่ำนั้น)
4. ต่อไปเมื่อคอมพิวเตอร์เปิดขึ้นมำแล้ว ก็เอำไบออสตัวเก่ำออก แกะขณะที่เปิดเครื่องอยู่ (ระวังตัวไบออสตกลง
บน เมนบอร์ด หรือพลำดขำไปถูกส่วนอื่น ที่เป็นวงจรในเคส ระวังเกิดควำมเสียหำย
5. เมื่อถอดเสร็จให้เอำไบออสตัวที่เสียใส่ลงไปแทน และ Flash BIOS ลงไปอีกครั้ง โดยใช้โปรแกรม Flash BIOS
ตำมปกติ หลังจำกนั้นให้ลองบูตเครื่อง ถ้ำบูตได้ก็แสดงว่ำ BIOS ตัวที่เสียถูก Re-Program ให้สำมำรถใช้งำน ได้
ตำมปกติอีก
 เครื่องมือที่หำเองได้ ก็แผ่นเหล็กปิดฝำหลังเคสนั่นแหละ หรือไม่ก็ไขควงปำกแบนตัวเล็กๆ เอำไว้สำหรับ
EEPROM ออก จำก Socket ต้องกำรมือที่นุ่มนวล แต่แข็งแกร่ง ออกแรงน้อยๆก่อน แล้วแรงเด็ดขำด
อย่ำแรงมำก
 แต่ถ้ำมี "คีมปำกแบนแบบในภำพจะช่วยได้มำก ปกติ แล้วแต่กำรวำงตัวของ EEPROM ถ้ำง่ำยขนำดว่ำ
ไม่ต้องถอดออก จำกเคสก็ไม่ต้องเอำออกมำก็ได้ แต่ถ้ำมันยำกเกินที่จะสอดมือใปทำงำนในเคส ก็ถอดเอำ
เมนบอร์ดออกมำ งำนใหญ่ล่ะ ครำวนี้จะเริ่มถอดล่ะนะ ค่อยๆแซะล่ะ อย่ำรีบร้อน บำงตัวถอดง่ำย บำงตัว
ยำกเข็ญ และถ้ำใช้แรงมำกเกินไป ขำ EEPROM จะหักเอำ
 เวลำถอดตัว EEPROM ออกมำแล้ว โปรดสังเกตด้วยนะ มันจะมี Mark ไว้ว่ำขำที่ 1 น่ะขำไหน โดยมำกก็
เป็นจุดหลุมเล็ก บนตัว EEPROM โดยบน Socket เขำก็บำกทำตำแหน่งไว้ต้องใส่ให้ตรงกัน ถ้ำใส่ไม่
ตรงกัน ไบออสจะไหม้ได้ ตรงนี้ต้องระวังอย่ำงมำก ถ้ำถอดออกมำแล้ว
 ไปหำยืมเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆที่ใช้เมนบอร์ดรุ่นเดียวกันเพื่อเขียนไบออสใหม่ไม่ได้ก็เห็นต้อง
พึ่งพำเครื่อ เขียน ไบออส ที่หน้ำตำเป็นแบบนี้แหละครับ หำใช้บริกำรได้ที่ร้ำนแถว "บ้ำนหม้อ" และ
"พันธ์ทิพย์"
 สำหรับ BIOS แบบเสียบลง Socket พบในเมนบอร์ดของเครื่องมียี่ห้อบำงรุ่น และเมนบอร์ดรุ่นใหม่ๆที่ใช้
ชิปเซ็ตอย่ำง Intel 810 เพิ่มควำมยุ่งยำกอีกนิดหน่อย แต่ถ้ำรู้เทคนิคแล้ว ไม่ยำกหรอก นี่แหละตัว BIOS
ฝังอยู่ใน Socket แบบนี้แหละ แต่ไม่ได้หมำยควำมว่ำถอดออกมำใม่ได้นะ ถอดออกมำได้
 เคล็ดลับอยู่ "คลิปหนีบกระดำษ" ตัวเล็กๆ นี่แหละ เอำมำคลำยลวดออกให้ปลำยแหลมๆ ทำให้ต้อง
"คลิป" เพรำะคลิปมันใช้ "ลวดเป็น" งัย คือ ขืนตัวแข็งไม่อ่อนตัว ใช้คลิปนี้แหละ ด้ำนปลำยลวดสอดเข้ำไป
ใน Socket แล้วก็..พยำยำมสอดและดึง EEPROM ขึ้นมำน่ะ คงไม่ยำกนะ อีกวิธีหนึ่งที่ไม่เคยมีแนะนำไว้ใน
ตำรำ แต่มีนักทดลองหลำยท่ำนเคยบอกผมก็คือ ระหว่ำงกำรเปิดเครื่องนั้น ให้ถอดไบออสดีออก และเอำ
ไบออสเสียใส่ลงไป แล้วปิดเครื่องคอมพิวเตอร์เปิดสวิตช์ อีกครั้ง ก็จะเป็น Hot Burn BIOS แต่ผมลอง
แล้วไม่ประสบควำมสำเร็จ แต่ถ้ำไม่มีอะไรที่ดีกว่ำนั้นสำหรับ เมนบอร์ดรุ่นใหม่ๆ ที่ Flash BIOS ได้ แต่
ตัวไบออสถูกบัดกรีลงบนเมนบอร์ดอย่ำงถำวร เช่น Intel BI440ZX กรณีที่ถูก CIH ทำลำยไบออส คงไม่
มีทำงเลือกนอกจำกส่งเข้ำซ่อมเท่ำนั้น เพรำะอย่ำงไรก็แก้ไขเองไม่ได้
กิจกรรมการเรียน
 ใบงาน
เรื่อง กำรปรับแต่ง BIOSเบื้องต้น
 วัตถุประสงค์
 1. สำมำรถเข้ำในซีมอสเซ็ตอัพ (CMOS setup) จำกเครื่องที่กำหนดให้ได้2. สำมำรถ clear รหัสผ่ำนของ
CMOS3. สำมำรถปรับแต่งค่ำต่ำง ๆ ใน Standard CMOS Setupได้4. สำมำรถค้นหำฮำร์ดดิสค์ใน IDE
HDD AutoDetection ได้
เครื่องมือและอุปกรณ์
1. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่กำหนดให้1ชุด 2. ไขควง 1 ชุด
ขั้นตอนการปฏิบัติ
1. ถอดฝำครอบเคส ค้นหำตำแหน่ง CMOS chip และ BatteryBackup2. ต่ออุปกรณ์ คีย์บอร์ด เมำส์ จอภำพ
เข้ำกับ CPU 3. กดสวิทช์ Power ขณะจอภำพเริ่มปรำกฎตัวอักขระ ให้กด แป้ น Del หรือแป้ นอื่น ๆ ตำมข้อควำม
ที่ปรำกฎบนหน้ำจอ4. จอภำพจะปรำกฎข้อควำมให้ใส่ รหัสผ่ำน ให้ทดลองใส่รหัสผ่ำนและจดบันทึกรหัสผ่ำนที่
ทดลอง จำนวน
10 ครัง 5. ให้ Clearรหัสผ่ำน พร้อมบันทึกวิธีทำ และกำหนดรหัสผ่ำนใหม่เป็นของตนเอง6. ให้เข้ำไปปรับแต่ง
ค่ำต่ำง ๆ ใน Standard CMOS Setup ให้ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน7. ให้เข้ำไปสำรวจทุกเมนูของ CMOS setup
Utility8. เข้ำไปทำกำร Detect HDD ใหม่ และเปรียบเทียบกับค่ำเดิมว่ำเหมือนหรือแตกต่ำงกันอย่ำงไร
สรุปและรายงาน
ให้สรุปเป็นรำยงำนจำกกำรฝึกปฏิบัติข้ำงต้น

More Related Content

What's hot

บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์Pises Tantimala
 
Deep freeze enterprise 5.2
Deep freeze enterprise 5.2Deep freeze enterprise 5.2
Deep freeze enterprise 5.2Rose Banioki
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการvgame_emagv
 
Firmware android 4.0.4 ics สำหรับ galaxy cooper
Firmware  android 4.0.4 ics สำหรับ galaxy cooperFirmware  android 4.0.4 ics สำหรับ galaxy cooper
Firmware android 4.0.4 ics สำหรับ galaxy cooperthanakit553
 
Play Station3
Play Station3Play Station3
Play Station3brabanner
 

What's hot (6)

แผงวงจรหลัก
แผงวงจรหลักแผงวงจรหลัก
แผงวงจรหลัก
 
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
Deep freeze enterprise 5.2
Deep freeze enterprise 5.2Deep freeze enterprise 5.2
Deep freeze enterprise 5.2
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
Firmware android 4.0.4 ics สำหรับ galaxy cooper
Firmware  android 4.0.4 ics สำหรับ galaxy cooperFirmware  android 4.0.4 ics สำหรับ galaxy cooper
Firmware android 4.0.4 ics สำหรับ galaxy cooper
 
