SlideShare a Scribd company logo
SCB EIC Industry insight
Construction
outlook 2023
มูลค่าอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัว
จับตาความท้าทายต้นทุนสูง ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง
และแรงกดดันจากเทรนด์ ESG
May 2023
The information contained in this report has been obtained from sources believed to be reliable. However, neither we nor any of our respective affiliates, employees or representatives make any representation or warranty, express or implied, as
to the accuracy or completeness of any of the information contained in this report, and we and our respective affiliates, employees or representatives expressly disclaim any and all liability relating to or resulting from the use of this report or
such information by the recipient or other persons in whatever manner.
Any opinions presented herein represent our subjective views and our current estimates and judgments based on various assumptions that may be subject to change without notice, and may not prove to be correct.
This report is for the recipient’s information only. It does not represent or constitute any advice, offer, recommendation, or solicitation by us and should not be relied upon as such. We, or any of our associates, may also have an interest in
the companies mentioned here in.
SCB EIC Industry insight : Construction
Contents
Key Summary หน้า 03 การก่อสร้างภาครัฐ หน้า 07
ภาพรวมภาคก่อสร้าง หน้า 04
ความท้าทายของ
อุตสาหกรรมก่อสร้าง
และการปรับกลยุทธ์
หน้า 22
การก่อสร้างภาคเอกชน หน้า 15
3
SCB EIC Industry insight : Construction
มูลค่าการก่อสร้างภาครัฐในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัว +3%YOY แตะระดับ 817,000 ล้านบาท จากโครงการเมกะโปรเจกต์ที่มีการก่อสร้างต่อเนื่องจากในอดีตมีความคืบหน้า รวมถึงยังมี
การประมูล และก่อสร้างโครงการใหม่ ๆ อีกทั้ง งบลงทุนในงบประมาณประจาปี 2023 เพิ่มขึ้น +6%YOY และอัตราการเบิกจ่ายงบลงทุนสะสมตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ 2023 ถึง ณ สิ้นเดือน
มี.ค. 2023 ยังสูงกว่าปีงบประมาณที่ผ่านมา อย่างไรก็ตาม ยังมีปัจจัยท้าทายด้านความล่าช้าในการอนุมัติโครงการก่อสร้างภาครัฐใหม่ ๆ จากการจัดตั้งรัฐบาลใหม่หลังการเลือกตั้ง รวมถึงการ
จัดทางบประมาณประจาปี 2024 ที่อาจล่าช้าออกไปหลังไตรมาสที่ 4 ของปี 2023 และอาจมีผลต่อเนื่องไปยังการเริ่มดาเนินโครงการก่อสร้างภาครัฐในปี 2024
ในระยะปานกลาง ภาครัฐยังมีแผนลงทุนในโครงการเมกะโปรเจกต์ เช่น โครงสร้างพื้นฐาน การคมนาคม โครงข่ายทางหลวง โครงข่ายระบบราง อย่างไรก็ดี ยังต้องติดตามการประมูล
และการเริ่มก่อสร้างโครงการเมกะโปรเจกต์ใหม่ ๆ ที่อาจล่าช้าออกไป
Key Summary
มูลค่าการก่อสร้างภาคเอกชนในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัวมาอยู่ที่ 586,000 ล้านบาท (+3%YOY) โดยเป็นการขยายตัวของมูลค่าการก่อสร้างที่อยู่อาศัยแนวราบ กลุ่มบ้านเดี่ยว
และคอนโดมิเนียม รวมถึงอสังหาริมทรัพย์เชิงพาณิชย์ ได้แก่ อาคารสานักงาน และพื้นที่ค้าปลีก รวมถึงการ Renovate พื้นที่ค้าปลีกและโรงแรม เพื่อรองรับการฟื้นตัวของกาลังซื้อ
ในประเทศ และนักท่องเที่ยวต่างชาติ
ในระยะปานกลาง พื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างที่อยู่อาศัยที่ขยายตัวในปี 2022 ประกอบกับพื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างอาคารสานักงาน พื้นที่ค้าปลีก และโรงงานอุตสาหกรรมที่ขยายตัวในปี 2021
จะหนุนกิจกรรมการก่อสร้างภาคเอกชนทั้งในปี 2023 และระยะข้างหน้า ทั้งในกรุงเทพฯ ปริมณฑล และภูมิภาค อย่างไรก็ตาม ยังต้องจับตาภาวะ Oversupply ที่อาจทาให้มีความเสี่ยง
ของการเลื่อน / ยกเลิกโครงการที่ไม่มีศักยภาพออกไป โดยเฉพาะโครงการก่อสร้างอาคารสานักงานในบางพื้นที่
ภาคก่อสร้างยังเผชิญความท้าทายทั้งในปี 2023 และในระยะปานกลาง ทั้งต้นทุนก่อสร้างยังอยู่ในระดับสูง ความเสี่ยงด้านสภาพคล่องทางการเงิน และแรงกดดันจากเทรนด์ ESG
ที่ส่งผลให้ผู้ประกอบการรับเหมาก่อสร้างต้องปรับกลยุทธ์รับมือ ได้แก่
1) การเพิ่มโอกาสในการสร้างรายได้ และควบคุมต้นทุนก่อสร้าง ด้วยการพัฒนาศักยภาพ และร่วมมือกับพันธมิตร เพื่อเข้าประมูลงานก่อสร้างได้อย่างหลากหลาย ระมัดระวังการเข้า
ประมูลแบบแข่งขันด้านราคา ร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐและเอกชน (PPP) รวมถึงทาสัญญาสั่งซื้อวัสดุก่อสร้างล่วงหน้า ให้สอดคล้องกับความต้องการใช้
2) การบริหารสภาพคล่องทางการเงิน โดยปรับสัดส่วนการรับงานก่อสร้างภาครัฐ และเอกชนให้เหมาะสม รวมถึงดาเนินการก่อสร้างให้แล้วเสร็จตามแผน เพื่อให้สามารถเบิกจ่ายได้ตามกาหนด
3) ตอบโจทย์เทรนด์ ESG ด้วยการหาพันธมิตรวัสดุก่อสร้างที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน และลงทุนนาเทคโนโลยีก่อสร้างมาใช้
ภาพรวม
ภาคก่อสร้าง
5
SCB EIC Industry insight : Construction
ภาพรวมมูลค่าอุตสาหกรรมก่อสร้างในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัว +3%YOY แตะระดับ 1.4 ล้านล้านบาท
จากการก่อสร้างภาครัฐ และภาคเอกชนขยายตัว แต่ยังเผชิญความท้าทายทั้งในปี 2023 และในระยะปานกลาง
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
• มูลค่าการก่อสร้างภาครัฐในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัว +3%YOY แตะระดับ 817,000
ล้านบาท จากโครงการเมกะโปรเจกต์ที่มีการก่อสร้างต่อเนื่องจากในอดีต มีความคืบหน้า
รวมถึงยังมีการประมูล และก่อสร้างโครงการใหม่ ๆ อีกทั้ง งบลงทุนในงบประมาณประจาปี
2023 เพิ่มขึ้น +6%YOY
• มูลค่าการก่อสร้างภาคเอกชนในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่องมาอยู่ที่ 586,000
ล้านบาท (+3%YOY) โดยการเปิดตัวโครงการที่อยู่อาศัยใหม่ และการก่อสร้างโครงการ
อสังหาริมทรัพย์เชิงพาณิชย์ขนาดใหญ่ยังดาเนินอย่างต่อเนื่อง รวมถึงยังมีการ Renovate
พื้นที่ค้าปลีกและโรงแรม
• ภาคก่อสร้างยังเผชิญความท้าทายทั้งในปี 2023 และในระยะปานกลาง ได้แก่ 1) ต้นทุน
ก่อสร้างยังอยู่ในระดับสูง 2) ความเสี่ยงด้านสภาพคล่องทางการเงิน และ 3) แรงกดดัน
จากเทรนด์ ESG ที่ส่งผลให้ผู้ประกอบการรับเหมาก่อสร้างต้องปรับกลยุทธ์รับมือต่อความ
ท้าทายดังกล่าว
2016
586
527
529
685
2017
562
726 802
707
2018 2019
555
756
2020
501
2021
569
1,160 1,212
796
1,223
2022
817
1,269
2023F
571
494
2014
524
2015
630
560
996
1,297 1,312 1,362 1,364 1,403
699
+5%
+1% +4%
+0.2% +3%
ภาคเอกชน ภาครัฐ
Indicator (%YOY) 2015-19 2020 2021 2022 2023F
ภาครัฐ +8%CAGR +4% +6% -0.8% +3%
ภาคเอกชน +3%CAGR -3% +1% +2% +3%
ภาพรวมมูลค่าอุตสาหกรรมก่อสร้างในปี 2023
มีแนวโน้มขยายตัว +3%YOY แตะระดับ 1.4 ล้านล้านบาท
มูลค่าการก่อสร้างภาครัฐ และภาคเอกชน
หน่วย : พันล้านบาท
6
SCB EIC Industry insight : Construction
การขยายตัวของมูลค่าการลงทุนภาครัฐ และภาคเอกชนในปี 2023 จะเป็นปัจจัยหนุนมูลค่าการก่อสร้าง
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
การขยายตัวของมูลค่าการลงทุนภาครัฐ
และภาคเอกชนในปี 2023 จะเป็นปัจจัยหนุนมูลค่าการก่อสร้าง
• การขยายตัวของมูลค่าการลงทุนภาครัฐ จะเป็นปัจจัยหนุนมูลค่าการก่อสร้างภาครัฐในปี
2023 รวมถึงในระยะข้างหน้า ภาครัฐยังมีแผนลงทุนในโครงการเมกะโปรเจกต์ทั้งใน
กรุงเทพฯ ปริมณฑล และภูมิภาค โดยเฉพาะ EEC เช่น โครงสร้างพื้นฐาน การคมนาคม
โครงข่ายทางหลวง โครงข่ายระบบราง
อย่างไรก็ตาม ยังต้องติดตามการประมูล และการเริ่มก่อสร้างโครงการเมกะโปรเจกต์ใหม่ ๆ
ที่อาจล่าช้าออกไป รวมถึงทิศทางนโยบายการลงทุนโครงการก่อสร้างภาครัฐ และโครงการ
เมกะโปรเจกต์ของรัฐบาลใหม่หลังการเลือกตั้ง
• การขยายตัวของมูลค่าการลงทุนภาคเอกชน จะเป็นปัจจัยหนุนมูลค่าการก่อสร้าง
ภาคเอกชนในปี 2023 โดยเป็นการขยายตัวไปตามภาคอสังหาริมทรัพย์ ทั้งที่อยู่อาศัย
และพาณิชยกรรม ทั้งในกรุงเทพฯ ปริมณฑล และภูมิภาค โดยพื้นที่ขออนุญาตก่อสร้าง
ที่อยู่อาศัยขยายตัวในปี 2022 ประกอบกับพื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างอาคารสานักงาน
และพื้นที่ค้าปลีกที่ขยายตัวในปี 2021 จะหนุนกิจกรรมการก่อสร้างภาคเอกชนทั้งในปี 2023
และระยะข้างหน้า
อย่างไรก็ตาม ยังต้องจับตาภาวะ Oversupply ที่อาจทาให้มีความเสี่ยงของการเลื่อน /
ยกเลิกโครงการที่ไม่มีศักยภาพออกไป โดยเฉพาะโครงการก่อสร้างอาคารสานักงาน
ในบางพื้นที่
อัตราการขยายตัวของมูลค่าการลงทุนภาครัฐ และภาคเอกชน
หน่วย : %YOY
การลงทุนภาครัฐ
การลงทุนภาคเอกชน
-5
0
5
10
-5
0%
2022
2020
2019
5%
3%
2021
2%
2023F
-10
0
-5
10
5
5%
2021
3%
2019
-8%
2020
3%
2022
3%
2023F
การก่อสร้างภาครัฐ
มูลค่าการก่อสร้างภาครัฐในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัว +3%YOY แต่ยังมีปัจจัยท้าทายด้านความล่าช้าในการอนุมัติโครงการก่อสร้างภาครัฐใหม่ ๆ ที่มูลค่าโครงการสูง
หลังการประกาศยุบสภา และการจัดตั้งรัฐบาลใหม่หลังการเลือกตั้งรวมถึงการจัดทางบประมาณประจาปี 2024 ที่อาจล่าช้าออกไปหลังไตรมาสที่ 4 ของปี 2023
8
SCB EIC Industry insight : Construction
มูลค่าการก่อสร้างภาครัฐในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัว +3%YOY แตะระดับ 817,000 ล้านบาท แต่ยังมีปัจจัย
ท้าทายด้านความล่าช้าในการอนุมัติโครงการก่อสร้างภาครัฐใหม่ ๆ ที่มูลค่าโครงการสูง หลังการประกาศยุบสภา
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