Play Station3
Play Station3Play Station3
Play Station3
 

Similar to เมนูการปรับแต่งค่า Bios

วิธีติดตั้ง Windows7 ของฟอง
วิธีติดตั้ง Windows7 ของฟองวิธีติดตั้ง Windows7 ของฟอง
วิธีติดตั้ง Windows7 ของฟองFong Chanida
 
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์gotemohardy
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์okbeer
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์okbeer
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์okbeer
 
UMT 5 อาการคอมเสีย นายธนวินท์ หว่อง ปวส.2 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
UMT 5 อาการคอมเสีย  นายธนวินท์   หว่อง ปวส.2  เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์UMT 5 อาการคอมเสีย  นายธนวินท์   หว่อง ปวส.2  เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
UMT 5 อาการคอมเสีย นายธนวินท์ หว่อง ปวส.2 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์Nanashi Lang
 
อาการเสียของคอมพิวเตอร์
อาการเสียของคอมพิวเตอร์อาการเสียของคอมพิวเตอร์
อาการเสียของคอมพิวเตอร์Kimery Kamel
 
อาการเสียของคอมพิวเตอร์
อาการเสียของคอมพิวเตอร์อาการเสียของคอมพิวเตอร์
อาการเสียของคอมพิวเตอร์Ajarnparn
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ปอ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ปอหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ปอ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ปอokbeer
 
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์jumphu9
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นyenny3484
 

Similar to เมนูการปรับแต่งค่า Bios (20)

วิธีติดตั้ง Windows7 ของฟอง
วิธีติดตั้ง Windows7 ของฟองวิธีติดตั้ง Windows7 ของฟอง
วิธีติดตั้ง Windows7 ของฟอง
 
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
 
UMT 5 อาการคอมเสีย นายธนวินท์ หว่อง ปวส.2 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
UMT 5 อาการคอมเสีย  นายธนวินท์   หว่อง ปวส.2  เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์UMT 5 อาการคอมเสีย  นายธนวินท์   หว่อง ปวส.2  เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
UMT 5 อาการคอมเสีย นายธนวินท์ หว่อง ปวส.2 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
อาการเสียของคอมพิวเตอร์
อาการเสียของคอมพิวเตอร์อาการเสียของคอมพิวเตอร์
อาการเสียของคอมพิวเตอร์
 
อาการเสียของคอมพิวเตอร์
อาการเสียของคอมพิวเตอร์อาการเสียของคอมพิวเตอร์
อาการเสียของคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน
คอมพิวเตอร์พื้นฐานคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ปอ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ปอหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ปอ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ปอ
 
Com
ComCom
Com
 
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
 
Intro to Comp
Intro to CompIntro to Comp
Intro to Comp
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Com
ComCom
Com
 
Com
ComCom
Com
 
Com
ComCom
Com
 
Com
ComCom
Com
 

เมนูการปรับแต่งค่า Bios

  • 2. การปรับแต่ง BIOS BIOS (Basic Input/Output System) คือ Chip ROM (EPROM : Erasable Programmable Read-Only Memory) Bios เป็น โปรแกรมที่ทำหน้ำที่ควบคุมฮำร์ดแวร์ในกำร Boot คอมพิวเตอร์ โดย ทุกครั้งเมื่อ เรำเปลี่ยนเครื่องอ่ำนข้อมูล ไม่ว่ำ Floppy Disk Drive , Hard Disk Drive และ CD-Rom Drive โดยเฉพำะ ฮำร์ดดิสก์ เมื่อต่อ เพิ่มหรือถอดออก จะต้องบอกให้ Bios รับรู้เพื่อใช้เป็นข้อมูลในกำร Boot เครื่อง เพื่อเข้ำสู่โปรแกรม Windows หรือ OS ต่อไป BIOS (Basic Input/Output System) CMOS (Complementary Metal Oxide Semiconductor )
  • 3. การทางานของ BIOS ขั้นตอนการทางานของ BIOS ขั้นที่ 1เมื่อเปิดเครื่อง BIOS จะตรวจสอบอุปกรณ์พื้นฐำนที่จำเป็นต่อกำรใช้งำน เช่น คีบอร์ด, ดิสก์ไดรฟ์, จอภำพ,หน่วยควำมจำ ฯลฯ หำกมีอุปกรณ์ใดอุปกรณ์หนึ่งทำงำนไม่ถูกต้อง จะแจ้งข้อผิดพลำดให้ ทรำบทั้งในลักษณะข้อควำม (หำกจอภำพทำงำนได้) และเสียง beep หำกจอภำพทำงำนไม่ได้ ขั้นที่ 2โหลดค่ำกำหนดเกี่ยวกับอุปกรณ์ต่ำงๆขึ้นมำใช้งำน โดยค่ำต่ำงๆเหล่ำนี้จะถูกเก็บไว้ใน CMOS ซึ่ง ผู้ใช้สำมำรถเปลี่ยนแปลงได้โดยผ่ำน SETUP ขั้นที่ 3โหลดระบบปฏิบัติกำรที่ติดตั้งไว้ในดิสก์ขึ้นมำทำงำน ขั้นที่ 4เมื่อระบบปฏิบัติกำรเริ่มทำงำน นั่นคือคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นจะอยู่ในสภำพที่พร้อมสำหรับกำรใช้ งำนแล้ว ส่วน BIOS จะทำหน้ำที่ให้บริกำรต่ำงๆต่อระบบกำรปฏิบัติกำรอยู่เบื้องหลัง เช่น กำรอ่ำน- เขียนข้อมูลจำกดิสก์, ปิดจอภำพเมื่อผู้ใช้ไม่ได้ใช้งำนเป็นเวลำนำนๆ ฯลฯ ขั้นที่ 5 เมื่อต้องกำรปิดเครื่อง BIOS จะปิดกำรทำงำนของอุปกรณ์ต่ำงๆทั้งหมดรวมถึงตัดกระแสไฟที่จ่ำย ให้ power supply ด้วย ค่ำกำหนดต่ำงๆที่เก็บไว้ใน CMOS จะไม่หำยไป เมื่อผู้ใช้เปิดเครื่องขึ้นมำใหม่
  • 4.  เมื่อเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ BIOS จะเข้ำสู่ขั้นตอนที่เรียกว่ำ POST (Power-On Self Test) ซึ่งเป็นกำรตรวจ สอบอุปกรณ์ต่ำงๆที่มีใน คอมพิวเตอร์  สำเหตุที่ต้องตรวจสอบ  คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะมีอุปกรณ์ไม่เหมือนกัน อีกทั้งผู้ใช้ยัง สำมำรถเปลี่ยนแปลงอุปกรณ์เหล่ำนี้ได้โดยอิสระอีกด้วย ดังนั้นย่อม เป็นกำรดี ที่จะมำตรวจ สอบกันก่อนเริ่มต้นทำงำน ในกรณีที่เจอ ข้อผิดพลำด ก็ยังสำมำรถรำยงำนให้ผู้ใช้ทรำบและแก้ไขได้อย่ำง ถูกต้อง
  • 5. ขั้นตอนการทางานของ POST กำร POST คือกำรทำงำนของ BIOS ขณะเริ่มต้นระบบ ซึ่งพอสรุปขั้นตอนได้ดังนี้ ขั้นที่ 1แสดงข้อควำมเริ่มต้นของกำร์ดแสดงผล ซึ่งปกติจะขึ้นอยู่กับชนิดของกำร์ดแสดงผลที่ติดตั้งอยู่ใน คอมพิวเตอร์นั้นๆ โดยอำจแสดงชื่อบริษัท-โลโก้ของผู้ผลิต,ชื่อรุ่น, ขนำดของหน่วยควำมจำ ฯลฯ หรือในบำงรุ่น อำจไม่แสดง ข้อควำม ใดๆในขั้นตอนนี้เลยก็ได้ ขั้นที่ 2 แสดงรำยละเอียดเกี่ยวกับ BIOS รวมถึงหมำยเลขอ้ำงอิงสำหรับผู้ผลิตเมนบอร์ดและข้อควำม อื่นๆ จำกภำพที่ 2-2 เป็น BIOS ของ Award บนเมนบอร์ดซึ่งใช้ชิปเซ็ต Intel 430HX ขั้นที่ 3ตรวจสอบและนับจำนวนหน่ำยควำมจำ รวมทั้งเริ่มกำรทำงำนของอุปกรณ์ประเภทดิสก์ไดรฟ์ ขั้นที่ 4เมื่อสิ้นสุดกำรทำงำนของ POST แล้ว บนหน้ำจอจะแสดงรำยละเอียดเกี่ยวกับฮำร์ดแวร์พื้นฐำน ทั้งหมด จำกนั้นจึง โหลดระบบปฏิบัติกำร จำกดิสก์ที่กำหนด (ผ่ำนทำง SETUP) มำทำงำนต่อไป
  • 6. กำร SET BIOS  โดยปกติแล้ว เรำไม่จำเป็นต้องทำกำรเปลี่ยนแปลงค่ำต่ำง ๆ ใน BIOS บ่อยนัก ยกเว้นเมื่อ เรำ ต้องกำรเปลี่ยนแปลง กำรตั้งค่ำต่ำง ๆ หรือเมื่อมีกำรเปลี่ยน อุปกรณ์ใหม่ ๆ เช่น CPU, RAM หรือ Hard Disk เป็นต้น  การเข้าสู่ BIOS Setup Mode สำหรับวิธีกำรที่จะเข้ำไปตั้งค่ำต่ำง ๆ ใน BIOS ได้นั้น จะขึ้นอยู่กับระบบของ แต่ละเครื่องด้วย โดยปกติเมื่อเรำทำกำรเปิดสวิทช์ไฟของเครื่องคอมพิวเตอร์ BIOS ก็จะเริ่มทำงำนโดยทำกำรทดสอบอุปกรณ์ต่ำง ๆ ก่อนที่จะเรียกใช้งำนระบบ DOS จำกแผ่น Floppy Disk หรือ Hard Disk ในช่วงนี้จะเป็นช่วงที่เรำสำมำรถเข้ำ ไปทำกำรแก้ไขเปลี่ยนแปลงกำรตั้งค่ำต่ำง ๆ ใน BIOS ได้โดยกด Key ต่ำง ๆ เช่น DEL, ESC CTRL-ESC, CTRL-ALT-ESC ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับว่ำแต่ละเครื่อง จะตั้งไว้อย่ำงไร ส่วนใหญ่ จะมีข้อควำมบอกเช่น "Press DEL Key to Enter BIOS Setup" เป็นต้น
  • 7. วิธีการ CLEAR/RESET PASSWORD ของ BIOS โดยปกติแล้ว หำกคุณใช้เครื่องคอมพิวเตอร์คนเดียว ก็คงไม่มีควำม จำเป็นต้องตั้ง Password สำหรับเข้ำไป Setup BIOS หรือเปิดเครื่อง แต่ถ้ำหำกได้เคยตั้งไว้แล้วลืม หรือได้เมนบอร์ดมำโดยที่มีกำรตั้ง Password ไว้และไม่รู้ว่ำใช้ Password อะไร ก็มีวิธีกำรที่จะ Reset หรือ Clear Password
  • 8. 1. ลองใช้ Password แบบ Case Sensitive คือแบบที่น่าจะเป็น 2. ทาการ Reset โดยการ Clear CMOS ดังนี้ มองหำ jumper สำหรับ Reset CMOS ก่อนโดยดูจำกคู่มือ หรืออำจจะมองหำ jumper ใกล้ ๆ กับแบตเตอรี่ของ CMOS ก็ได้ ส่วนใหญ่จะมีลักษณะเป็น jumper 3 ขำ - วิธีกำร Reset คือทำกำร jump ให้ตรงข้ำมกับปกติ คือถ้ำหำกเดิมมีกำร jump อยู่ที่ 1-2 ก็ เปลี่ยนมำเป็น 2-3 หรือถ้ำปกติ jump อยู่ที่ 2-3 อยู่แล้วก็เปลี่ยนเป็น 1-2 จำกนั้นเปิดเครื่อง คอมพิวเตอร์ ทิ้งไว้สัก 5-10 วินำที ปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ เปลี่ยน jumper กลับมำที่เดิม Password จะถูก Reset 3. ทาการถอดแบตเตอรี่ของ CMOS ออก ถ้ำหำกไม่สำมำรถหำ jumper สำหรับ Reset CMOS ได้อำจจะมีอีกวิธี คือทำกำรถอดแบตเตอรี่ ของ CMOS ออกสัก 5 นำทีแล้วก็ใส่เข้ำไปใหม่ จะเป็นกำรตั้งค่ำทุกอย่ำงของ BIOS กลับไป เป็น Default ได้ แต่เมนบอร์ดบำงรุ่น จะยังมี Password อยู่โดยจะเป็น Default Password ตำมด้ำนบน หลังจำกใส่แบตเตอรี่แล้วก็ถ้ำยังถำม Password อีกให้ลองใส่ Default Password ข้ำงบนดู