มูลค่าการก่อสร้างภาครัฐ
หน่วย : พันล้านบาท • มูลค่าการก่อสร้างภาครัฐในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัว +3%YOY แตะระดับ 817,000
ล้านบาท จากโครงการเมกะโปรเจกต์ที่มีการก่อสร้างต่อเนื่องจากในอดีตมีความคืบหน้า
รวมถึงยังมีการประมูล และก่อสร้างโครงการใหม่ ๆ อีกทั้ง งบลงทุนในงบประมาณประจาปี
2023 เพิ่มขึ้น +6%YOY และอัตราการเบิกจ่ายงบลงทุนสะสมตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ 2023
ถึง ณ สิ้นเดือน มี.ค. 2023 ยังสูงกว่าปีงบประมาณที่ผ่านมา
• แต่ยังมีปัจจัยท้าทายด้านความล่าช้าในการอนุมัติโครงการก่อสร้างภาครัฐใหม่ ๆ ที่มูลค่า
โครงการสูงหลังการประกาศยุบสภา และการจัดตั้งรัฐบาลใหม่หลังการเลือกตั้ง รวมถึงการ
จัดทางบประมาณประจาปี 2024 ที่อาจล่าช้าออกไปหลังไตรมาสที่ 4 ของปี 2023 และอาจมี
ผลต่อเนื่องไปยังการเริ่มดาเนินโครงการก่อสร้างภาครัฐในปี 2024 อย่างไรก็ดี ยังสามารถ
ใช้กรอบของปีงบประมาณปี 2023 ไปพลางก่อนได้
โครงการก่อสร้างทั่วไป
เมกะโปรเจกต์คมนาคม
%YOY 2021 2022 2023F
+1% -6% -13%
+38% +20% +54%
2020
156
2021
609
2022
287
530
2023F
817
186
726
647
171
555
2019
796
113
643
756
802
+4%
+6% -1% +3%
9
SCB EIC Industry insight : Construction
มูลค่าการก่อสร้างโครงการเมกะโปรเจกต์ส่วนใหญ่ยังมาจากโครงการที่มีการก่อสร้างต่อเนื่องจากในอดีต
ที่มีความคืบหน้า อีกทั้ง ในปี 2023 จะมีการเริ่มประมูล และก่อสร้างโครงการเมกะโปรเจกต์ใหม่ ๆ
มูลค่าการก่อสร้างโครงการเมกะโปรเจกต์
หน่วย : พันล้านบาท
ตัวอย่าง New project มูลค่าการลงทุน
(พันล้านบาท)
รถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน 225
รถไฟทางคู่ เฟส 2 ขอนแก่น-หนองคาย 30
รถไฟฟ้าสายสีแดงอ่อน ช่วงตลิ่งชัน-ศาลายา 11
รถไฟฟ้าสายสีแดงเข้ม ช่วงรังสิต-มธ. ศูนย์รังสิต 6.5
รถไฟฟ้าสายสีแดงอ่อน ช่วงตลิ่งชัน-ศิริราช 4.7
รถไฟฟ้าสีแดงอ่อน ช่วงบางซื่อ-พญาไท-มักกะสัน-
หัวหมาก และสีแดงเข้ม ช่วงบางซื่อ-หัวลาโพง 47
มาบตาพุด เฟส 3 ช่วงที่ 2 48
ขยายท่าอากาศยานดอนเมือง เฟส 3 36
อาคารผู้โดยสารสนามบินสุวรรณภูมิ ส่วนต่อขยายด้านทิศ
ตะวันออก 7.8
ส่วนต่อขยายทางยกระดับอุตราภิมุข (ดอนเมืองโทลล์เวย์)
(M5) ช่วงรังสิต-บางปะอิน 31
ทางพิเศษฉลองรัชส่วนต่อขยาย ช่วงจตุโชติ-ถนนลาลูกกา 24
ทางพิเศษสายกะทู้-ป่าตอง จ.ภูเก็ต 15
ทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข 7 ส่วนต่อขยายเข้า
สนามบินอู่ตะเภา 4.4
151
25%
75%
2019 2021
2020 2022 2023F
287
186
171
113
+23%
+54%
New On-going
ตัวอย่าง On-going project มูลค่าการลงทุน
(พันล้านบาท)
รถไฟความเร็วสูงกรุงเทพฯ-หนองคาย ช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา 179
รถไฟทางคู่ เฟส 1, 5 เส้นทาง 140
แหลมฉบัง เฟส 3 ท่าเทียบเรือ F 84
รถไฟฟ้าสีม่วงใต้ ช่วงเตาปูน-ราษฎร์บูรณะ 78
รถไฟทางคู่สายเหนือ ช่วงเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ 73
รถไฟทางคู่สายอีสาน ช่วงบ้านไผ่-มุกดาหาร-นครพนม 55
มอเตอร์เวย์บางใหญ่-กาญจนบุรี 56
ทางด่วนพระราม 3-ดาวคะนอง 30
มอเตอร์เวย์บางขุนเทียน-บ้านแพ้ว ช่วงบางขุนเทียน-เอกชัย และช่วงเอกชัย-บ้านแพ้ว 29
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ รันเวย์ที่ 3 28
ทางด่วนพระราม 3-ดาวคะนอง สัญญา 1 และ 3 15
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย, การรถไฟแห่งประเทศไทย, กระทรวงคมนาคม, บมจ. ท่าอากาศยานไทย และสานักข่าว
10
SCB EIC Industry insight : Construction
ในปี 2023 ยังมีปัจจัยท้าทายด้านความล่าช้าในการอนุมัติโครงการก่อสร้างภาครัฐใหม่ ๆ หลังการประกาศยุบสภา
และการจัดตั้งรัฐบาลใหม่ โดยมีการเร่งดาเนินการอนุมัติโครงการก่อนยุบสภา โดยเฉพาะโครงการคมนาคม
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักข่าว
• ความล่าช้าในการอนุมัติโครงการก่อสร้างใหม่ ๆ ที่มูลค่าโครงการสูง
• การจัดทางบประมาณประจาปี 2024 และการเบิกจ่าย ที่อาจล่าช้า
ออกไปหลังไตรมาสที่ 4 ของปี 2023 อาจส่งผลให้มูลค่าการก่อสร้าง
ภาครัฐในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี 2023 มีแนวโน้มชะลอลง
และอาจมีผลต่อเนื่องไปยังการเริ่มดาเนินโครงการก่อสร้างภาครัฐ
และการเบิกจ่ายในปี 2024
• อย่างไรก็ดี ยังสามารถใช้กรอบของปีงบประมาณปี 2023 ไปก่อนได้
และคาดว่าสามารถเร่งรัดการเบิกจ่ายให้อยู่ในปีงบประมาณ
ปี 2024
ปัจจัยท้าทายจากการจัดตั้งรัฐบาลใหม่ : ความล่าช้า
ในการอนุมัติโครงการก่อสร้างภาครัฐใหม่ ๆ หลังการ
ประกาศยุบสภา และการจัดตั้งรัฐบาลใหม่หลังการเลือกตั้ง
รัฐบาลเร่งดาเนินการอนุมัติโครงการก่อนยุบสภา
ตัวอย่างโครงการที่ ครม. อนุมัติแล้ว มูลค่าการลงทุน (พันล้านบาท)
ทางพิเศษฉลองรัชส่วนต่อขยาย ช่วงจตุโชติ-ถนนลาลูกกา 24
ทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข 7 ส่วนต่อขยายเข้า
สนามบินอู่ตะเภา
4.4
โครงการให้บริการลานจอดและอุปกรณ์ภาคพื้น
การให้บริการผู้โดยสารภาคพื้นและกิจการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ของผู้ประกอบการรายที่ 3 (สุวรรณภูมิ)
1.6
โครงการให้บริการคลังสินค้า ของผู้ประกอบการรายที่ 3
(สุวรรณภูมิ)
1.3
11
SCB EIC Industry insight : Construction
อย่างไรก็ดี อัตราการเบิกจ่ายตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ 2023 จนถึงในช่วงก่อนการประกาศยุบสภา
ยังอยู่ในระดับสูงกว่าปีงบประมาณที่ผ่านมา
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงบประมาณ และกรมบัญชีกลาง
งบประมาณของ 4 หน่วยงานหลักที่ลงทุนภาคก่อสร้าง
หน่วย : พันล้านบาท
อัตราการเบิกจ่ายงบลงทุนสะสมของหน่วยงานกลางโดยรวม
หน่วย : %
กรมทางหลวง
120 113
100 108
-10%
+5%
FY2020 FY2021 FY2022 FY2023
กรมชลประทาน
70
59 66 71
+6%
+1%
กรมทางหลวงชนบท
43 47 44 46
-6%
+3%
กรมโยธาธิการและผังเมือง
23 28 30 31
+9%
+4%
0%
20
40
60
80
Mar
Jan
75%
Oct
Nov
Dec
Feb
May
Apr
Jun
Jul
Aug
Sep
38%
FY2019 FY2021
FY2020 FY2022 FY2023
หน่วยงาน
ที่ใช้งบลงทุนในระดับสูง
สิ้น ก.ย. สิ้น มี.ค.
2019 2020 2021 2022 2022 2023
กรมทางหลวง 74% 77% 86% 90% 32% 43%
กรมทางหลวงชนบท 87% 82% 89% 91% 34% 36%
กรมชลประทาน 81% 81% 82% 83% 37% 42%
กรมโยธาธิการและผังเมือง 66% 65% 62% 47% 24% 20%
อัตราการเบิกจ่ายงบลงทุนสะสมตั้งแต่ต้น
ปีงบประมาณ 2023 ถึง ณ สิ้นเดือน มี.ค.
2023 ยังอยู่ในระดับสูงกว่าปีงบประมาณที่ผ่านมา
ช่วยหนุนการก่อสร้างภาครัฐในช่วงก่อนการประกาศ
ยุบสภา และการจัดตั้งรัฐบาลใหม่
12
SCB EIC Industry insight : Construction
อีกทั้ง ยังมีการเร่งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่ง เพื่อรองรับการฟื้นตัวของการลงทุน
และภาคการท่องเที่ยว
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน และกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
โครงการด้านคมนาคมขนส่ง
เพื่อรองรับการฟื้นตัวของการลงทุน
โครงการด้านคมนาคมขนส่ง
เพื่อรองรับการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว
ทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข 7 ส่วนต่อขยายเข้าสนามบินอู่ตะเภา (มูลค่า 4,400 ล้านบาท)
ครม. อนุมัติหลักการร่างพระราชกฤษฎีกากาหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืนแล้ว
มูลค่าการอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุนโดย BOI ใน EEC
หน่วย : พันล้านบาท
96 101
127
88 68
80
20
20
0
50
200
100
250
150
2021 2022
189
2020
14
204
221
+17%
ฉะเชิงเทรา
ชลบุรี
ระยอง
โครงการขยายท่าอากาศยานดอนเมือง เฟส 3
(มูลค่า 36,000 ล้านบาท) ครม. อนุมัติแล้วเมื่อ
พ.ย. 2022 คาดเปิดประมูลงานก่อสร้างปี 2023
อาคารผู้โดยสารสนามบินสุวรรณภูมิ ส่วนต่อ
ขยายด้านทิศตะวันออก (มูลค่า 7,800 ล้านบาท)
เสนอบอร์ด ทอท. ภายใน มี.ค. 2023 ก่อนเสนอ
สศช. และ ครม.รับทราบ คาดเปิดประมูล และได้
ผู้ชนะประมูลภายในปี 2023
โครงการให้บริการลานจอดและอุปกรณ์ภาคพื้น
การให้บริการผู้โดยสารภาคพื้นและกิจการอื่น ๆ
ที่เกี่ยวข้องของผู้ประกอบการรายที่ 3 (สุวรรณภูมิ)
(มูลค่า 1,600 ล้านบาท)
โครงการให้บริการคลังสินค้า ของผู้ประกอบการ
รายที่ 3 (สุวรรณภูมิ) (มูลค่า 1,300 ล้านบาท)
ครม. อนุมัติให้ ทอท. ดาเนินโครงการแล้ว (PPP
Net Cost) คาด มิ.ย.-ก.ค. 2023 ประกาศเชิญชวน
เอกชนและร่างสัญญาร่วมลงทุน
จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ
หน่วย : ล้านคน
38.2
6.7
0
10
20
30
40
50
0.4
2022
11.2
39.9
35.6
2017 2020
2018 2021
2019
11.2
30.0
2023F
13
SCB EIC Industry insight : Construction
ภาครัฐยังให้ความสาคัญกับโครงการบริหารจัดการน้า และฟื้นฟูหลังอุทกภัย โดยกระจายงบประมาณไปยัง
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สะท้อนโอกาสผู้รับเหมาท้องถิ่นในการรับงานก่อสร้างโครงการขนาดกลางและเล็ก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงบประมาณ, มติ ครม. วันที่ 9 ส.ค. 2022, 14 ก.พ. 2023 และ 7 มี.ค. 2023
งบประมาณแผนปฏิบัติการด้านทรัพยากรน้า ประจาปีงบประมาณ 2023
2,297
1,190
23
433
76
4,020
ล้านบาท
มหาดไทย
เกษตรและสหกรณ์
กลาโหม
ทรัพยากรธรรมชาติฯ
การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ฯ
เทศบาลนคร 880.0
องค์การบริหารส่วนจังหวัด 611.7
องค์การบริหารส่วนตาบล 610.5
เทศบาลตาบล 166.2
จังหวัด 24.8
เทศบาลเมือง 3.50
กรมโยธาธิการและผังเมือง 61.0
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 30.1
กรุงเทพมหานคร 22.5
อื่น ๆ 28.4
ล้านบาท
พันล้านบาท
159
6
142
22
5
เกษตรและสหกรณ์
มหาดไทย
ทรัพยากรธรรมชาติฯ
อื่น ๆ
คมนาคม
334
พันล้านบาท
งบประมาณโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรน้าในช่วงฤดูฝนปี 2022 และการกักเก็บน้าเพื่อฤดูแล้งปี 2022-2023
14 ก.พ. 2023 : ครม. มีมติอนุมัติการขอรับการจัดสรรงบประมาณ
รายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2023 งบกลาง รายการเงินสารองจ่าย
เพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจาเป็น ตามที่กระทรวงคมนาคมเสนอ
เพื่อจัดสรรให้กรมทางหลวง และกรมทางหลวงชนบท ฟื้นฟู
โครงสร้างพื้นฐานที่ได้รับความเสียหายจากอุทกภัย และภัยพิบัติ
3,787
ล้านบาท
175
รายการ
32
จังหวัด
7 มี.ค. 2023 : ครม. มีมติอนุมัติการขอรับการจัดสรรงบประมาณ
รายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2023 งบกลาง รายการเงินสารองจ่าย
เพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจาเป็น ตามที่กระทรวงมหาดไทยเสนอ
เพื่อก่อสร้าง/ปรับปรุง ซ่อมแซมถนน แหล่งกักเก็บน้า หรือสิ่ง
สาธารณประโยชน์อื่น ๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบคลุมทั้งในระดับ อบจ. เทศบาลนคร
เทศบาลเมือง เทศบาลตาบล และ อบต. ซึ่งได้รับความเสียหายจาก
สาธารณภัย
8,172
ล้านบาท
2,765
โครงการ
67
จังหวัด
14
SCB EIC Industry insight : Construction
ภาครัฐมีแผนโครงการเมกะโปรเจกต์ทั้งในกรุงเทพฯ ปริมณฑล และภูมิภาค ซึ่งจะมีการทยอยลงทุน
ตั้งแต่ปี 2024 เป็นต้นไป คิดเป็นมูลค่าโครงการโดยรวมไม่ต่ากว่า 9 แสนล้านบาท
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย, การรถไฟแห่งประเทศไทย, กระทรวงคมนาคม, บมจ. ท่าอากาศยานไทย และสานักข่าว
รถไฟทางคู่ เฟส 2
มูลค่าการลงทุน
(พันล้านบาท)
ปากน้าโพ-เด่นชัย 63
เด่นชัย-เชียงใหม่ 57
ขอนแก่น-หนองคาย 30
ชุมทางถนนจิระ-อุบลราชธานี 38
ชุมพร-สุราษฎร์ธานี 24
สุราษฎร์ธานี-ชุมทางหาดใหญ่-สงขลา 57
หาดใหญ่-ปาดังเบซา 7
รถไฟฟ้า
มูลค่าการลงทุน
(พันล้านบาท)
สายสีน้าตาล ช่วงแคราย - ลาสาลี (บึงกุ่ม) 48
สายสีเทา ช่วงวัชรพล-ทองหล่อ 27
สายสีฟ้า ช่วงดินแดง-สาทร N/A
ส่วนต่อขยายสายสีน้าเงิน (บางแค-พุทธมณฑล
สาย 4) สายสีเขียว (สมุทรปราการ-บางปู)
สายสีเขียว (คูคต-ลาลูกกา) สายสีแดง (หัวลาโพง-
มหาชัย) สายสีทอง (คลองสาน-ประชาธิปก)
สายสีเหลือง (แยกรัชดา-แยกรัชโยธิน)
N/A
ระบบขนส่งมวลชน จ.ภูเก็ต เฟส 1
ช่วงท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ต–ห้าแยกฉลอง
35
ระบบขนส่งมวลชน จ.เชียงใหม่ (สายสีแดง)
ช่วงโรงพยาบาลนครพิงค์-แยกแม่เหียะสมาน
สามัคคี
26
ระบบขนส่งมวลชน จ.นครราชสีมา (สายสีเขียว)
ช่วงตลาดเซฟวัน-สถานคุ้มครองและพัฒนา
อาชีพบ้านนารีสวัสดิ์
7.1
ระบบขนส่งมวลชน จ.พิษณุโลก (สายสีแดง) 1.6
รถไฟความเร็วสูง
กรุงเทพฯ-พิษณุโลก (380 กม.)
กรุงเทพฯ-หัวหิน (211 กม.)
พิษณุโลก-เชียงใหม่ (288 กม.)
หัวหิน-สุราษฎร์ธานี (424 กม.)
สุราษฎร์ธานี-ปาดังเบซาร์ (335 กม.)
สนามบิน
มูลค่าการลงทุน
(พันล้านบาท)
ขยายท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ด้านทิศเหนือ 41
อาคารผู้โดยสารสนามบินสุวรรณภูมิ
ส่วนต่อขยายด้านทิศตะวันตก
7
สนามบินภูเก็ต หรือพังงา แห่งที่ 2 101
สนามบินเชียงใหม่ แห่งที่ 2 69
สนามบินภูเก็ต เฟส 2 6.2
มอเตอร์เวย์ / ทางด่วน / สะพาน
มูลค่าการลงทุน
(พันล้านบาท)
สะพานเศรษฐกิจเชื่อมฝั่งทะเลอ่าวไทย-อันดามัน
(Land bridge ชุมพร-ระนอง)
100
มอเตอร์เวย์สายนครปฐม-ชะอา 76
ทางด่วนศรีนครินทร์-สุวรรณภูมิ 36
ทางพิเศษสายเมืองใหม่-เกาะแก้ว-กะทู้ จ.ภูเก็ต 30
สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 6 (อุบลราชธานี-สาละวัน)
จ.อุบลราชธานี
4.8
สะพานข้ามแม่น้าโก-ลก แห่งที่ 2 ที่อาเภอสุไหงโก-ลก จ.นราธิวาส N/A
สะพานข้ามแม่น้าโก-ลก ที่อาเภอตากใบ จ.นราธิวาส N/A
การก่อสร้างภาคเอกชน
มูลค่าการก่อสร้างภาคเอกชนในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัว +3%YOY จากการขยายตัวของการก่อสร้างที่อยู่อาศัย และอสังหาริมทรัพย์เชิงพาณิชย์
โดยพื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างที่อยู่อาศัยขยายตัวในปี 2022 ประกอบกับพื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างอาคารสานักงาน พื้นที่ค้าปลีก
และโรงงานอุตสาหกรรมที่ขยายตัวในปี 2021 จะหนุนกิจกรรมการก่อสร้างภาคเอกชนทั้งในปี 2023 และระยะข้างหน้า
16
SCB EIC Industry insight : Construction
มูลค่าการก่อสร้างภาคเอกชนในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัวมาอยู่ที่ 586,000 ล้านบาท (+3%YOY)
จากการก่อสร้างอาคารที่อยู่อาศัย และอสังหาริมทรัพย์เชิงพาณิชย์
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
มูลค่าการก่อสร้างภาคเอกชน
หน่วย : พันล้านบาท
-2% +6% +7%
+1% +13% +6%
+5% -11% -7%
ที่อยู่อาศัย
อื่น ๆ เช่น โรงงาน โรงแรม คลังสินค้า
อสังหาริมทรัพย์เชิงพาณิชย์
%YOY 2021 2022 2023F
100
2020
282
101
2021
297
115
157
107 122
146
318
2023F
560
2022
569
168
309
154
2019
177
287
571 555
586
-3% +1% +2% +3%
มูลค่าการก่อสร้างภาคเอกชนในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัวมาอยู่ที่ 586,000 ล้านบาท
(+3%YOY)
• มูลค่าการก่อสร้างอาคารที่อยู่อาศัยมีแนวโน้มขยายตัว +7%YOY โดยเป็นการขยายตัว
ของมูลค่าการก่อสร้างที่อยู่อาศัยแนวราบ กลุ่มบ้านเดี่ยว และการก่อสร้างคอนโดมิเนียม
• มูลค่าการก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์เชิงพาณิชย์ ได้แก่ อาคารสานักงาน และพื้นที่ค้าปลีก
มีแนวโน้มขยายตัว +6%YOY ไปตามโครงการขนาดใหญ่ ที่ยังมีการก่อสร้างอย่างต่อเนื่อง
รวมถึงการ Renovate พื้นที่ค้าปลีก และโรงแรม เพื่อรองรับการฟื้นตัวของกาลังซื้อ
ในประเทศ และนักท่องเที่ยวต่างชาติ
ในระยะปานกลาง มูลค่าการก่อสร้างภาคเอกชนขยายตัวได้อย่างต่อเนื่อง โดยพื้นที่ขออนุญาต
ก่อสร้างที่อยู่อาศัยขยายตัวในปี 2022 ประกอบกับพื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างอาคารสานักงาน
พื้นที่ค้าปลีก และโรงงานอุตสาหกรรมที่ขยายตัวในปี 2021 จะหนุนกิจกรรมการก่อสร้าง
ภาคเอกชนทั้งในปี 2023 และระยะข้างหน้า
อย่างไรก็ตาม ยังต้องจับตาภาวะ Oversupply ที่อาจทาให้เลื่อน / ยกเลิกโครงการที่ไม่มี
ศักยภาพออกไป โดยเฉพาะโครงการก่อสร้างอาคารสานักงานในบางพื้นที่
17
SCB EIC Industry insight : Construction
หน่วยที่อยู่อาศัยเปิดตัวใหม่ในปี 2023 ขยายตัวต่อเนื่องจากปี 2022 หนุนให้มูลค่าการก่อสร้างที่อยู่อาศัย
ในปี 2023 ขยายตัว ทั้งการก่อสร้างที่อยู่อาศัยแนวราบ กลุ่มบ้านเดี่ยว และการก่อสร้างคอนโดมิเนียม
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ AREA
มูลค่าการก่อสร้างที่อยู่อาศัย
หน่วย : พันล้านบาท
จานวนหน่วยที่อยู่อาศัยขายได้ และเปิดตัวใหม่ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล
หน่วย : พันหน่วย
%YOY 2021 2022 2023F
+20% +62% +6%
+22% -20% -3%
+21% 0% -12%
-23% -15% +24%
บ้านเดี่ยว
บ้านแฝด
ทาวน์เฮาส์
คอนโดมิเนียม
24
66
29
62
153
61
58
55
174
2018
58
22
318
2023F
149
53
176
2019 2022
55
297
115
2020
35 27
66
2021
106
28
97
113
58
282
66
120
20
2017
59
297 313 309
287
-7% -2% +6%
+7% 69
2018
54
2019
15
21
29
2020
19
26
107
2021
74
119
21
51
2022 2023F
25
29
29
98
15
19
31 65
97
+15%
+31%
+10%
บ้านเดี่ยว+บ้านแฝด ทาวน์เฮาส์ คอนโดมิเนียม
2018 2020
18
32
32
74 54
66
2019
18
29
26
23
23
2021
25
2022 2023F
13
20
60
28
119
125
73
107 118
-17%
+77%
+10%
ที่อยู่อาศัย
ขายได้
ที่อยู่อาศัย
เปิดตัวใหม่
18
SCB EIC Industry insight : Construction
การเปิดโครงการใหม่ในต่างจังหวัดทยอยฟื้นตัว นาโดยโครงการแนวราบเป็นหลัก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ REIC
หน่วยที่อยู่อาศัยแนวราบเปิดตัวใหม่ใน 6 จังหวัดหลัก
หน่วย : พันหน่วย
หน่วยคอนโดเปิดตัวใหม่ใน 6 จังหวัดหลัก
หน่วย : พันหน่วย
4
2
0
8
6
เชียงใหม่ ขอนแก่น นครราชสีมา ชลบุรี ระยอง ภูเก็ต
+64%
+61% +50%
+46%
-36%
+96%
2019 2020 2021 2022
4
0
2
10
6
12
8
ภูเก็ต
ชลบุรี
เชียงใหม่ ขอนแก่น ระยอง
นครราชสีมา
+419% +314%
+32%
-57% -20%
2019 2020 2021 2022
ไม่มีการเปิดตัวใหม่
ในปี 2021
H2/22 7,764 2,513 4,294 13,474 10,189 3,645
H2/21 7,525 2,809 3,823 18,537 16,244 3,390
H2/22 1,213 1,055 893 15,633 742 2,524
H2/21 1,251 455 1,276 18,465 1,345 4,428
สต็อก (หน่วย) สต็อก (หน่วย)
19
SCB EIC Industry insight : Construction
มูลค่าการก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์เชิงพาณิชย์ในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัวไปตามการก่อสร้างโครงการขนาดใหญ่
โดยการขยายสาขาของผู้ประกอบการค้าปลีกรายใหญ่ หนุนการก่อสร้างพื้นที่ค้าปลีกในต่างจังหวัด
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ CBRE
มูลค่าการก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์เชิงพาณิชย์
หน่วย : พันล้านบาท
Occupancy rate
หน่วย : % พื้นที่ค้าปลีก :
• อุปทานใหม่คาดว่าจะเพิ่มขึ้นมากกว่า 550,000 ตร. ม. โดยเฉพาะ
โครงการขนาดใหญ่ในพื้นที่ Midtown และ Suburbs
• การขยายสาขาของผู้ประกอบการค้าปลีกรายใหญ่ออกไปสู่จังหวัด
หัวเมืองสาคัญที่มีศักยภาพ ทั้งรูปแบบพื้นที่ค้าปลีกโดยตรง และ
โครงการ Mixed-use หนุนการก่อสร้างพื้นที่ค้าปลีกในต่างจังหวัด
อาคารสานักงาน :
• อุปทานพื้นที่ให้เช่าที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในอัตรา
ที่มากกว่าการขยายตัวของความต้องการพื้นที่เช่า ซึ่งส่วนใหญ่
อยู่ในกลุ่มอาคารสานักงานเกรด A เป็นปัจจัยสาคัญที่กดดัน
ตลาดสานักงานให้เช่าให้ฟื้นตัวได้อย่างจากัดในระยะต่อไป