  • 9. กำร SET BIOS  สำหรับตัวอย่ำงต่อไปนี้นำมำให้ดูแบบทั่ว ๆ ไปของ BIOS ซึ่งส่วนใหญ่ก็จะคล้ำย ๆ กัน เริ่มจำกหลังจำกที่กด DEL หรือ Key อื่น ๆ ขณะเปิดเครื่องเพื่อเข้ำสู่ BIOS Setup Mode โดยปกติแล้ว ถ้ำหำกเป็นกำรตั้งค่ำครั้งแรก หลังจำกที่ทำกำร Reset CMOS แล้ว ก็เลือกที่เมนู Load BIOS Default Setup หรือ Load BIOS Optimal-performance เพื่อเลือกกำรตั้งค่ำแบบกลำง ๆ ของอุปกรณ์ทั่วไปก่อน จำกนั้นจึงมำทำกำรเลือกแก้ไขเปลี่ยนแปลงแต่ละค่ำ ตำมเมนูต่อไปนี้เลยครับ
  • 10. STANDARD CMOS SETUP  Date และ Time ใส่ วันที่ และ เวลำ ปัจจุบัน Hard Disk กำหนดขนำดของ HDD(Hard Disk) ว่ำมีขนำดเท่ำไร โดยเลือกตั้งค่ำเอง แบบ User,แบบอัตโนมัติ Auto หรือ ไม่ได้ติดตั้งก็เลือกที่ None Primary / Master อุปกรณ์ที่ต่อกับ IDE แรก แบบ Master (1 IDE จะต่อ HDD หรือ CD-ROMได้ 2 ตัว) Primary / Slave อุปกรณ์ที่ต่อกับ IDE แรก แบบ Slave Secondary / Master อุปกรณ์ที่ต่อกับ IDEที่สอง แบบ Master Secondary / Slave อุปกรณ์ที่ต่อกับ IDE ที่สอง แบบ Slave ซึ่งจะต้องกำหนด Cyls (cylinders) Heads, Sectors และ Mode สำหรับ Mode มีดังนี้ - Auto BIOSจะทำกำรตรวจสอบและตั้ง Mode ของ HDDอัตโนมัติ - Normal สำหรับ HDDที่มี clys,heads,sectorsไม่เกิน 1024,16,63 หรือขนำดไม่เกิน 528M. - Large สำหรับ HDD ที่มี cyls มำกกว่ำ 1024 แต่ไม่ support LBA Mode - LBALogical Block Addressing สำหรับ HDDใหม่ ๆ จะมีกำรส่งข้อมูลที่เร็วกว่ำ (สำหรับ HDDถ้ำหำกทรำบค่ำที่แน่นอนให้ใส่เป็น User แต่ถ้ำไม่แน่ใจ ให้ตั้ง Auto ไว้) Drive A: B: ชนิดของ DisketteDrives ที่ติดตั้งใช้งำน 360K, 720K, 1.2M หรือ 1.44M Video ชนิดของจอแสดงภำพ (ปกติจะเป็น EGA/VGA) Halt On กำหนดกำร Stop หำกพบ Error ขณะที่ POST (Power-On Seft Test) - Allerrors กำร POST จะหยุดและแสดง prompts ให้เลือกกำรทำงำนต่อไปทุก Error - All,But Key กำร POST จะไม่หยุดกรณีของกำรเกิด Keyboard Error - All,But Disk กำร POST จะไม่หยุดกรณีของกำรเกิด DisketteDrive Error - All,But Disk/Key กำร POST จะไม่หยุดกรณีของกำรเกิด Keyboard Error หรือ Diskette Base Memory โดยปกติจะเป็น 640K สำหรับ DOS Extended คือ Memory ในส่วนที่สูงกว่ำ 1M ขึ้นไป Other Memory หมำยถึงส่วนของระหว่ำง 640K ถึง 1M
  • 11.
  • 12. BIOS FEATURES SETUP  Virus Warning กำรเตือนเมื่อมีกำรเขียนข้อมูลทับ Boot Record ของ HDD[Enabled] CPU Int / Ext cache กำรใช้งำน CPU Internal / External Cache [Enabled] Quick Power On Seft Test กำรทำ POST แบบเร็ว [Enabled] Boot Sequence เลือกลำดับของกำรบูทเช่นจำก C:, A: หรือ IDE-0, IDE-1 [C: A:] Swap Floppy Disk กำหนดกำรสลับตำแหน่ง Drive A: เป็น Drive B: [Disabled] Boot Up Floppy Seek กำรตรวจสอบชนิดของ Disk Drive ว่ำเป็นแบบใด [Disabled] Boot Up NumLockStatus กำหนดกำรทำงำนของ Key NumLock หลังจำกเปิดเครื่อง [Disabled] Boot Up System Speed กำหนดควำมเร็ว CPU หลังจำกเปิดเครื่อง [High] Gate A20 Option กำรเข้ำถึง Address memoryส่วนที่สูงกว่ำ 1M [Fast] Typematic Rate Setting กำหนดควำมเร็วของกำรกด Key [Enabled] Typematic Rate (Chars/Sec) กำหนดควำมเร็วของกำรกด Key [6] Typematic Delay (Msec) กำหนดค่ำ delay ของกำรกด Key [250] Security Option กำหนดกำรตั้งรหัสผ่ำนของกำร Setup BIOS หรือ System [Setup] PS/2 Mouse Control กำหนดกำรใช้งำน PS/2 Mouse [Disabled] PCI/VGAPalette Snoop แก้ปัญหำกำรเพี้ยนของสีเมื่อใช้กำร์ดวีดีโออื่น ๆ ร่วมด้วย [Disabled] Assign IRQ for VGA กำหนดกำรใช้ IRQให้กับกำร์ดจอ [Enabled] OS Select for DRAM> 64M กำรกำหนดหน่วยควำมจำสำหรับ OS2 [Non-OS] HDD S.M.A.R.TcapabilitySelf-MoniteringAnalysis and Reporting Technology [Enabled]
  • 13.  Video BIOS Shadow กำหนดให้ทำ Shadow กับ ROM จำกกำร์ดแสดงผล C0000- C4000 [Enabled] Adapter ROM กำหนดให้ทำ Shadow กับ ROM จำกกำร์ดที่เสียบเพิ่มเติม C8000 ใช้กับกำร์ดแสดงผลชนิด MDA (จอเขียว) CC000 ใช้กับกำร์ด controller บำงประเภท [Disabled] D0000 ใช้กับกำร์ด LAN [ถ้ำไม่ใช้ตั้ง Disabled] D4000 ใช้กับ controller สำหรับ Disk Drive ชนิดพิเศษ [Disabled] D8000 ตั้ง [Disable] DC000 ตั้ง [Disable] E0000 ตั้ง [Disable] E4000 ตั้ง [Disable] E8000 ตั้ง [Disable] EC000 ใช้กับกำร์ด controller ชนิด SCSI [หำกไม่ได้ใช้ตั้ง Disable] System ROM กำรทำ Shadow กับ ROM ของ BIOS ที่ F000 [Enabled]
  • 14.
  • 15. CHIPSET FEATURES SETUP  Auto Configuration คือให้ BIOS จัดกำรค่ำต่ำงๆโดยอัตโนมัติซึ่งจะเป็นค่ำกลำง ๆ Hidden Refresh กำรเติมประจุไฟของ DRAM [Enabled] Slow Refresh ให้ DRAM ลดควำมถี่ในกำรเติมประจุไฟลง 2 - 4 เท่ำ [Enabled ถ้ำไม่มีปัญหำ] Concurrent Refresh กำรอ่ำน-เขียนข้อมูล ได้พร้อมๆกับกำรเติมประจุไฟใน DRAM [Enabled] Burst Refresh กำรเติมประจุไฟลง DRAM ได้หลำยๆ รอบในกำรทำงำนครั้งเดียว [Enabled] DRAM Brust at 4 Refresh จำนวนกำร Burst Refresh เป็น 4 รอบในกำรทำงำน 1ครั้ง [Enabled] Staggered Refresh กำรเติมประจุล่วงหน้ำใน DRAM ใน Bank ถัดไปด้วย [Enabled] Refresh RAS Active Time ให้ทดลองกำหนดค่ำน้อยที่สุดเท่ำที่เครื่องจะสำมำรถทำงำนได้ AT Cycle Wait State เวลำที่รอให้กำร์ด ISA พร้อม ให้ตั้งค่ำที่น้อยสุดเท่ำที่เครื่องทำงำนได้ 16-Bit Memory, I/O Wait State เวลำที่ซีพียูต้องรอระหว่ำงรอบกำรทำงำน ตั้งน้อยที่สุดที่ทำงำนได้ 8-Bit Memory, I/O Wait State เวลำที่ซีพียูต้องรอระหว่ำงรอบกำรทำงำน ให้ตั้งน้อยสุดที่ทำงำนได้ DMA Clock Source กำหนดควำมเร็วของอุปกรณ์ DMA โดยมีค่ำปกติคือ 5 MHz Memory Remapping หำกเปิดกำรทำงำนนี้ไว้จะทำ Shadows กับ BIOS ใดๆ ไม่ได้ [Disable] Cache Read Hit Burst หรือ SRAM Read Wait State ระยะพักรอเมื่ออ่ำนข้อมูลลงใน L1 Cache ให้ตั้งน้อยที่สุดเท่ำที่ทำงำนได้ Cache Write Hit Burst หรือ SRAM Write Wait State ระยะพักรอเมื่ออ่ำนข้อมูลลงใน L1 Cache ให้ตั้งน้อยที่สุดเท่ำที่ทำงำนได้ Fast Cache Read / Write ให้แคชทำงำนโหมดควำมเร็วสูง จะมีผลเมื่อแคชมีขนำด 64 KB หรือ 256 KB
  • 16.  Tag Ram Includes Ditry ให้แคชทำงำนในโหมดเขียนทับโดยไม่ต้องย้ำย/ลบข้อมูลเดิมออกก่อน หำกมี Ram น้อยกว่ำ 256 MB ควรใช้ Dirty Bit Non-Cacheable Block-1 Size กำหนดขนำดหน่วยควำมจำที่ห้ำมทำแคช [OK หรือ Disabled] RAS to CAS Delay Time ค่ำหน่วงเวลำก่อนที่จะสลับกำรทำงำน RAS-CAS ตั้งค่ำน้อยที่สุดเท่ำที่ทำงำนได้ CAS Before RAS กำรสลับลำดับกำรทำงำนระหว่ำง RAS และ CAS CAS Width in Read Cycle กำหนดค่ำหน่วงเวลำก่อนที่ซีพียูจะเริ่มอ่ำนข้อมูลใน DRAM ตั้งน้อยที่สุดที่ทำงำนได้ Interleave Mode ให้ซีพียูอ่ำน - เขียนข้อมูลจำก DRAM ในโหมด Interleave Fast Page Mode DRAM ให้หน่วยควำมจำทำงำนแบบ FPM โดยไม่ต้องอำศัย RAS และ CAS ซึ่งจะเร็วกว่ำ SDRAM CAS Latency Time หรือ SDRAM Cycle Length ระยะรอบกำรทำงำนของ CAS latency ใน SDRAM ตั้งค่ำน้อยที่สุด หรือใช้ค่ำ 2 กับ RAM ชนิด PC100 และใช้ค่ำ 3 กับ RAM ชนิด PC66/83 Read Around Write กำหนดให้ซีพียูอ่ำน - เขียนข้อมูลจำกหน่วยควำมจำได้ในครำวเดียวกัน [Enabled] DRAM Data Integrity Mode เลือก Non-ECC หรือ ECC ตำมขนิดของ SDRAM System BIOS Cacheable กำรทำแคชของ System BIOS ROM #F0000-FFFFF [Enabled] Video BIOS Cacheable กำรทำแคชของ Video BIOS ROM [Enabled] Video RAM Cacheable กำรทำแคชของ Video RAM #A0000-AFFFF [Enabled ถ้ำไม่มีปัญหำ] Memory Hole at 15M-16M กำรจองพื้นที่สำหรับ ISA Adapter ROM [Enabled] Passive Release กำหนด CPU to PCI bus accesses ช่วง passive release [Enabled] Delayed Transaction เลือก Enable สำหรับ PCI version 2.1 AGP Aperture Size (MB) กำหนดขนำดของ AGP Aperture กำหนดเป็นครึ่งหนึ่งของ RAM ทั้งหมด
  • 17. POWER MANAGEMENT  Max Saving กำหนดกำรประหยัดพลังงำนแบบ สูงสุด User Define กำหนดกำรประหยัดพลังงำนแบบ ตั้งค่ำเอง Min Saving กำหนดกำรประหยัดพลังงำนแบบ ต่ำสุด PM Control by APM กำหนดให้ควบคุมกำรประหยัดพลังงำนผ่ำนทำงซอฟท์แวร์ APM Video Off Method กำหนดวิธีกำรปิดจอภำพเมื่อเข้ำสู่โหมดประหยัดพลังงำน V/H SYNC + Blank จะปิดกำรทำงำน V/H SYNC และดับจอภำพด้วย Blank Screen DPMS สำหรับกำร์ดแสดงผลและจอภำพที่สนับสนุนโหมด DPMS Blank Screen จะทำกำรแสดงหน้ำจอว่ำง ๆ เมื่อประหยัดพลังงำน สำหรับจอรุ่นเก่ำ ๆ Video Off After ให้ปิดจอภำพเมื่อเข้ำสู่โหมดประหยัดพลังงำนแบบ Stanby หรือ Suspend Standby Mode กำหนดระยะเวลำเมื่อพบว่ำไม่มีกำรใช้งำน จะหยุดทำงำนของอุปกรณ์บำงส่วน Supend Mode จะตัดกำรทำงำนบำงส่วนคล้ำย Standby Mode แต่หยุดอุปกรณ์ที่มำกกว่ำ HDD Power Down กำหนดระยะเวลำก่อนที่ BIOS จะหยุดกำรทำงำนของ HDD Resume by Ring เมื่อ Enabled สำมำรถสั่งให้ทำงำนจำก Soft Off Mode ได้ Resume by Alarm เมื่อ Enabled สำมำรถตั้งเวลำทำงำนจำก Suspend Mode ได้ Wake Up On LAN เมื่อ Enabled สำมำรถสั่งให้ทำงำนจำก Soft Off Mode ได้
  • 18. INTEGRATED PERIPHERALS  IDE HDD BLOCKS MODE ให้ HDD อ่ำน-เขียนข้อมูลได้ครั้งละหลำย Sector พร้อมกัน [Enabled] IDE PIO Mode... กำหนดกำรทำงำนแบบ Programe Input/Output [ตั้งสูงสุดหรือ Auto] IDE UDMA... กำหนดกำรทำงำนแบบ DMA หรือ UDMA [Enabled หรือ Auto] On-Chip PCI IDE กำหนดกำรใช้ช่องเสียบ HDD IDE ที่อยู่บนเมนบอร์ด [Enabled] USB Keyboard Support กำหนดให้ใช้ Keyboard แบบ USB [Enabled] Onboard FDC Controller กำหนดให้ใช้ช่องเสียบ Disk Drive ที่อยู่บนเมนบอร์ด [Enabled] Onboard Serial Port 1 กำหนดค่ำแอดเดรสและ IRQ ให้ COM1 ค่ำปกติคือ 3F8/IRQ4 Onboard Serial Port 2 กำหนดค่ำแอดเดรสและ IRQ ให้ COM2 ค่ำปกติคือ 2F8/IRQ3 Parallel Port Mode กำหนดโหมดกำรทำงำนของพอร์ตขนำนได้ใน 3 แบบ [EPP&ECP] SPP (Standard Parallel Port) คือโหมดมำตรฐำนเหมำะแก่เครื่องพิมพ์รุ่นเก่ำๆ EPP (EnhancedParallel Port) คือโหมด 2 ทิศทำงเหมำะแก่เครื่องพิมพ์รุ่นใหม่ ECP (ExtendedCapabilitiesPort) คือโหมดควำมเร็วสูง เมื่อต่อพ่วงกับ Scanner, Laplink ฯลฯ ECP MODE USE DMA คือกำหนด DMA สำหรับ Port ขนำนแบบ ECP ซึ่งค่ำปกติคือ 3
  • 19. IDE HDD AUTO DETECTION  สำหรับค้นหำฮำร์ดดิสก์แบบอัตโนมัติ โดยจะค้นหำ Primary Master , Primary Slave , Secondary Master , Secondary Slave ตำมลำดับ โดยให้เรำตอบ Y ในแต่ละขั้นตอนที่ต้องกำร ถ้ำในขั้นตอนนี้ไม่ สำมำรถ ค้นหำ ฮำร์ดดิสก์ที่เรำติดตั้งไว้ได้ ต้องตรวจสอบกำรต่อฮำร์ดดิสก์ให้ถูกต้องอีกครั้ง
  • 20. การตั้งค่าอื่น ๆ Load BIOSDefault Setup เมื่อกดเลือกที่นี่ BIOSจะทำกำรตั้งค่ำต่ำง ๆ ให้เป็นแบบกลำง ๆ สำหรับอุปกรณ์ทั่ว ๆ ไป หรือเป็นกำรตั้งค่ำแบบ Factory Setup ก็ได้ Load BIOSOptimize Setup เมื่อกดเลือกที่นี่ BIOSจะทำกำรตั้งค่ำต่ำง ๆ ของอุปกรณ์ ให้ได้ประสิทธิภำพสูงสุด Password Setting ใช้สำหรับกำรตั้ง Password เมื่อต้องกำรจะเข้ำไปเปลี่ยนแปลงกำรตั้งค่ำต่ำง ๆ ใน BIOSหรือเมื่อต้องกำรจะเปิด เครื่อง โดยปกติ เมื่อใส่ Password ระบบจะให้ใส่ Confirmซ้ำ 2 รอบเพื่อป้ องกันกำรใส่ผิดพลำด (ไม่ใส่อะไรเลย คือกำรยกเลิก password) HDD Low Level Format เป็นเมนูสำหรับทำ Low Level Format ของ Hard Disk ซึ่งใช้สำหรับทำกำร Format Hard Disk แบบระดับต่ำสุด ซึ่งถ้ำหำกไม่มี ปัญหำอะไรกับ Hard Disk ก็ไม่จำเป็นต้องทำ Exit withSave Setting หรือ Exit withoutSave Setting เมื่อทำกำรเปลี่ยนแปลงข้อมูลกำรตั้งค่ำต่ำง ๆ ของ BIOS แล้วต้องทำกำร Save เก็บไว้ด้วยนะครับ ส่วนใหญ่ เมื่อทำกำร Save แล้วจะบูทเครื่องใหม่ ค่ำต่ำง ๆ ที่ตั้งไว้จึงจะใช้งำนได้ CPU Setup นอกจำกนี้ ในเมนบอร์ดรุ่นใหม่ ๆ ที่เป็นแบบ Jumper Free (ไม่ใช้ Jumper แต่จะใช้เมนูใน BIOSสำหรับตั้งค่ำ ต่ำง ๆ ) จะ สำมำรถตั้งค่ำของควำมเร็ว CPU,ค่ำ multipleหรือ FSB, ค่ำไฟ Vcore และอื่น ๆ อีกแล้วแต่รุ่นของ เมนบอร์ดนั้น ๆ