• อย่างไรก็ดี ยังต้องจับตาภาวะ Oversupply ที่อาจทาให้
Occupancy rate ลดลง ซึ่งจะกดดันต่อการปรับขึ้นอัตราค่าเช่า
รวมถึงอาจมีการเลื่อน / ยกเลิกโครงการก่อสร้างอาคารสานักงาน
ที่ไม่มีศักยภาพออกไป
85 85 82 77 78
93 99
14 17 26
23 23
21
22
2022
101
2023F
107
2021
2017 2018 2019 2020
98 102 100
115
122
+1%
+13% +6%
0% -7% +5%
+1% +19% +7%
อาคารสานักงาน
พื้นที่ค้าปลีก
%YOY 2021 2022 2023F
85%
90%
75%
80%
95%
100%
70%
91%
92%
96%
86%
93%
2017
94%
93%
95% 95%
2018 2019
96%
2020
89%
95%
87%
2021
94%
Q1/22
87%
95%
Q2/22
95%
Q3/22
85%
Q4/22
อาคารสานักงาน พื้นที่ค้าปลีก
20
SCB EIC Industry insight : Construction
มูลค่าการก่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรมในปี 2023 ขยายตัวต่อเนื่อง ขณะที่การก่อสร้างโรงแรมยังหดตัว
ต่อเนื่อง
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
มูลค่าการก่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรม
หน่วย : พันล้านบาท
มูลค่าการอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุนโดย BOI
หน่วย : พันล้านบาท
มูลค่าการก่อสร้างโรงแรม
หน่วย : พันล้านบาท
สัดส่วนการอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุนโดย BOI ปี 2022
หน่วย : %
631
550
447
361
512
619
2022
2020
2017 2019
2018 2021
-19%
+42% +21%
32 31 32 30
33
39 40
2019
2018
2017 2020 2023F
2022
2021
+11%
+18%
+2%
20
22
25 26 26 25 24
2023F
2018
2017 2022
2019 2021
2020
-1% -2% -4%
57%
25%
8%
ตะวันออก
กลาง
ตะวันตก
เหนือ
ตะวันออก
เฉียงเหนือ
4%
2%
4%
ใต้
โรงงานอุตสาหกรรม :
• มูลค่าการก่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรมปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่องไปตามการลงทุน โดยเฉพาะในภาคตะวันออก
• มาตรการดึงดูดการเข้ามาลงทุนตั้งฐานการผลิต โดยเฉพาะรถยนต์ EV จะมีส่วนช่วยหนุนการก่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรม
ให้ขยายตัวต่อเนื่อง ทั้งในปี 2023 และในระยะข้างหน้า
โรงแรม :
• มูลค่าการก่อสร้างโรงแรมปี 2023 มีแนวโน้มหดตัวต่อเนื่องไปตามพื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างโรงแรม ที่ยังไม่สามารถฟื้นตัวได้
ตั้งแต่การแพร่ระบาดของ COVID-19
• นักลงทุนสนใจซื้อโรงแรมในไทยจากปัจจัยหนุนด้านการท่องเที่ยวที่มีแนวโน้มฟื้นตัวได้ดี ส่งผลให้ตลาดธุรกิจโรงแรมในปี 2023
จึงอยู่ในลักษณะการซื้อขาย และควบรวมกิจการมากกว่าการก่อสร้างโรงแรมใหม่
21
SCB EIC Industry insight : Construction
พื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างที่อยู่อาศัยขยายตัวในปี 2022 ประกอบกับพื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างอาคารสานักงาน
และพื้นที่ค้าปลีกที่ขยายตัวในปี 2021 จะหนุนกิจกรรมการก่อสร้างภาคเอกชนทั้งในปี 2023 และระยะข้างหน้า
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ REIC
พื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างทั่วประเทศ
หน่วย : ล้านตารางเมตร
1.7
2.3
1.1
1.3 1.2
2021
2020
2019
2018 2022
+18% -7%
4.4 4.0 3.8 3.3 2.4
38.5
36.7
32.2
32.3 33.7
2019
2018 2021
32.1
2020
36.1
2022
36.2 35.9 37.0
+3% +4%
7.3
6.5
5.8
7.7
5.2
2018 2019 2020 2021 2022
+32% -32%
แนวราบ
คอนโดมิเนียม
ที่อยู่อาศัย อาคารสานักงาน
2.1
2.6
2.0 1.9
1.1
2018 2020
2019 2022
2021
-8% -42%
7.2 6.9 6.8
8.0
5.8
2018 2019 2020 2021 2022
+17% -27%
โรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม
พื้นที่ค้าปลีก
• พื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างในปี 2022 ส่วนใหญ่หดตัว ยกเว้นที่อยู่อาศัย
• อย่างไรก็ดี พื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างที่อยู่อาศัยขยายตัวในปี 2022
ประกอบกับพื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างอาคารสานักงาน พื้นที่ค้าปลีก
และโรงงานอุตสาหกรรมที่ขยายตัวในปี 2021 จะหนุนกิจกรรมการ
ก่อสร้างภาคเอกชนทั้งในปี 2023 และระยะข้างหน้า
• พื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างโรงแรมยังไม่สามารถฟื้นตัวได้ตั้งแต่การแพร่
ระบาดของ COVID-19
ความท้าทายของอุตสาหกรรมก่อสร้าง และการปรับกลยุทธ์
ภาคก่อสร้างยังเผชิญความท้าทายทั้งในปี 2023 และในระยะปานกลาง ได้แก่ 1) ต้นทุนก่อสร้างยังอยู่ในระดับสูง 2) ความเสี่ยงด้านสภาพคล่องทางการเงิน
และ 3) แรงกดดันจากเทรนด์ ESG ที่ส่งผลให้ผู้ประกอบการรับเหมาก่อสร้างต้องปรับกลยุทธ์รับมือ
23
SCB EIC Industry insight : Construction
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC
ต้นทุนก่อสร้างยังอยู่ในระดับสูง ความเสี่ยงด้านสภาพคล่องทางการเงิน แรงกดดันจากเทรนด์ ESG
• ปี 2023 ผู้ประกอบการรับเหมาก่อสร้างเผชิญภาวะต้นทุน
ก่อสร้างยังอยู่ในระดับสูง โดยราคาวัสดุก่อสร้าง เช่น เหล็ก
ปูนซีเมนต์ มีแนวโน้มปรับตัวลดลงเล็กน้อย แต่ยังอยู่ใน
ระดับสูง อีกทั้ง ราคาวัสดุก่อสร้างยังมีความผันผวนระหว่างปี
• นอกจากนี้ จานวนแรงงานไทยในภาคก่อสร้างที่กลับมา
ปรับตัวลดลง เป็นเหตุให้ค่าแรงงานในภาคก่อสร้างยังอยู่ใน
ระดับสูง นามาซึ่งความเสี่ยงให้อัตรากาไรของผู้ประกอบการ
ยังคงอยู่ในระดับต่าในปี 2023
• ธุรกิจรับเหมาก่อสร้างมีสัดส่วนกิจการที่มีอายุเกิน 10 ปี และ
มี Interest coverage ratio <1 เป็นเวลา 3 ปีติดต่อกัน
เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง หลังจากการแพร่ระบาดของ COVID-19
• นอกจากนี้ ในปี 2023 ผู้ประกอบการที่รับงานก่อสร้างภาครัฐ
เป็นหลัก จะเผชิญปัจจัยท้าทายทั้งความล่าช้าในการอนุมัติ
โครงการก่อสร้างภาครัฐที่มูลค่าสูงหลังการประกาศยุบสภา
รวมถึงการจัดทางบประมาณประจาปี 2024 และการเบิกจ่าย
ที่อาจล่าช้าออกไปหลังไตรมาสที่ 4 ของปี 2023 ส่งผลให้
เผชิญความเสี่ยงด้านสภาพคล่องทางการเงิน
• แรงกดดันจากกฎระเบียบ และความเสี่ยงในการประกาศ
ให้หยุดการก่อสร้างในบางช่วง
• แรงกดดันจากคู่ค้า ลูกค้า และผู้บริโภค เช่น การใช้วัสดุ
ก่อสร้างที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม Green supply chain
ความต้องการที่อยู่อาศัย และอาคารที่สามารถรองรับภัยพิบัติ
ที่รุนแรงขึ้น อาคารที่มีคุณสมบัติสอดคล้องตามมาตรฐาน
อาคารที่ตอบโจทย์ด้านความยั่งยืน
ความท้าทายของอุตสาหกรรมก่อสร้าง
24
SCB EIC Industry insight : Construction
ในปี 2023 ราคาวัสดุก่อสร้าง เช่น เหล็ก ปูนซีเมนต์ มีแนวโน้มปรับตัวลดลงเล็กน้อย แต่ยังอยู่ในระดับสูง
อีกทั้ง มีความผันผวนระหว่างปี จากปัจจัยด้านราคาพลังงาน การเปิดประเทศจีน และอัตราแลกเปลี่ยน
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งประเทศไทย, สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม และกระทรวงพาณิชย์
ราคาปูนซีเมนต์
หน่วย : พันบาท/ตัน
ดัชนีราคาขายส่งวัสดุก่อสร้างในกรุงเทพฯ-ปริมณฑล
หน่วย : %YOY
ราคาเหล็กทรงยาวไทย
หน่วย : บาท/กิโลกรัม
19.5 19.6
25.3 24.6
21.2
17.6
2017 2018 2019 2020 2021
26.5
26.5
2022 2023F
+44% +5%
-7%
1.55
1.70 1.73
1.63
2018 2023F
2017 2019
1.76
2020 2021
1.88
1.88
2022
1.82
+16%
-3%
0.6
0
10
15
-10
-5
5
01/19
01/18
01/16
07/16
01/17
07/17
07/18
07/19
01/20
03/23
07/20
01/21
07/21
01/22
07/22
01/23
2019 2021 2022
%YOY -2% +8% +6%
ปัจจัยที่ส่งผลให้ราคาวัสดุ
ก่อสร้างผันผวนในปี 2023
ปัญหาภูมิรัฐศาสตร์โลก และสภาพ
อากาศโลกที่แปรปรวน ที่จะส่งผล
ต่อราคาพลังงาน
การเปิดประเทศจีน ที่จะส่งผลต่อ
ราคาเหล็กจีน และเหล็กไทย
อัตราแลกเปลี่ยน ที่จะส่งผลต่อราคาวัสดุ
ก่อสร้างนาเข้า
1. ต้นทุนก่อสร้างยังอยู่ในระดับสูง
25
SCB EIC Industry insight : Construction
ปัจจุบันแรงงานต่างชาติในภาคก่อสร้างกลับเข้ามาทางานในไทยเทียบเท่าระดับก่อนการแพร่ระบาดของ COVID-19 แล้ว
แต่จานวนแรงงานไทยที่กลับมาปรับตัวลดลงเป็นเหตุให้ค่าแรงงานในภาคก่อสร้างยังอยู่ในระดับสูง
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสถิติแห่งชาติ และกระทรวงแรงงาน
จานวนแรงงานเมียนมา สปป.ลาว กัมพูชา และเวียดนามในภาคก่อสร้าง
หน่วย : พันคน
จานวนแรงงานพื้นฐานในภาคก่อสร้างโดยรวม
หน่วย : พันคน
200
0
600
400
Mar-21
Sep-19 Sep-22
Jun-19 Dec-19 Mar-20 Jun-20 Sep-20 Dec-20 Jun-21 Sep-21 Dec-21 Mar-22 Jun-22 Dec-22
591 552 579
COVID-19
1,500
1,000
500
0
58%
Q3-19 Q2-20
Q1-20
52% 43%
65%
48%
Q3-20
49%
1,106
35%
51%
Q4-19 Q1-21
55%
45%
56%
44%
56%
36%
44%
979
58%
Q2-21
42%
Q3-21
Q4-20
61%
39%
57% 59%
41%
954
Q4-21
1,108
63%
37%
Q1-22
64%
Q2-22
42%
Q3-22
1,105 1,190
1,056 1,018 995 1,046 1,006
1,119
975
แรงงานไทย แรงงานต่างชาติ
• ปัจจุบันแรงงานต่างชาติในภาคก่อสร้างกลับเข้ามาทางานในไทยเทียบเท่า
ระดับก่อนการแพร่ระบาดของ COVID-19 แล้ว
• แต่จานวนแรงงานไทยในภาคก่อสร้างที่กลับมาปรับตัวลดลงตั้งแต่ไตรมาส
ที่ 2 ของปี 2022 เป็นเหตุให้ค่าแรงงานในภาคก่อสร้างยังอยู่ในระดับสูง
7 ก.พ. 2023 ครม. มีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงแรงงานเสนอ เรื่องแนวทาง
การบริหารจัดการการทางานของคนต่างด้าวภายหลังวันที่ 13 ก.พ. 2023
• เห็นชอบให้คนต่างด้าวซึ่งใบอนุญาตทางานหมดอายุวันที่ 13 ก.พ. 2023 ที่ได้
ยื่นคาขอต่ออายุใบอนุญาตทางาน พร้อมทั้งชาระค่าธรรมเนียมค่ายื่นคาขอ
และค่าธรรมเนียมต่ออายุใบอนุญาตทางาน ภายในวันที่ 13 ก.พ. 2023
สามารถอยู่ในราชอาณาจักรเป็นกรณีพิเศษ เพื่อทางานถึงวันที่ 15 พ.ค. 2023
• เห็นชอบให้คนต่างด้าวซึ่งเมื่อดาเนินการเพื่อให้ได้รับการตรวจลงตราหรือตรวจ
อนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวถึงวันที่ 15 พ.ค. 2023 แล้ว
หากประสงค์จะทางานต่อไป จะได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการ
ชั่วคราวและทางานถึงวันที่ 13 ก.พ. 2024 และหากประสงค์จะทางานต่อไป
จะได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวเพื่อทางานถึงวันที่ 13
ก.พ. 2025
• หนุนให้กิจกรรมการก่อสร้างดาเนินไปได้อย่างต่อเนื่อง
• บรรเทาปัญหาต้นทุนค่าแรงงานของผู้ประกอบการรับเหมาก่อสร้างได้ส่วนหนึ่ง
1. ต้นทุนก่อสร้างยังอยู่ในระดับสูง
26
SCB EIC Industry insight : Construction
ธุรกิจรับเหมาก่อสร้างมีสัดส่วน Zombie firm เพิ่มขึ้นต่อเนื่องหลังจากการแพร่ระบาดของ COVID-19
นอกจากนี้ ในปี 2023 ผู้ประกอบการที่รับงานก่อสร้างภาครัฐเป็นหลักจะเผชิญปัจจัยท้าทายด้านสภาพคล่อง
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
สัดส่วน Zombie firm แยกตามสาขาธุรกิจ
หน่วย : % จานวนบริษัทที่มีข้อมูลเพียงพอ
จานวนการจดทะเบียนนิติบุคคลธุรกิจก่อสร้าง
หน่วย : ราย
30
0
25
15
5
20
10
Manufacture
3%
Hotel
Real
estate
Recreation
Education
Mining
Restaurant
Other
service
Finance
Agriculture
Wholesale
&
Retail
Telecom
Professional
Admin
Utilities
Health
Construction
Transport
&
Warehouses
4%
ปี 2017-2019 2020 ปี 2021
นิยาม Zombie firm : กิจการที่มีอายุเกิน 10 ปี
และมี Interest coverage ratio <1 เป็นเวลา 3 ปีติดต่อกัน
7,030 7,061
0
2,000
4,000
6,000
8,000
531
2021
437
2022
7,561 7,498
-1%
1,536
2,012
1,000
1,500
0
2,000
500
2,500
1,656
120
2021
134
2022
2,146
+30%
ก่อสร้างโครงการภาครัฐ ก่อสร้างอาคาร
จัดตั้งใหม่
เลิก
ธุรกิจรับเหมาก่อสร้างมีสัดส่วน Zombie firm เพิ่มขึ้น
ต่อเนื่องหลังจากการแพร่ระบาดของ COVID-19
โดยเฉพาะผู้รับเหมาก่อสร้าง SMEs ที่มีความเสี่ยง
ในการปิดกิจการมากขึ้นจากปัญหาสภาพคล่องทางการเงิน
นอกจากนี้ ในปี 2023 ผู้ประกอบการที่รับงานก่อสร้าง
ภาครัฐเป็นหลักจะเผชิญปัจจัยท้าทาย
• ความล่าช้าในการอนุมัติโครงการก่อสร้างภาครัฐ
ใหม่ ๆ ที่มูลค่าโครงการสูงหลังการประกาศยุบสภา
• การจัดทางบประมาณประจาปี 2024 และการ
เบิกจ่าย ที่อาจล่าช้าออกไปหลังไตรมาสที่ 4
ของปี 2023
• ขาดโอกาสเข้าประมูลโครงการก่อสร้างใหม่ ๆ
• เผชิญความเสี่ยงด้านสภาพคล่องทางการเงิน
2. ความเสี่ยงด้านสภาพคล่องทางการเงิน
27
SCB EIC Industry insight : Construction
ภาคอาคารและการก่อสร้างมีสัดส่วนการปล่อย CO2 อยู่ที่ 37% ของการปล่อย CO2 โดยรวม และมีสัดส่วน
การใช้พลังงานอยู่ที่ 34-35% ของการใช้พลังงานโดยรวม
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูล 2022 Global Status Report for Buildings and Construction โดย United Nations Environment Programme
สัดส่วนการปล่อย CO2 ของภาคอาคารและการก่อสร้างปี 2021 โดยรวมทั้งโลก
หน่วย : %
สัดส่วนการใช้พลังงานของภาคอาคารและการก่อสร้างปี 2021 โดยรวมทั้งโลก
หน่วย : %
6%
8%
11%
6%
30%
22%
8% 3%
3%
3%
37%
9%
21%
31%
26%
6% 1%
4%
2%
34-35%
อาคารที่ไม่ใช่ที่อยู่อาศัย (ทางอ้อม)
อาคารที่อยู่อาศัย (ทางตรง)
กระจก และอิฐสาหรับการก่อสร้างอาคาร
คอนกรีต อะลูมิเนียม และเหล็กสาหรับการก่อสร้างอาคาร
อาคารที่ไม่ใช่ที่อยู่อาศัย (ทางตรง)
อาคารที่อยู่อาศัย (ทางอ้อม)
ภาคอาคารและการก่อสร้างอื่น ๆ เช่น โครงสร้างพื้นฐาน
อุตสาหกรรมอื่น ๆ
ขนส่ง
อื่น ๆ
กระจก และอิฐสาหรับการก่อสร้างอาคาร
คอนกรีต อะลูมิเนียม และเหล็กสาหรับการก่อสร้างอาคาร
อาคารที่ไม่ใช่ที่อยู่อาศัย
อาคารที่อยู่อาศัย
ภาคอาคารและการก่อสร้างอื่น ๆ เช่น โครงสร้างพื้นฐาน
อุตสาหกรรมอื่น ๆ
ขนส่ง
อื่น ๆ
3. แรงกดดันจากเทรนด์ ESG
28
SCB EIC Industry insight : Construction
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC
เทรนด์ ESG เป็นแรงกดดันให้ผู้รับเหมาก่อสร้างไทยต้องเร่งปรับกลยุทธ์
E
S G
Environment
• ใช้วัสดุก่อสร้างที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
• ลดมลภาวะ เช่น GHG ฝุ่น เสียง น้าเสีย ของเสีย จากการก่อสร้าง
• ลดการใช้ทรัพยากร และพลังงาน
• บริหารจัดการของเหลือ และขยะจากงานก่อสร้าง
Governance
• มีการจัดซื้อจัดจ้าง และการประมูลที่โปร่งใส
• ใช้วัสดุก่อสร้างที่ได้มาตรฐาน
Social
• มีความปลอดภัยในการทางาน
• มีความเป็นอยู่ และสวัสดิการที่ดีสาหรับแรงงาน
• มีส่วนร่วมจากชุมชนท้องถิ่น
• ส่งมอบงานตรงเวลา และตรงตามความต้องการของลูกค้า
• กฎระเบียบ และกฎหมายต่าง ๆ เช่น กฎหมายควบคุมอาคาร กฎหมายการผังเมือง การจัดทารายงาน EIA
• ความเสี่ยงในการประกาศให้หยุดการก่อสร้างในบางช่วง เช่น ฝุ่น PM 2.5 หนาแน่น เกิดอุบัติเหตุในพื้นที่
ก่อสร้าง
แรงกดดันจากกฎระเบียบ
โครงการก่อสร้างภาครัฐ
• การส่งเสริมให้ใช้วัสดุก่อสร้างที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในโครงการก่อสร้างภาครัฐ เช่น
ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิก
• ความเสี่ยงในการเริ่มงานก่อสร้างล่าช้า เช่น ข้อพิพาทในการเข้าประมูลโครงการก่อสร้างภาครัฐ
ข้อพิพาทจากชุมชนท้องถิ่น
โครงการก่อสร้างภาคเอกชน
• Green supply chain เช่น ที่อยู่อาศัยประหยัดพลังงานและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม, Green Purchasing
• ความต้องการที่อยู่อาศัยและอาคารที่สามารถรองรับภัยพิบัติที่มีแนวโน้มรุนแรงขึ้นในอนาคต เช่น น้าท่วม
พายุ อากาศร้อน
• ความต้องการอาคารที่มีคุณสมบัติสอดคล้องตามมาตรฐานอาคารที่ตอบโจทย์ด้านความยั่งยืน เช่น
Global Real Estate Sustainability Benchmark (GRESB), Leadership in Energy & Environmental
Design (LEED)
แรงกดดันจากคู่ค้า / ลูกค้า / ผู้บริโภค
ที่อยู่
อาศัย
อาคาร
สานักงาน
พื้นที่
ค้าปลีก
โรงงาน โรงแรม
3. แรงกดดันจากเทรนด์ ESG
29
SCB EIC Industry insight : Construction
การใช้เทคโนโลยีก่อสร้างจะเข้ามาช่วยตอบโจทย์เทรนด์ ESG โดยปัจจุบันเริ่มมีการใช้เทคโนโลยีก่อสร้าง
เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมบ้างแล้ว
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC
3. แรงกดดันจากเทรนด์ ESG
เทคโนโลยีที่ตอบโจทย์ด้านสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีที่ตอบโจทย์ด้านสังคม
อุปกรณ์และเครื่องจักรก่อสร้างที่ลด
การก่อมลภาวะ
วัสดุก่อสร้างที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
เช่น ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิก
เทคโนโลยีก่อสร้างแบบสาเร็จรูป
เช่น Precast, Prefabrication, Modular
3D printing
สาหรับการขึ้นรูปโครงสร้างชิ้นงาน
Building Information Modeling (BIM)
Smart wearables
เช่น แว่นตาและหมวกนิรภัยอัจฉริยะ
ยูนิฟอร์มอัจฉริยะ
ระบบ Automation ในอุปกรณ์และ
เครื่องจักร รวมถึงหุ่นยนต์ก่อสร้าง
Drone
อุปกรณ์ Sensor เพื่อแจ้งเตือน เช่น
ระบบตรวจวัดฝุ่นละออง และก๊าซต่าง ๆ
อุปกรณ์แจ้งเตือนเมื่อเกิดอุบัติเหตุ
เทคโนโลยีที่ตอบโจทย์ด้านบรรษัทภิบาล
Blockchain
ปัจจุบัน เริ่มมีการใช้เทคโนโลยีก่อสร้าง
เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมบ้างแล้ว
ในระยะข้างหน้า ควรมีการใช้เทคโนโลยี
ก่อสร้างอื่น ๆ ตอบโจทย์ด้านสังคม และ
บรรษัทภิบาล เพื่อนาไปสู่การสร้างความ
ยั่งยืนในการประกอบธุรกิจ
ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
• ลดมลภาวะ เช่น GHG ฝุ่น เสียง
น้าเสีย ของเสีย จากการก่อสร้าง
• ลดการใช้ทรัพยากร และพลังงาน
• ลดของเหลือ และขยะจากงานก่อสร้าง
ลดอันตรายสาหรับแรงงาน
• ลดความเสี่ยงในการทางานรื้อถอน ทางาน
ในพื้นที่อันตราย หรือเข้าถึงยาก
• ลดการใช้แรง และเสริมสร้างความปลอดภัย
ต่อร่างกายในการยกสิ่งของที่มีน้าหนักมาก
• แจ้งเตือนไปยังผู้ควบคุมงานก่อสร้าง เมื่อมี
สัญญาณจะเกิดอันตราย หรือเกิดอันตราย
ขึ้นแล้ว เพื่อช่วยเหลือได้ทันท่วงที
เพิ่มประสิทธิภาพในการก่อสร้าง
• ลดต้นทุนก่อสร้าง
• ลดการใช้แรงงานพื้นฐาน
• ลดข้อผิดพลาดในการดาเนินงานโครงการก่อสร้าง
• ยกระดับผลิตภาพแรงงานได้ในระยะยาว
• เพิ่มความโปร่งใสในขั้นตอนการก่อสร้าง โดยเฉพาะ
ในกรณีที่มีการแก้ไข หรือเปลี่ยนแปลงข้อมูล
30
SCB EIC Industry insight : Construction
เพิ่มโอกาสในการสร้างรายได้
และควบคุมต้นทุนก่อสร้าง บริหารสภาพคล่องทางการเงิน ตอบโจทย์เทรนด์ ESG
• พัฒนาศักยภาพ และร่วมมือกับพันธมิตร เพื่อเข้าประมูล
งานก่อสร้างได้อย่างหลากหลาย
• ระมัดระวังการเข้าประมูลแบบแข่งขันด้านราคา
• ร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐและเอกชน (PPP)
• ทาสัญญาสั่งซื้อวัสดุก่อสร้างล่วงหน้า อย่างสอดคล้อง
กับความต้องการใช้
• ปรับสัดส่วนการรับงานก่อสร้างภาครัฐ และเอกชน
ให้เหมาะสม เพื่อลดความเสี่ยง
• ดาเนินการก่อสร้างให้แล้วเสร็จตามแผน เพื่อให้
สามารถเบิกจ่ายได้ตามกาหนด
• หาพันธมิตรวัสดุก่อสร้างที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
• การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน
• ลงทุนนาเทคโนโลยีก่อสร้างมาใช้
• ยกระดับให้มีการใช้ BIM อย่างเต็มศักยภาพ
รวมถึงพัฒนาทักษะบุคลากร
การปรับกลยุทธ์ของผู้ประกอบการรับเหมาก่อสร้าง
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC
มูลค่าอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2566 มีแนวโน้มขยายตัว จับตาความท้าทายต้นทุนสูง ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง และแรงกดดันจากเทรนด์ ESG
มูลค่าอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2566 มีแนวโน้มขยายตัว จับตาความท้าทายต้นทุนสูง ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง และแรงกดดันจากเทรนด์ ESG