  • 21. FLASH BIOS  การ Flash BIOS ก็ คื อกำร Update เปลี่ยนแปลงข้อมูลหรือซอฟท์แวร์ที่บรรจุอยู่ใน BIOS ROM Chip ซึ่งจะเป็นซอฟท์แวร์ขนำดเล็ก ๆ ที่จำเป็นสำหรับกำรบูทเครื่องคอมพิวเตอร์ กำรที่เรำทำกำร Update BIOS ก็คือกำร Update ซอฟท์แวร์นี้นั่นเอง เหตุผลที่ต้องมีกำร Update BIOS มีดังนี้ - เพื่อให้ BIOS นั้นสำมำรถรองรับกำรทำงำนของอุปกรณ์ใหม่ ๆ ได้ - เพิ่มเติมและแก้ไขควำมสำมำรถต่ำง ๆ ให้มำกขึ้นเช่นกำร Auto Detect อุปกรณ์ต่ำง ๆ - เพิ่มกำร Support กับ CPU ใหม่ ๆ ที่เพิ่งจะเกิดขึ้นมำด้วย - เพิ่มกำรรองรับกับ Hard Disk ขนำดใหญ่ ๆ - รองรับหรือแก้ปัญหำ Y2K - แก้ไขปัญหำบำงอย่ำงที่เกิดขึ้นกับเมนบอร์ด - ในบำงครั้ง ก็อำจจะช่วยเพิ่มประสิทธิภำพและควำมเสถียรภำพของระบบโดยรวมได้ - และอื่น ๆ อีกมำกมำย รำยละเอียดของ BIOS แต่ละ Version คงต้องหำข้อมูลจำกเวปไซต์ของผู้ผลิตเมนบอร์ดแต่ละยี่ห้อนะครับว่ำ จะมีอะไรไหม่ ๆ บ้ำง
  • 22. จาเป็นมากแค่ไหน ที่ต้องทาการ FLASH BIOS  โดยทั่วไปแล้ว หำกคุณสำมำรถใช้งำนเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ปกติไม่มีปัญหำอะไรก็คงไม่มี ควำมจำเป็นที่จะต้องทำกำร Update BIOS แต่ถ้ำหำกวันใดที่ต้องกำรเพิ่มอุปกรณ์ใหม่ ๆ เข้ำไปในเครื่องคอมพิวเตอร์ของคุณ เช่นเปลี่ยน CPU หรือ Hard Disk ใหม่ และเกิดปัญหำ หรือไม่สำมำรถใช้งำนได้ ก็อำจจะมีควำมจำเป็นที่จะต้องทำกำร Update BIOS นะครับ ดังนั้น คงจะขึ้นอยู่กับควำมจำเป็นต่ำง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ ว่ำต้องกำรที่จะแก้ไขอะไรใน BIOS หรือไม่ เพรำะจะว่ำไปแล้ว กำร Update BIOS ไม่ใช่เรื่องยำกเย็นอะไรนัก แต่หำกเกิดกำรผิดพลำด ระหว่ำง กำร Flash BIOS ก็อันตรำยมำก ถึงขนำดไม่สำมำรถบูทเครื่องได้ จะสามารถหา BIOS ใหม่ ๆ ได้จากที่ไหน เวปไซต์ของผู้ผลิตเมนบอร์ดของแต่ละยี่ห้อนั้น ๆ และจะต้องเป็น BIOS ของเมนบอร์ดรุ่นเดียวกันด้วย ไม่ขอแนะนำให้นำ BIOS ของเมนบอร์ดรุ่นอื่น ๆ หรือ ที่ไม่แน่ใจมำทำกำร Flash เด็ดขำด ส่วนใหญ่จะไม่สำมำรถใช้งำนได้หรืออำจจะไม่สำมำรถ บูทเครื่องได้เลยก็ได้ อีกที่หนึ่งสำหรับ Award BIOS นะครับ ถ้ำหำกหำไม่ได้และต้องกำร Flash จริง ๆ ก็ลองเข้ำไปหำดูที่ http://www.award.com.tw/download นะครับจะมี Image ของ BIOS อยู่หลำยรุ่น
  • 23. กำรเตรียมอุปกรณ์ก่อนทำกำร FLASH BIOS สิ่งที่ต้องเตรียมสำหรับกำร Flash BIOS มีดังนี้ เตรียมแผ่น Floppy Disk สำหรับ Boot เครื่องเช่น Windows Start Up Disk หรือแผ่น Boot DOS เพื่อใช้สำหรับ Boot เครื่องเข้ำ DOS Prompt อย่ำงเดียว (อำจจะทำขึ้นมำเองง่ำย ๆ โดยใส่แผ่นดิสก์แล้วสั่ง format a: /s ก็ได้) เตรียมโปรแกรมสำหรับ Flash BIOS โดยที่จะสำมำรถหำได้จำกเวปไซต์ของผู้ผลิต เมนบอร์ดนั้น ๆ นะครับ ส่วนใหญ่จะเป็นไฟล์เล็ก ๆ เช่น AWDFLASH.EXE หรือหำกเวปไซต์นั้น แนะนำให้ใช้โปรแกรมตัวอื่น ๆ ก็ขอให้ใช้ตำมนั้นนะครับ เตรียม Image BIOS โดยที่จะสำมำรถหำได้จำกเวปไซต์ของผู้ผลิตเมนบอร์ดนั้น ๆ นะครับรูปแบบทั่วไปส่วนใหญ่ จะเป็นไฟล์นำมสกุล .BIN นะครับ อันนี้ขอเน้นอีก ครั้งว่ำ ต้องเป็น Image BIOS สำหรับเมนบอร์ดรุ่นเดียวกันเท่ำนั้นนะครับ
  • 24. ขั้นตอนการทา FLASH BIOS หลังจำกที่ตัดสินใจจะทำกำร Update BIOS แน่นอนแล้ว และเตรียมอุปกรณ์หรือซอฟท์แวร์ ต่ำง ๆพร้อมแล้ว ก็เริ่มต้นขั้นตอนตำมนี้ เปิดเครื่อง และเข้ำไปทำกำร BIOS Setup โดย กด DEL ระหว่ำงที่เครื่องกำลังทดสอบ RAM อยู่ ทำกำรตั้งค่ำของ System BIOS Cacheable Option ใน BIOS ให้เป็น Disabled เสียก่อนที่จะทำกำร Flash BIOS ใหม่ ให้ เปิดคู่มือของเมนบอร์ดเพื่อหำตำแหน่งของ jumper สำหรับกำร Flash BIOS (หำกไม่มี คู่มือลองมองหำดู jumper ใกล้ ๆ กับ CMOS นะครับ ส่วนใหญ่จะเป็น jumper 3 ขำและ มีกำรพิมพ์กำกับกำรใช้งำนอยู่บนบอร์ด) ทำกำรเปลี่ยน jumper ไปที่ตำแหน่ง Flash นะ ครับ ซึ่งเท่ำที่ทรำบมำเมนบอร์ดบำงรุ่นอำจจะไม่มีก็ได้ ให้ลองหำดูก่อน Boot เครื่องใหม่ โดยทำกำร Boot แบบ Clean Boot ครับ คือให้กด F8 ขณะที่กำลังจะเข้ำสู่หน้ำจอ Start Windows จะเข้ำหน้ำจอของ Menu แล้วจำกนั้นเลือก Save Mode MS DOS Prompt แล้วจึงทำในขั้นตอนต่อไป หรือจะให้ดีควรจะ Boot เครื่องจำกแผ่นดิสก์ที่มีแต่เพียง DOS อย่ำงเดียวโดยไม่มีกำร Load Driver อะไรต่ำง ๆ เลย
  • 25. สั่งหรือเรียกโปรแกรมสำหรับ Flash เช่น AWDFLASH หรือโปรแกรมสำหรับ Flash BIOS ที่ Download มำ ท โดยส่วนใหญ่ตรงนี้ โปรแกรมจะถำมให้ทำกำร Save BIOS Version เก่ำที่มีอยู่ในเครื่องเก็บไว้ก่อน ขอแนะนำให้ทำกำร Save BIOS ใส่แผ่นดิสก์ไว้นะครับ เพื่อ ควำมไม่ประมำท หรือถ้ำหำกเกิดกำรผิดพลำดขึ้น อำจจะยังพอแก้ไขได้ ใส่ชื่อของ file ที่ เป็น Image BIOS ที่ต้องกำรจะ Flash จำกนั้นทำกำร Flash ตำมขั้นตอนคำแนะนำของ โปรแกรมนะครับกำร Flash จะใช้เวลำไม่นำนมำกนัก ประมำณไม่เกิน 1 นำที ระหว่ำงนี้ก็ ต้องระวัง ห้ำมปิดเครื่องหรือทำกำร Reset โดยเด็ดขำดนะครับ ไม่เช่นนั้น เมนบอร์ดคุณ อำจจะไม่สำมำรถ Boot ได้เลยก็ได้ (ต้องระวังเรื่องไฟฟ้ ำดับด้วยนะครับ พยำยำมอย่ำทำขณะที่เสี่ยงต่อกำรเกิดไฟฟ้ำดับเป็นอัน ขำด)หลังจำกที่ Flash เรียบร้อยแล้ว ให้ปิดเครื่องสักประมำณ 15 วินำที หำกได้ทำกำร เปลี่ยน jumper สำหรับกำร Flash ไว้ตั้งแต่ต้น ก็ทำกำรเปลี่ยนกลับไปเป็นเหมือนเดิมด้วย นะครับ บำงครั้ง ต้องทำกำร Clear CMOS jumper (คนละอันกับ Flash jumper นะครับ) ก่อนที่จะเปิด เครื่องใหม่ด้วยครับ
  • 26.  เปิดเครื่องใหม่ เข้ำไปทำกำร Setup BIOS โดยกด DEL ขั้นตอนแรกคือเลือกที่เมนู Load Default Setup หรือ Load BIOS Setup ก่อน จึงตั้งค่ำต่ำง ๆ ตำมต้องกำร เลือก Save ค่ำ ที่ตั้งไว้ ก็จบขั้นตอน กำร Flash BIOS ครับ  สำหรับ Award BIOS หำกว่ำในขณะที่ทำกำร Flash BIOS ใหม่นั้น เกิด Error Message มำว่ำInsufficient Memory ก็ไม่ต้องตกใจนะครับ เพรำะ มันก็จะยังไม่ได้ทำกำร Flash BIOS ให้ใหม่ ดังนั้น ก็ให้คุณ Boot เครื่องใหม่ แล้วเข้ำไป set ใน BIOS ตรง Chipset Feature Setup ให้เลือก Video BIOS Cacheable เป็น Disable ซะ แล้ว Save และ Exit เพื่อ Boot ใหม่ Boot เข้ำ Clean Boot แล้วทำกำร Flash ใหม่ ซึ่งก็ไม่น่ำจะเกิดปัญหำนี้อีก แล้ว จำกนั้น เมื่อทำกำรเสร็จแล้ว ก็ Reboot หรือ ปิดเครื่องไว้สักพัก แล้วเปิดใหม่ และเมื่อ Boot เข้ำมำใหม่แล้ว ให้เข้ำไปแก้ไขที่ Chipset Feature Setup ตรง Video BIOS Cacheable เป็น Enabled เหมือนเดิมครับ
  • 27. ข้อควรระวังสำหรับกำร FLASH BIOS  ต้องใช้ Image BIOS ที่เป็นรุ่นเดียวกับเมนบอร์ดเท่ำนั้น  ระวังไฟตก ไฟฟ้ ำดับ หรือเครื่องแฮงก์ ขณะทำกำร Flash เพรำะอำจจะทำให้ไม่ สำมำรถ Boot เครื่องได้เลย  ให้ทำกำร Save Image BIOS ของเดิมเก็บใส่แผ่นดิสก์ไว้ก่อนเสมอครับ  ถ้ำมีกำรเตือนว่ำ Image BIOS ที่กำลังจะ Flash นั้นไม่สำมำรถเข้ำกันได้กับ เครื่อง เหนือเมนบอร์ดของคุณ ระวัง อย่ำทำกำร Flash โดยเด็ดขำด เพรำะเป็นไป ได้มำกที่คุณใช้ Image BIOS ผิดรุ่น ซึ่งอำจจะทำให้เครื่องคุณ Boot ไม่ขึ้นเลยก็ ได้
  • 28. หำก FLASH BIOS ไปแล้ว BOOT ไม่ขึ้นจะแก้ไขอะไรได้ บ้ำง  กำรทำ Boot-Block BIOS สำหรับเมนบอร์ดรุ่นใหม่ๆ โดยเฉพำะที่ใช้กับ Award BIOS นั้นจะ มี Boot-Block BIOS มำด้วย โดยจะเป็นส่วนของข้อมูลเล็กๆ ที่จะไม่มีกำรเขียนทับหรือ แก้ไข ใดๆ ลงไปได้ แม้ว่ำจะ Flash BIOS สักกี่ครั้งก็ตำม โดย Boot-BlockBIOS นั้นจะรู้จักแต่ Floppy Disk Drive และ Display Card แบบ ISA เท่ำนั้น! หำกว่ำใช้ Display Card เป็น PCI หรือ AGP ก็หมดหวังเลยครับ และ Boot-BlockBIOS นี้ จะสำมำรถ Boot เครื่องได้ เฉพำะ Floppy Disk เท่ำนั้น ดังนั้น ก็เรำก็สำมำรถเตรียมImage BIOS และ ตัว โปรแกรม Flash ใส่ ไว้ในแผ่น แล้ว พอ Boot เสร็จ ก็ ทำกำร Flash ซะใหม่ ก็ได้ หรือ จะเขียน autoexec.bat ให้ ทำกำร Flash อัตโนมัติ เลยก็ได้ครับ
  • 29. กำรทำ HOT SWAPPING กำรแก้ไขวิธีนี้ มีหลักกำรคือ นำเอำ Chip BIOS ที่มีปัญหำไปทำกำร Flash กับเมนบอร์ดของเครื่องที่ใช้งำนได้ปกติ โดยทำขณะที่ยังเปิดเครื่องปกติอยู่ และถอดChip BIOS ของเครื่องนั้นออก นำเอำ Chip BIOS ที่ของเรำที่มีปัญหำใส่เข้ำไปแล้วทำกำร Flash ใหม่ กำร แก้ไขวิธีนี้วุ่นวำยไม่ใช่น้อยๆ และ ผมขอไม่รับผิดชอบนะครับกับควำมเสียหำย ที่เกิดขึ้นจำกวิธีนี้ นะครับ เพรำะมันค่อนข้ำงละเอียด และ ผิดพลำดได้ง่ำยๆ ... เพรำะฉะนั้น ขอให้อยู่ในดุลยพินิจ ของตัวเองด้วยนะครับ สำหรับวิธีนี้ 1. ให้ถอด Chip BIOS ที่มีปัญหำออกมำ แล้วหำเมนบอร์ดรุ่นเดียวกัน Spec เดียวกัน ซึ่งไม่มี ปัญหำมำเพื่อใช้ในกำร Boot โดยก่อนที่จะทำกำร Flash ก็ให้เข้ำไปใน BIOS เพื่อ Set System BIOS Cacheable ให้เป็น Enable ก่อนด้วย 2. Boot เครื่อง ด้วยเมนบอร์ดตัวที่ BIOS ไม่มี ปัญหำ และ Boot แบบ Clean ดังที่กล่ำวมำแล้ว 3. ทำกำรแกะ Chip BIOS จำกเมนบอร์ดออก โดยที่ยังเปิดเครื่องทิ้งไว้อยู่ ตรงนี้ ต้องใช้ควำมระมัดระวัง และ เสี่ยงเป็นอย่ำงมำก4. ใส่ Chip BIOS ตัวที่มีปัญหำลงไปแทนที่ แล้วทำกำร Flash BIOS ใหม่ จำกนั้น ก็ Reboot หรือ ปิด เครื่อง 5. ถ้ำไม่มีปัญหำใดๆ เจ้ำ BIOS ที่เคยมีปัญหำ ก็จะกลับมำใช้งำนได้ดังเดิมครับ
  • 30. ข้อแนะนำเพิ่มเติมสำหรับใครที่คิดจะใช้วิธีกำรนี้คือ ก่อนที่จะเริ่มต้น ให้ทำกำร แกะ Chip BIOS ออกมำจำก Socket ก่อนแล้วใส่ใหม่โดยวำงแปะลงไป กดแต่ เพียงเบำ ๆ แต่ต้องแน่ใจว่ำทุก ๆ ขำของ Chip BIOS สัมผัสกับ Socket ดีนะ ครับ เมื่อถึงเวลำที่เปลี่ยน Chip BIOS โดยที่ยังต้องเปิดเครื่องอยู่นั้น จะช่วย ให้สำมำรถแกะ Chip CMOS ออกมำได้ง่ำย เพื่อทำกำร Flash BIOS แบบ Hot Swapping โดยที่ขณะที่จะทำกำร Flash จะมีข้อควำมเตือนว่ำ BIOS นั้น ไม่สำมำรถเข้ำกับเครื่องหรือเมนบอร์ดได้ ก็กดยืนยันกำรทำกำร Flash BIOS ต่อไปได้เลย
  • 31. สำหรับเมนบอร์ดของ INTEL โดยเฉพำะ 1. เปลี่ยน Jumper ตรง Flash Recovery Jumper ให้ไปอยู่ตรง Recovery Mode ( อ่ำนจำก คู่มือ และ สำหรับบำงรุ่น ก็ไม่มี Jumper ตัวนี้นะครับ ) 2. เอำแผ่น Bootable Upgrade Disk ใส่ไว้ที่ Drive A; 3. Boot เครื่อง โดยเครื่องจะทำงำนตำมปกติ แต่จะไม่มีกำร Display อะไรออกที่หน้ำจอ( วิธี นี้ ก็คล้ำยๆ กับ วิธีที่ Boot-Block BIOS เพียงแต่ ใช้สำหรับเมนบอร์ดของ Intel บำงรุ่น เท่ำนั้น ) โดยจะดูผลกำร Boot หรือ กำรทำงำนโดยสังเกตุจำกไฟ LED บนฝำ CASE และ/หรือ ฟังจำกเสียง Beep 4. ระบบจะทำกำรกู้คืนข้อมูล BIOS ด้วยข้อมูลที่อยู่บน Disk ให้สังเกตุที่ไฟของ Floppy Disk ถ้ำไฟติดอยู่ และ ยังมีเสียงอ่ำนอยู่ ก็แสดงว่ำกำลังทำงำนอยู่ และถ้ำดับเมื่อไร ก็ แสดงว่ำกำร กู้คืนนั้น เสร็จสิ้นลงแล้ว 5. ปิดเครื่อง แล้วเปลี่ยน Jumper จำกข้อแรกให้กลับอยู่ตำแหน่งเดิม จำกนั้นก็เปิดเครื่อง ใหม่ ซึ่งก็น่ำจะไม่มีปัญหำแล้ว