More Related Content

More from SCBEICSCB

SCB EIC ปรับลดเป้าเศรษฐกิจไทยปี 2024 เหลือ 2.5% จากข้อจำกัดการฟื้นตัวที่มากขึ...
SCB EIC ปรับลดเป้าเศรษฐกิจไทยปี 2024 เหลือ 2.5% จากข้อจำกัดการฟื้นตัวที่มากขึ...SCB EIC ปรับลดเป้าเศรษฐกิจไทยปี 2024 เหลือ 2.5% จากข้อจำกัดการฟื้นตัวที่มากขึ...
SCB EIC ปรับลดเป้าเศรษฐกิจไทยปี 2024 เหลือ 2.5% จากข้อจำกัดการฟื้นตัวที่มากขึ...
SCBEICSCB
 
In focus-Hotel transformation-20240523.pdf
In focus-Hotel transformation-20240523.pdfIn focus-Hotel transformation-20240523.pdf
In focus-Hotel transformation-20240523.pdf
SCBEICSCB
 
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
SCBEICSCB
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCBEICSCB
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCBEICSCB
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
SCBEICSCB
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
SCBEICSCB
 
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfCLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
SCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
SCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
SCBEICSCB
 
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCBEICSCB
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24
SCBEICSCB
 
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
SCBEICSCB
 
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นเมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
SCBEICSCB
 
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfIn focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
SCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023
SCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงอุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
SCBEICSCB
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
SCBEICSCB
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
SCBEICSCB
 
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCBEICSCB
 

More from SCBEICSCB (20)

SCB EIC ปรับลดเป้าเศรษฐกิจไทยปี 2024 เหลือ 2.5% จากข้อจำกัดการฟื้นตัวที่มากขึ...
SCB EIC ปรับลดเป้าเศรษฐกิจไทยปี 2024 เหลือ 2.5% จากข้อจำกัดการฟื้นตัวที่มากขึ...SCB EIC ปรับลดเป้าเศรษฐกิจไทยปี 2024 เหลือ 2.5% จากข้อจำกัดการฟื้นตัวที่มากขึ...
SCB EIC ปรับลดเป้าเศรษฐกิจไทยปี 2024 เหลือ 2.5% จากข้อจำกัดการฟื้นตัวที่มากขึ...
 
In focus-Hotel transformation-20240523.pdf
In focus-Hotel transformation-20240523.pdfIn focus-Hotel transformation-20240523.pdf
In focus-Hotel transformation-20240523.pdf
 
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
 
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfCLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
 
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24
 
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
 
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นเมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
 
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfIn focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
 
Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023
 
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงอุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
 
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
 

มูลค่าอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2566 มีแนวโน้มขยายตัว จับตาความท้าทายต้นทุนสูง ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง และแรงกดดันจากเทรนด์ ESG