  • 32. ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจาก BIOS การแก้ไขเมื่อ Flash BIOS ล้มเหลว หลังจำก Flash BIOS แล้ว ถ้ำกระบวนกำรดำเนินกำรไปอย่ำงถูกต้อง คอมพิวเตอร์ก็จะ ทำงำนได้อย่ำงถูกต้อง ไม่ มีปัญหำอย่ำงใด อย่ำงไรก็ตำม หลำยครั้งพบว่ำผลจำกกำร Flash BIOS ไม่ได้เป็นไปตำมที่ คำดหวังทุกประกำร บำงครั้ง อำจ พบควำมผิดพลำดได้ เช่น ในกรณี ของผู้ใช้งำนที่เคย Flash BIOS ครั้งแรก อำจจะทำผิดพลำด โดยกำร ปิดสวิทช์ไฟ ระหว่ำง กระบวนกำร Erase , Re-program BIOS ซึ่งกรณีนี้จะทำให้ไบออสเสีย ใช้บูตคอมพิวเตอร์ ไม่ได้ หรืออีกกรณี หนึ่งคือ มีควำมผิดพลำดในตัวโปรแกรมเอง เมื่อ Flash แล้วปรำกฎว่ำใช้งำนไม่ได้ อีกต่อไป อำกำรที่บ่งชี้ว่ำ ไบออสเสียก็คือ เมื่อเปิดสวิทช์แต่เครื่องไม่บูต ไม่มีเสียงบี๊บ (POST = Power on self test) ไม่มีข้อควำมใด ปรำกฎ บนจอภำพ ถ้ำอำกำรดังกล่ำวเกิดขึ้นหลังจำกกำร Flash BIOS ก็ให้ตั้งสมมุติฐำนไว้ก่อนว่ำ เกิดปัญหำขึ้นจำกกำร FlashBIOS สำเหตุที่ทำให้ไบออสนอกจำกกำร Flash ผิดแล้ว ยังเกิดได้จำกไวรัสบำงตัว เช่น W32.CIH.SPACEFILLER ซึ่งถูกตั้งเงื่อนไขให้ Flash BIOS ด้วยโปรแกรมขยะอีกด้วย
  • 33. การแก้ไข หลังจำก Flash BIOS แล้วเมื่อเปิดคอมพิวเตอร์แล้วไม่บูต ให้ปิดสวิทช์แล้วแกะไบออสออก ระหว่ำงกำรแกะให้ ระวัง เพรำะตัว EEPROM สำหรับ BIOS นั้นมีหลำยประเภท ประเภทที่เป็นตีนตะขำบเสียบบน Socket จะแกะ ง่ำยกว่ำ แต่หำกเป็นลักษณะคล้ำยฝังตัวใน Socket แบบนั้นแกะลำบำกมำกกว่ำ 1. ให้แกะ BIOS จำกเมนบอร์ดที่ดี หรือนำเอำ BIOS ที่ดีอยู่แล้ว มำใส่แทน BIOS ที่เสียแทน 2. ให้เปิดเครื่องและบูตเครื่องตำมปกติ สังเกตว่ำคอมพิวเตอร์จะต้องบูตตำมปกติ ถ้ำอำกำรเสียนั้นเกิดจำก ไบออสเสีย แต่ถ้ำไม่บูตอีก แสดงว่ำไบออสไม่เสียแล้ว แต่เป็นเมนบอร์ดเสียแทน 3. ถ้ำเครื่องก็บูตขึ้นมำแล้ว กำรทำงำนของไบออสนั้นจะเหมือนกันกับสตำร์ตเตอร์ในวงจรของหลอดฟลูออเรสต์ เซ็นต์ คือ เมื่อเปิดคอมพิวเตอร์ได้แล้ว BIOS ก็หยุดทำงำนไป (จะทำงำนอีกครั้งเมื่อใช้พวกโปรแกรม Management เข้ำถึงข้อมูลใน DMI Pool เท่ำนั้น) 4. ต่อไปเมื่อคอมพิวเตอร์เปิดขึ้นมำแล้ว ก็เอำไบออสตัวเก่ำออก แกะขณะที่เปิดเครื่องอยู่ (ระวังตัวไบออสตกลง บน เมนบอร์ด หรือพลำดขำไปถูกส่วนอื่น ที่เป็นวงจรในเคส ระวังเกิดควำมเสียหำย 5. เมื่อถอดเสร็จให้เอำไบออสตัวที่เสียใส่ลงไปแทน และ Flash BIOS ลงไปอีกครั้ง โดยใช้โปรแกรม Flash BIOS ตำมปกติ หลังจำกนั้นให้ลองบูตเครื่อง ถ้ำบูตได้ก็แสดงว่ำ BIOS ตัวที่เสียถูก Re-Program ให้สำมำรถใช้งำน ได้ ตำมปกติอีก
  • 34.  เครื่องมือที่หำเองได้ ก็แผ่นเหล็กปิดฝำหลังเคสนั่นแหละ หรือไม่ก็ไขควงปำกแบนตัวเล็กๆ เอำไว้สำหรับ EEPROM ออก จำก Socket ต้องกำรมือที่นุ่มนวล แต่แข็งแกร่ง ออกแรงน้อยๆก่อน แล้วแรงเด็ดขำด อย่ำแรงมำก
  • 35.  แต่ถ้ำมี "คีมปำกแบนแบบในภำพจะช่วยได้มำก ปกติ แล้วแต่กำรวำงตัวของ EEPROM ถ้ำง่ำยขนำดว่ำ ไม่ต้องถอดออก จำกเคสก็ไม่ต้องเอำออกมำก็ได้ แต่ถ้ำมันยำกเกินที่จะสอดมือใปทำงำนในเคส ก็ถอดเอำ เมนบอร์ดออกมำ งำนใหญ่ล่ะ ครำวนี้จะเริ่มถอดล่ะนะ ค่อยๆแซะล่ะ อย่ำรีบร้อน บำงตัวถอดง่ำย บำงตัว ยำกเข็ญ และถ้ำใช้แรงมำกเกินไป ขำ EEPROM จะหักเอำ
  • 36.  เวลำถอดตัว EEPROM ออกมำแล้ว โปรดสังเกตด้วยนะ มันจะมี Mark ไว้ว่ำขำที่ 1 น่ะขำไหน โดยมำกก็ เป็นจุดหลุมเล็ก บนตัว EEPROM โดยบน Socket เขำก็บำกทำตำแหน่งไว้ต้องใส่ให้ตรงกัน ถ้ำใส่ไม่ ตรงกัน ไบออสจะไหม้ได้ ตรงนี้ต้องระวังอย่ำงมำก ถ้ำถอดออกมำแล้ว
  • 37.  ไปหำยืมเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆที่ใช้เมนบอร์ดรุ่นเดียวกันเพื่อเขียนไบออสใหม่ไม่ได้ก็เห็นต้อง พึ่งพำเครื่อ เขียน ไบออส ที่หน้ำตำเป็นแบบนี้แหละครับ หำใช้บริกำรได้ที่ร้ำนแถว "บ้ำนหม้อ" และ "พันธ์ทิพย์"
  • 38.  สำหรับ BIOS แบบเสียบลง Socket พบในเมนบอร์ดของเครื่องมียี่ห้อบำงรุ่น และเมนบอร์ดรุ่นใหม่ๆที่ใช้ ชิปเซ็ตอย่ำง Intel 810 เพิ่มควำมยุ่งยำกอีกนิดหน่อย แต่ถ้ำรู้เทคนิคแล้ว ไม่ยำกหรอก นี่แหละตัว BIOS ฝังอยู่ใน Socket แบบนี้แหละ แต่ไม่ได้หมำยควำมว่ำถอดออกมำใม่ได้นะ ถอดออกมำได้
  • 39.  เคล็ดลับอยู่ "คลิปหนีบกระดำษ" ตัวเล็กๆ นี่แหละ เอำมำคลำยลวดออกให้ปลำยแหลมๆ ทำให้ต้อง "คลิป" เพรำะคลิปมันใช้ "ลวดเป็น" งัย คือ ขืนตัวแข็งไม่อ่อนตัว ใช้คลิปนี้แหละ ด้ำนปลำยลวดสอดเข้ำไป ใน Socket แล้วก็..พยำยำมสอดและดึง EEPROM ขึ้นมำน่ะ คงไม่ยำกนะ อีกวิธีหนึ่งที่ไม่เคยมีแนะนำไว้ใน ตำรำ แต่มีนักทดลองหลำยท่ำนเคยบอกผมก็คือ ระหว่ำงกำรเปิดเครื่องนั้น ให้ถอดไบออสดีออก และเอำ ไบออสเสียใส่ลงไป แล้วปิดเครื่องคอมพิวเตอร์เปิดสวิตช์ อีกครั้ง ก็จะเป็น Hot Burn BIOS แต่ผมลอง แล้วไม่ประสบควำมสำเร็จ แต่ถ้ำไม่มีอะไรที่ดีกว่ำนั้นสำหรับ เมนบอร์ดรุ่นใหม่ๆ ที่ Flash BIOS ได้ แต่ ตัวไบออสถูกบัดกรีลงบนเมนบอร์ดอย่ำงถำวร เช่น Intel BI440ZX กรณีที่ถูก CIH ทำลำยไบออส คงไม่ มีทำงเลือกนอกจำกส่งเข้ำซ่อมเท่ำนั้น เพรำะอย่ำงไรก็แก้ไขเองไม่ได้
  • 40. กิจกรรมการเรียน  ใบงาน เรื่อง กำรปรับแต่ง BIOSเบื้องต้น  วัตถุประสงค์  1. สำมำรถเข้ำในซีมอสเซ็ตอัพ (CMOS setup) จำกเครื่องที่กำหนดให้ได้2. สำมำรถ clear รหัสผ่ำนของ CMOS3. สำมำรถปรับแต่งค่ำต่ำง ๆ ใน Standard CMOS Setupได้4. สำมำรถค้นหำฮำร์ดดิสค์ใน IDE HDD AutoDetection ได้ เครื่องมือและอุปกรณ์ 1. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่กำหนดให้1ชุด 2. ไขควง 1 ชุด ขั้นตอนการปฏิบัติ 1. ถอดฝำครอบเคส ค้นหำตำแหน่ง CMOS chip และ BatteryBackup2. ต่ออุปกรณ์ คีย์บอร์ด เมำส์ จอภำพ เข้ำกับ CPU 3. กดสวิทช์ Power ขณะจอภำพเริ่มปรำกฎตัวอักขระ ให้กด แป้ น Del หรือแป้ นอื่น ๆ ตำมข้อควำม ที่ปรำกฎบนหน้ำจอ4. จอภำพจะปรำกฎข้อควำมให้ใส่ รหัสผ่ำน ให้ทดลองใส่รหัสผ่ำนและจดบันทึกรหัสผ่ำนที่ ทดลอง จำนวน 10 ครัง 5. ให้ Clearรหัสผ่ำน พร้อมบันทึกวิธีทำ และกำหนดรหัสผ่ำนใหม่เป็นของตนเอง6. ให้เข้ำไปปรับแต่ง ค่ำต่ำง ๆ ใน Standard CMOS Setup ให้ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน7. ให้เข้ำไปสำรวจทุกเมนูของ CMOS setup Utility8. เข้ำไปทำกำร Detect HDD ใหม่ และเปรียบเทียบกับค่ำเดิมว่ำเหมือนหรือแตกต่ำงกันอย่ำงไร สรุปและรายงาน ให้สรุปเป็นรำยงำนจำกกำรฝึกปฏิบัติข้ำงต้น