  • 1. SCB EIC Industry insight Construction outlook 2023 มูลค่าอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัว จับตาความท้าทายต้นทุนสูง ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง และแรงกดดันจากเทรนด์ ESG May 2023
  • 2. The information contained in this report has been obtained from sources believed to be reliable. However, neither we nor any of our respective affiliates, employees or representatives make any representation or warranty, express or implied, as to the accuracy or completeness of any of the information contained in this report, and we and our respective affiliates, employees or representatives expressly disclaim any and all liability relating to or resulting from the use of this report or such information by the recipient or other persons in whatever manner. Any opinions presented herein represent our subjective views and our current estimates and judgments based on various assumptions that may be subject to change without notice, and may not prove to be correct. This report is for the recipient’s information only. It does not represent or constitute any advice, offer, recommendation, or solicitation by us and should not be relied upon as such. We, or any of our associates, may also have an interest in the companies mentioned here in. SCB EIC Industry insight : Construction Contents Key Summary หน้า 03 การก่อสร้างภาครัฐ หน้า 07 ภาพรวมภาคก่อสร้าง หน้า 04 ความท้าทายของ อุตสาหกรรมก่อสร้าง และการปรับกลยุทธ์ หน้า 22 การก่อสร้างภาคเอกชน หน้า 15
  • 3. 3 SCB EIC Industry insight : Construction มูลค่าการก่อสร้างภาครัฐในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัว +3%YOY แตะระดับ 817,000 ล้านบาท จากโครงการเมกะโปรเจกต์ที่มีการก่อสร้างต่อเนื่องจากในอดีตมีความคืบหน้า รวมถึงยังมี การประมูล และก่อสร้างโครงการใหม่ ๆ อีกทั้ง งบลงทุนในงบประมาณประจาปี 2023 เพิ่มขึ้น +6%YOY และอัตราการเบิกจ่ายงบลงทุนสะสมตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ 2023 ถึง ณ สิ้นเดือน มี.ค. 2023 ยังสูงกว่าปีงบประมาณที่ผ่านมา อย่างไรก็ตาม ยังมีปัจจัยท้าทายด้านความล่าช้าในการอนุมัติโครงการก่อสร้างภาครัฐใหม่ ๆ จากการจัดตั้งรัฐบาลใหม่หลังการเลือกตั้ง รวมถึงการ จัดทางบประมาณประจาปี 2024 ที่อาจล่าช้าออกไปหลังไตรมาสที่ 4 ของปี 2023 และอาจมีผลต่อเนื่องไปยังการเริ่มดาเนินโครงการก่อสร้างภาครัฐในปี 2024 ในระยะปานกลาง ภาครัฐยังมีแผนลงทุนในโครงการเมกะโปรเจกต์ เช่น โครงสร้างพื้นฐาน การคมนาคม โครงข่ายทางหลวง โครงข่ายระบบราง อย่างไรก็ดี ยังต้องติดตามการประมูล และการเริ่มก่อสร้างโครงการเมกะโปรเจกต์ใหม่ ๆ ที่อาจล่าช้าออกไป Key Summary มูลค่าการก่อสร้างภาคเอกชนในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัวมาอยู่ที่ 586,000 ล้านบาท (+3%YOY) โดยเป็นการขยายตัวของมูลค่าการก่อสร้างที่อยู่อาศัยแนวราบ กลุ่มบ้านเดี่ยว และคอนโดมิเนียม รวมถึงอสังหาริมทรัพย์เชิงพาณิชย์ ได้แก่ อาคารสานักงาน และพื้นที่ค้าปลีก รวมถึงการ Renovate พื้นที่ค้าปลีกและโรงแรม เพื่อรองรับการฟื้นตัวของกาลังซื้อ ในประเทศ และนักท่องเที่ยวต่างชาติ ในระยะปานกลาง พื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างที่อยู่อาศัยที่ขยายตัวในปี 2022 ประกอบกับพื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างอาคารสานักงาน พื้นที่ค้าปลีก และโรงงานอุตสาหกรรมที่ขยายตัวในปี 2021 จะหนุนกิจกรรมการก่อสร้างภาคเอกชนทั้งในปี 2023 และระยะข้างหน้า ทั้งในกรุงเทพฯ ปริมณฑล และภูมิภาค อย่างไรก็ตาม ยังต้องจับตาภาวะ Oversupply ที่อาจทาให้มีความเสี่ยง ของการเลื่อน / ยกเลิกโครงการที่ไม่มีศักยภาพออกไป โดยเฉพาะโครงการก่อสร้างอาคารสานักงานในบางพื้นที่ ภาคก่อสร้างยังเผชิญความท้าทายทั้งในปี 2023 และในระยะปานกลาง ทั้งต้นทุนก่อสร้างยังอยู่ในระดับสูง ความเสี่ยงด้านสภาพคล่องทางการเงิน และแรงกดดันจากเทรนด์ ESG ที่ส่งผลให้ผู้ประกอบการรับเหมาก่อสร้างต้องปรับกลยุทธ์รับมือ ได้แก่ 1) การเพิ่มโอกาสในการสร้างรายได้ และควบคุมต้นทุนก่อสร้าง ด้วยการพัฒนาศักยภาพ และร่วมมือกับพันธมิตร เพื่อเข้าประมูลงานก่อสร้างได้อย่างหลากหลาย ระมัดระวังการเข้า ประมูลแบบแข่งขันด้านราคา ร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐและเอกชน (PPP) รวมถึงทาสัญญาสั่งซื้อวัสดุก่อสร้างล่วงหน้า ให้สอดคล้องกับความต้องการใช้ 2) การบริหารสภาพคล่องทางการเงิน โดยปรับสัดส่วนการรับงานก่อสร้างภาครัฐ และเอกชนให้เหมาะสม รวมถึงดาเนินการก่อสร้างให้แล้วเสร็จตามแผน เพื่อให้สามารถเบิกจ่ายได้ตามกาหนด 3) ตอบโจทย์เทรนด์ ESG ด้วยการหาพันธมิตรวัสดุก่อสร้างที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน และลงทุนนาเทคโนโลยีก่อสร้างมาใช้
  • 5. 5 SCB EIC Industry insight : Construction ภาพรวมมูลค่าอุตสาหกรรมก่อสร้างในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัว +3%YOY แตะระดับ 1.4 ล้านล้านบาท จากการก่อสร้างภาครัฐ และภาคเอกชนขยายตัว แต่ยังเผชิญความท้าทายทั้งในปี 2023 และในระยะปานกลาง ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ • มูลค่าการก่อสร้างภาครัฐในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัว +3%YOY แตะระดับ 817,000 ล้านบาท จากโครงการเมกะโปรเจกต์ที่มีการก่อสร้างต่อเนื่องจากในอดีต มีความคืบหน้า รวมถึงยังมีการประมูล และก่อสร้างโครงการใหม่ ๆ อีกทั้ง งบลงทุนในงบประมาณประจาปี 2023 เพิ่มขึ้น +6%YOY • มูลค่าการก่อสร้างภาคเอกชนในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่องมาอยู่ที่ 586,000 ล้านบาท (+3%YOY) โดยการเปิดตัวโครงการที่อยู่อาศัยใหม่ และการก่อสร้างโครงการ อสังหาริมทรัพย์เชิงพาณิชย์ขนาดใหญ่ยังดาเนินอย่างต่อเนื่อง รวมถึงยังมีการ Renovate พื้นที่ค้าปลีกและโรงแรม • ภาคก่อสร้างยังเผชิญความท้าทายทั้งในปี 2023 และในระยะปานกลาง ได้แก่ 1) ต้นทุน ก่อสร้างยังอยู่ในระดับสูง 2) ความเสี่ยงด้านสภาพคล่องทางการเงิน และ 3) แรงกดดัน จากเทรนด์ ESG ที่ส่งผลให้ผู้ประกอบการรับเหมาก่อสร้างต้องปรับกลยุทธ์รับมือต่อความ ท้าทายดังกล่าว 2016 586 527 529 685 2017 562 726 802 707 2018 2019 555 756 2020 501 2021 569 1,160 1,212 796 1,223 2022 817 1,269 2023F 571 494 2014 524 2015 630 560 996 1,297 1,312 1,362 1,364 1,403 699 +5% +1% +4% +0.2% +3% ภาคเอกชน ภาครัฐ Indicator (%YOY) 2015-19 2020 2021 2022 2023F ภาครัฐ +8%CAGR +4% +6% -0.8% +3% ภาคเอกชน +3%CAGR -3% +1% +2% +3% ภาพรวมมูลค่าอุตสาหกรรมก่อสร้างในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัว +3%YOY แตะระดับ 1.4 ล้านล้านบาท มูลค่าการก่อสร้างภาครัฐ และภาคเอกชน หน่วย : พันล้านบาท
  • 6. 6 SCB EIC Industry insight : Construction การขยายตัวของมูลค่าการลงทุนภาครัฐ และภาคเอกชนในปี 2023 จะเป็นปัจจัยหนุนมูลค่าการก่อสร้าง ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ การขยายตัวของมูลค่าการลงทุนภาครัฐ และภาคเอกชนในปี 2023 จะเป็นปัจจัยหนุนมูลค่าการก่อสร้าง • การขยายตัวของมูลค่าการลงทุนภาครัฐ จะเป็นปัจจัยหนุนมูลค่าการก่อสร้างภาครัฐในปี 2023 รวมถึงในระยะข้างหน้า ภาครัฐยังมีแผนลงทุนในโครงการเมกะโปรเจกต์ทั้งใน กรุงเทพฯ ปริมณฑล และภูมิภาค โดยเฉพาะ EEC เช่น โครงสร้างพื้นฐาน การคมนาคม โครงข่ายทางหลวง โครงข่ายระบบราง อย่างไรก็ตาม ยังต้องติดตามการประมูล และการเริ่มก่อสร้างโครงการเมกะโปรเจกต์ใหม่ ๆ ที่อาจล่าช้าออกไป รวมถึงทิศทางนโยบายการลงทุนโครงการก่อสร้างภาครัฐ และโครงการ เมกะโปรเจกต์ของรัฐบาลใหม่หลังการเลือกตั้ง • การขยายตัวของมูลค่าการลงทุนภาคเอกชน จะเป็นปัจจัยหนุนมูลค่าการก่อสร้าง ภาคเอกชนในปี 2023 โดยเป็นการขยายตัวไปตามภาคอสังหาริมทรัพย์ ทั้งที่อยู่อาศัย และพาณิชยกรรม ทั้งในกรุงเทพฯ ปริมณฑล และภูมิภาค โดยพื้นที่ขออนุญาตก่อสร้าง ที่อยู่อาศัยขยายตัวในปี 2022 ประกอบกับพื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างอาคารสานักงาน และพื้นที่ค้าปลีกที่ขยายตัวในปี 2021 จะหนุนกิจกรรมการก่อสร้างภาคเอกชนทั้งในปี 2023 และระยะข้างหน้า อย่างไรก็ตาม ยังต้องจับตาภาวะ Oversupply ที่อาจทาให้มีความเสี่ยงของการเลื่อน / ยกเลิกโครงการที่ไม่มีศักยภาพออกไป โดยเฉพาะโครงการก่อสร้างอาคารสานักงาน ในบางพื้นที่ อัตราการขยายตัวของมูลค่าการลงทุนภาครัฐ และภาคเอกชน หน่วย : %YOY การลงทุนภาครัฐ การลงทุนภาคเอกชน -5 0 5 10 -5 0% 2022 2020 2019 5% 3% 2021 2% 2023F -10 0 -5 10 5 5% 2021 3% 2019 -8% 2020 3% 2022 3% 2023F
  • 7. การก่อสร้างภาครัฐ มูลค่าการก่อสร้างภาครัฐในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัว +3%YOY แต่ยังมีปัจจัยท้าทายด้านความล่าช้าในการอนุมัติโครงการก่อสร้างภาครัฐใหม่ ๆ ที่มูลค่าโครงการสูง หลังการประกาศยุบสภา และการจัดตั้งรัฐบาลใหม่หลังการเลือกตั้งรวมถึงการจัดทางบประมาณประจาปี 2024 ที่อาจล่าช้าออกไปหลังไตรมาสที่ 4 ของปี 2023
  • 8. 8 SCB EIC Industry insight : Construction มูลค่าการก่อสร้างภาครัฐในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัว +3%YOY แตะระดับ 817,000 ล้านบาท แต่ยังมีปัจจัย ท้าทายด้านความล่าช้าในการอนุมัติโครงการก่อสร้างภาครัฐใหม่ ๆ ที่มูลค่าโครงการสูง หลังการประกาศยุบสภา ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ มูลค่าการก่อสร้างภาครัฐ หน่วย : พันล้านบาท • มูลค่าการก่อสร้างภาครัฐในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัว +3%YOY แตะระดับ 817,000 ล้านบาท จากโครงการเมกะโปรเจกต์ที่มีการก่อสร้างต่อเนื่องจากในอดีตมีความคืบหน้า รวมถึงยังมีการประมูล และก่อสร้างโครงการใหม่ ๆ อีกทั้ง งบลงทุนในงบประมาณประจาปี 2023 เพิ่มขึ้น +6%YOY และอัตราการเบิกจ่ายงบลงทุนสะสมตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ 2023 ถึง ณ สิ้นเดือน มี.ค. 2023 ยังสูงกว่าปีงบประมาณที่ผ่านมา • แต่ยังมีปัจจัยท้าทายด้านความล่าช้าในการอนุมัติโครงการก่อสร้างภาครัฐใหม่ ๆ ที่มูลค่า โครงการสูงหลังการประกาศยุบสภา และการจัดตั้งรัฐบาลใหม่หลังการเลือกตั้ง รวมถึงการ จัดทางบประมาณประจาปี 2024 ที่อาจล่าช้าออกไปหลังไตรมาสที่ 4 ของปี 2023 และอาจมี ผลต่อเนื่องไปยังการเริ่มดาเนินโครงการก่อสร้างภาครัฐในปี 2024 อย่างไรก็ดี ยังสามารถ ใช้กรอบของปีงบประมาณปี 2023 ไปพลางก่อนได้ โครงการก่อสร้างทั่วไป เมกะโปรเจกต์คมนาคม %YOY 2021 2022 2023F +1% -6% -13% +38% +20% +54% 2020 156 2021 609 2022 287 530 2023F 817 186 726 647 171 555 2019 796 113 643 756 802 +4% +6% -1% +3%
  • 9. 9 SCB EIC Industry insight : Construction มูลค่าการก่อสร้างโครงการเมกะโปรเจกต์ส่วนใหญ่ยังมาจากโครงการที่มีการก่อสร้างต่อเนื่องจากในอดีต ที่มีความคืบหน้า อีกทั้ง ในปี 2023 จะมีการเริ่มประมูล และก่อสร้างโครงการเมกะโปรเจกต์ใหม่ ๆ มูลค่าการก่อสร้างโครงการเมกะโปรเจกต์ หน่วย : พันล้านบาท ตัวอย่าง New project มูลค่าการลงทุน (พันล้านบาท) รถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน 225 รถไฟทางคู่ เฟส 2 ขอนแก่น-หนองคาย 30 รถไฟฟ้าสายสีแดงอ่อน ช่วงตลิ่งชัน-ศาลายา 11 รถไฟฟ้าสายสีแดงเข้ม ช่วงรังสิต-มธ. ศูนย์รังสิต 6.5 รถไฟฟ้าสายสีแดงอ่อน ช่วงตลิ่งชัน-ศิริราช 4.7 รถไฟฟ้าสีแดงอ่อน ช่วงบางซื่อ-พญาไท-มักกะสัน- หัวหมาก และสีแดงเข้ม ช่วงบางซื่อ-หัวลาโพง 47 มาบตาพุด เฟส 3 ช่วงที่ 2 48 ขยายท่าอากาศยานดอนเมือง เฟส 3 36 อาคารผู้โดยสารสนามบินสุวรรณภูมิ ส่วนต่อขยายด้านทิศ ตะวันออก 7.8 ส่วนต่อขยายทางยกระดับอุตราภิมุข (ดอนเมืองโทลล์เวย์) (M5) ช่วงรังสิต-บางปะอิน 31 ทางพิเศษฉลองรัชส่วนต่อขยาย ช่วงจตุโชติ-ถนนลาลูกกา 24 ทางพิเศษสายกะทู้-ป่าตอง จ.ภูเก็ต 15 ทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข 7 ส่วนต่อขยายเข้า สนามบินอู่ตะเภา 4.4 151 25% 75% 2019 2021 2020 2022 2023F 287 186 171 113 +23% +54% New On-going ตัวอย่าง On-going project มูลค่าการลงทุน (พันล้านบาท) รถไฟความเร็วสูงกรุงเทพฯ-หนองคาย ช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา 179 รถไฟทางคู่ เฟส 1, 5 เส้นทาง 140 แหลมฉบัง เฟส 3 ท่าเทียบเรือ F 84 รถไฟฟ้าสีม่วงใต้ ช่วงเตาปูน-ราษฎร์บูรณะ 78 รถไฟทางคู่สายเหนือ ช่วงเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ 73 รถไฟทางคู่สายอีสาน ช่วงบ้านไผ่-มุกดาหาร-นครพนม 55 มอเตอร์เวย์บางใหญ่-กาญจนบุรี 56 ทางด่วนพระราม 3-ดาวคะนอง 30 มอเตอร์เวย์บางขุนเทียน-บ้านแพ้ว ช่วงบางขุนเทียน-เอกชัย และช่วงเอกชัย-บ้านแพ้ว 29 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ รันเวย์ที่ 3 28 ทางด่วนพระราม 3-ดาวคะนอง สัญญา 1 และ 3 15 ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย, การรถไฟแห่งประเทศไทย, กระทรวงคมนาคม, บมจ. ท่าอากาศยานไทย และสานักข่าว
  • 10. 10 SCB EIC Industry insight : Construction ในปี 2023 ยังมีปัจจัยท้าทายด้านความล่าช้าในการอนุมัติโครงการก่อสร้างภาครัฐใหม่ ๆ หลังการประกาศยุบสภา และการจัดตั้งรัฐบาลใหม่ โดยมีการเร่งดาเนินการอนุมัติโครงการก่อนยุบสภา โดยเฉพาะโครงการคมนาคม ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักข่าว • ความล่าช้าในการอนุมัติโครงการก่อสร้างใหม่ ๆ ที่มูลค่าโครงการสูง • การจัดทางบประมาณประจาปี 2024 และการเบิกจ่าย ที่อาจล่าช้า ออกไปหลังไตรมาสที่ 4 ของปี 2023 อาจส่งผลให้มูลค่าการก่อสร้าง ภาครัฐในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี 2023 มีแนวโน้มชะลอลง และอาจมีผลต่อเนื่องไปยังการเริ่มดาเนินโครงการก่อสร้างภาครัฐ และการเบิกจ่ายในปี 2024 • อย่างไรก็ดี ยังสามารถใช้กรอบของปีงบประมาณปี 2023 ไปก่อนได้ และคาดว่าสามารถเร่งรัดการเบิกจ่ายให้อยู่ในปีงบประมาณ ปี 2024 ปัจจัยท้าทายจากการจัดตั้งรัฐบาลใหม่ : ความล่าช้า ในการอนุมัติโครงการก่อสร้างภาครัฐใหม่ ๆ หลังการ ประกาศยุบสภา และการจัดตั้งรัฐบาลใหม่หลังการเลือกตั้ง รัฐบาลเร่งดาเนินการอนุมัติโครงการก่อนยุบสภา ตัวอย่างโครงการที่ ครม. อนุมัติแล้ว มูลค่าการลงทุน (พันล้านบาท) ทางพิเศษฉลองรัชส่วนต่อขยาย ช่วงจตุโชติ-ถนนลาลูกกา 24 ทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข 7 ส่วนต่อขยายเข้า สนามบินอู่ตะเภา 4.4 โครงการให้บริการลานจอดและอุปกรณ์ภาคพื้น การให้บริการผู้โดยสารภาคพื้นและกิจการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ของผู้ประกอบการรายที่ 3 (สุวรรณภูมิ) 1.6 โครงการให้บริการคลังสินค้า ของผู้ประกอบการรายที่ 3 (สุวรรณภูมิ) 1.3
  • 11. 11 SCB EIC Industry insight : Construction อย่างไรก็ดี อัตราการเบิกจ่ายตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ 2023 จนถึงในช่วงก่อนการประกาศยุบสภา ยังอยู่ในระดับสูงกว่าปีงบประมาณที่ผ่านมา ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงบประมาณ และกรมบัญชีกลาง งบประมาณของ 4 หน่วยงานหลักที่ลงทุนภาคก่อสร้าง หน่วย : พันล้านบาท อัตราการเบิกจ่ายงบลงทุนสะสมของหน่วยงานกลางโดยรวม หน่วย : % กรมทางหลวง 120 113 100 108 -10% +5% FY2020 FY2021 FY2022 FY2023 กรมชลประทาน 70 59 66 71 +6% +1% กรมทางหลวงชนบท 43 47 44 46 -6% +3% กรมโยธาธิการและผังเมือง 23 28 30 31 +9% +4% 0% 20 40 60 80 Mar Jan 75% Oct Nov Dec Feb May Apr Jun Jul Aug Sep 38% FY2019 FY2021 FY2020 FY2022 FY2023 หน่วยงาน ที่ใช้งบลงทุนในระดับสูง สิ้น ก.ย. สิ้น มี.ค. 2019 2020 2021 2022 2022 2023 กรมทางหลวง 74% 77% 86% 90% 32% 43% กรมทางหลวงชนบท 87% 82% 89% 91% 34% 36% กรมชลประทาน 81% 81% 82% 83% 37% 42% กรมโยธาธิการและผังเมือง 66% 65% 62% 47% 24% 20% อัตราการเบิกจ่ายงบลงทุนสะสมตั้งแต่ต้น ปีงบประมาณ 2023 ถึง ณ สิ้นเดือน มี.ค. 2023 ยังอยู่ในระดับสูงกว่าปีงบประมาณที่ผ่านมา ช่วยหนุนการก่อสร้างภาครัฐในช่วงก่อนการประกาศ ยุบสภา และการจัดตั้งรัฐบาลใหม่
  • 12. 12 SCB EIC Industry insight : Construction อีกทั้ง ยังมีการเร่งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่ง เพื่อรองรับการฟื้นตัวของการลงทุน และภาคการท่องเที่ยว ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน และกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา โครงการด้านคมนาคมขนส่ง เพื่อรองรับการฟื้นตัวของการลงทุน โครงการด้านคมนาคมขนส่ง เพื่อรองรับการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว ทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข 7 ส่วนต่อขยายเข้าสนามบินอู่ตะเภา (มูลค่า 4,400 ล้านบาท) ครม. อนุมัติหลักการร่างพระราชกฤษฎีกากาหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืนแล้ว มูลค่าการอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุนโดย BOI ใน EEC หน่วย : พันล้านบาท 96 101 127 88 68 80 20 20 0 50 200 100 250 150 2021 2022 189 2020 14 204 221 +17% ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง โครงการขยายท่าอากาศยานดอนเมือง เฟส 3 (มูลค่า 36,000 ล้านบาท) ครม. อนุมัติแล้วเมื่อ พ.ย. 2022 คาดเปิดประมูลงานก่อสร้างปี 2023 อาคารผู้โดยสารสนามบินสุวรรณภูมิ ส่วนต่อ ขยายด้านทิศตะวันออก (มูลค่า 7,800 ล้านบาท) เสนอบอร์ด ทอท. ภายใน มี.ค. 2023 ก่อนเสนอ สศช. และ ครม.รับทราบ คาดเปิดประมูล และได้ ผู้ชนะประมูลภายในปี 2023 โครงการให้บริการลานจอดและอุปกรณ์ภาคพื้น การให้บริการผู้โดยสารภาคพื้นและกิจการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องของผู้ประกอบการรายที่ 3 (สุวรรณภูมิ) (มูลค่า 1,600 ล้านบาท) โครงการให้บริการคลังสินค้า ของผู้ประกอบการ รายที่ 3 (สุวรรณภูมิ) (มูลค่า 1,300 ล้านบาท) ครม. อนุมัติให้ ทอท. ดาเนินโครงการแล้ว (PPP Net Cost) คาด มิ.ย.-ก.ค. 2023 ประกาศเชิญชวน เอกชนและร่างสัญญาร่วมลงทุน จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ หน่วย : ล้านคน 38.2 6.7 0 10 20 30 40 50 0.4 2022 11.2 39.9 35.6 2017 2020 2018 2021 2019 11.2 30.0 2023F
  • 13. 13 SCB EIC Industry insight : Construction ภาครัฐยังให้ความสาคัญกับโครงการบริหารจัดการน้า และฟื้นฟูหลังอุทกภัย โดยกระจายงบประมาณไปยัง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สะท้อนโอกาสผู้รับเหมาท้องถิ่นในการรับงานก่อสร้างโครงการขนาดกลางและเล็ก ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงบประมาณ, มติ ครม. วันที่ 9 ส.ค. 2022, 14 ก.พ. 2023 และ 7 มี.ค. 2023 งบประมาณแผนปฏิบัติการด้านทรัพยากรน้า ประจาปีงบประมาณ 2023 2,297 1,190 23 433 76 4,020 ล้านบาท มหาดไทย เกษตรและสหกรณ์ กลาโหม ทรัพยากรธรรมชาติฯ การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ฯ เทศบาลนคร 880.0 องค์การบริหารส่วนจังหวัด 611.7 องค์การบริหารส่วนตาบล 610.5 เทศบาลตาบล 166.2 จังหวัด 24.8 เทศบาลเมือง 3.50 กรมโยธาธิการและผังเมือง 61.0 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 30.1 กรุงเทพมหานคร 22.5 อื่น ๆ 28.4 ล้านบาท พันล้านบาท 159 6 142 22 5 เกษตรและสหกรณ์ มหาดไทย ทรัพยากรธรรมชาติฯ อื่น ๆ คมนาคม 334 พันล้านบาท งบประมาณโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรน้าในช่วงฤดูฝนปี 2022 และการกักเก็บน้าเพื่อฤดูแล้งปี 2022-2023 14 ก.พ. 2023 : ครม. มีมติอนุมัติการขอรับการจัดสรรงบประมาณ รายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2023 งบกลาง รายการเงินสารองจ่าย เพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจาเป็น ตามที่กระทรวงคมนาคมเสนอ เพื่อจัดสรรให้กรมทางหลวง และกรมทางหลวงชนบท ฟื้นฟู โครงสร้างพื้นฐานที่ได้รับความเสียหายจากอุทกภัย และภัยพิบัติ 3,787 ล้านบาท 175 รายการ 32 จังหวัด 7 มี.ค. 2023 : ครม. มีมติอนุมัติการขอรับการจัดสรรงบประมาณ รายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2023 งบกลาง รายการเงินสารองจ่าย เพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจาเป็น ตามที่กระทรวงมหาดไทยเสนอ เพื่อก่อสร้าง/ปรับปรุง ซ่อมแซมถนน แหล่งกักเก็บน้า หรือสิ่ง สาธารณประโยชน์อื่น ๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบคลุมทั้งในระดับ อบจ. เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตาบล และ อบต. ซึ่งได้รับความเสียหายจาก สาธารณภัย 8,172 ล้านบาท 2,765 โครงการ 67 จังหวัด
  • 14. 14 SCB EIC Industry insight : Construction ภาครัฐมีแผนโครงการเมกะโปรเจกต์ทั้งในกรุงเทพฯ ปริมณฑล และภูมิภาค ซึ่งจะมีการทยอยลงทุน ตั้งแต่ปี 2024 เป็นต้นไป คิดเป็นมูลค่าโครงการโดยรวมไม่ต่ากว่า 9 แสนล้านบาท ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย, การรถไฟแห่งประเทศไทย, กระทรวงคมนาคม, บมจ. ท่าอากาศยานไทย และสานักข่าว รถไฟทางคู่ เฟส 2 มูลค่าการลงทุน (พันล้านบาท) ปากน้าโพ-เด่นชัย 63 เด่นชัย-เชียงใหม่ 57 ขอนแก่น-หนองคาย 30 ชุมทางถนนจิระ-อุบลราชธานี 38 ชุมพร-สุราษฎร์ธานี 24 สุราษฎร์ธานี-ชุมทางหาดใหญ่-สงขลา 57 หาดใหญ่-ปาดังเบซา 7 รถไฟฟ้า มูลค่าการลงทุน (พันล้านบาท) สายสีน้าตาล ช่วงแคราย - ลาสาลี (บึงกุ่ม) 48 สายสีเทา ช่วงวัชรพล-ทองหล่อ 27 สายสีฟ้า ช่วงดินแดง-สาทร N/A ส่วนต่อขยายสายสีน้าเงิน (บางแค-พุทธมณฑล สาย 4) สายสีเขียว (สมุทรปราการ-บางปู) สายสีเขียว (คูคต-ลาลูกกา) สายสีแดง (หัวลาโพง- มหาชัย) สายสีทอง (คลองสาน-ประชาธิปก) สายสีเหลือง (แยกรัชดา-แยกรัชโยธิน) N/A ระบบขนส่งมวลชน จ.ภูเก็ต เฟส 1 ช่วงท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ต–ห้าแยกฉลอง 35 ระบบขนส่งมวลชน จ.เชียงใหม่ (สายสีแดง) ช่วงโรงพยาบาลนครพิงค์-แยกแม่เหียะสมาน สามัคคี 26 ระบบขนส่งมวลชน จ.นครราชสีมา (สายสีเขียว) ช่วงตลาดเซฟวัน-สถานคุ้มครองและพัฒนา อาชีพบ้านนารีสวัสดิ์ 7.1 ระบบขนส่งมวลชน จ.พิษณุโลก (สายสีแดง) 1.6 รถไฟความเร็วสูง กรุงเทพฯ-พิษณุโลก (380 กม.) กรุงเทพฯ-หัวหิน (211 กม.) พิษณุโลก-เชียงใหม่ (288 กม.) หัวหิน-สุราษฎร์ธานี (424 กม.) สุราษฎร์ธานี-ปาดังเบซาร์ (335 กม.) สนามบิน มูลค่าการลงทุน (พันล้านบาท) ขยายท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ด้านทิศเหนือ 41 อาคารผู้โดยสารสนามบินสุวรรณภูมิ ส่วนต่อขยายด้านทิศตะวันตก 7 สนามบินภูเก็ต หรือพังงา แห่งที่ 2 101 สนามบินเชียงใหม่ แห่งที่ 2 69 สนามบินภูเก็ต เฟส 2 6.2 มอเตอร์เวย์ / ทางด่วน / สะพาน มูลค่าการลงทุน (พันล้านบาท) สะพานเศรษฐกิจเชื่อมฝั่งทะเลอ่าวไทย-อันดามัน (Land bridge ชุมพร-ระนอง) 100 มอเตอร์เวย์สายนครปฐม-ชะอา 76 ทางด่วนศรีนครินทร์-สุวรรณภูมิ 36 ทางพิเศษสายเมืองใหม่-เกาะแก้ว-กะทู้ จ.ภูเก็ต 30 สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 6 (อุบลราชธานี-สาละวัน) จ.อุบลราชธานี 4.8 สะพานข้ามแม่น้าโก-ลก แห่งที่ 2 ที่อาเภอสุไหงโก-ลก จ.นราธิวาส N/A สะพานข้ามแม่น้าโก-ลก ที่อาเภอตากใบ จ.นราธิวาส N/A
  • 15. การก่อสร้างภาคเอกชน มูลค่าการก่อสร้างภาคเอกชนในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัว +3%YOY จากการขยายตัวของการก่อสร้างที่อยู่อาศัย และอสังหาริมทรัพย์เชิงพาณิชย์ โดยพื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างที่อยู่อาศัยขยายตัวในปี 2022 ประกอบกับพื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างอาคารสานักงาน พื้นที่ค้าปลีก และโรงงานอุตสาหกรรมที่ขยายตัวในปี 2021 จะหนุนกิจกรรมการก่อสร้างภาคเอกชนทั้งในปี 2023 และระยะข้างหน้า
  • 16. 16 SCB EIC Industry insight : Construction มูลค่าการก่อสร้างภาคเอกชนในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัวมาอยู่ที่ 586,000 ล้านบาท (+3%YOY) จากการก่อสร้างอาคารที่อยู่อาศัย และอสังหาริมทรัพย์เชิงพาณิชย์ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ มูลค่าการก่อสร้างภาคเอกชน หน่วย : พันล้านบาท -2% +6% +7% +1% +13% +6% +5% -11% -7% ที่อยู่อาศัย อื่น ๆ เช่น โรงงาน โรงแรม คลังสินค้า อสังหาริมทรัพย์เชิงพาณิชย์ %YOY 2021 2022 2023F 100 2020 282 101 2021 297 115 157 107 122 146 318 2023F 560 2022 569 168 309 154 2019 177 287 571 555 586 -3% +1% +2% +3% มูลค่าการก่อสร้างภาคเอกชนในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัวมาอยู่ที่ 586,000 ล้านบาท (+3%YOY) • มูลค่าการก่อสร้างอาคารที่อยู่อาศัยมีแนวโน้มขยายตัว +7%YOY โดยเป็นการขยายตัว ของมูลค่าการก่อสร้างที่อยู่อาศัยแนวราบ กลุ่มบ้านเดี่ยว และการก่อสร้างคอนโดมิเนียม • มูลค่าการก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์เชิงพาณิชย์ ได้แก่ อาคารสานักงาน และพื้นที่ค้าปลีก มีแนวโน้มขยายตัว +6%YOY ไปตามโครงการขนาดใหญ่ ที่ยังมีการก่อสร้างอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการ Renovate พื้นที่ค้าปลีก และโรงแรม เพื่อรองรับการฟื้นตัวของกาลังซื้อ ในประเทศ และนักท่องเที่ยวต่างชาติ ในระยะปานกลาง มูลค่าการก่อสร้างภาคเอกชนขยายตัวได้อย่างต่อเนื่อง โดยพื้นที่ขออนุญาต ก่อสร้างที่อยู่อาศัยขยายตัวในปี 2022 ประกอบกับพื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างอาคารสานักงาน พื้นที่ค้าปลีก และโรงงานอุตสาหกรรมที่ขยายตัวในปี 2021 จะหนุนกิจกรรมการก่อสร้าง ภาคเอกชนทั้งในปี 2023 และระยะข้างหน้า อย่างไรก็ตาม ยังต้องจับตาภาวะ Oversupply ที่อาจทาให้เลื่อน / ยกเลิกโครงการที่ไม่มี ศักยภาพออกไป โดยเฉพาะโครงการก่อสร้างอาคารสานักงานในบางพื้นที่
  • 17. 17 SCB EIC Industry insight : Construction หน่วยที่อยู่อาศัยเปิดตัวใหม่ในปี 2023 ขยายตัวต่อเนื่องจากปี 2022 หนุนให้มูลค่าการก่อสร้างที่อยู่อาศัย ในปี 2023 ขยายตัว ทั้งการก่อสร้างที่อยู่อาศัยแนวราบ กลุ่มบ้านเดี่ยว และการก่อสร้างคอนโดมิเนียม ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ AREA มูลค่าการก่อสร้างที่อยู่อาศัย หน่วย : พันล้านบาท จานวนหน่วยที่อยู่อาศัยขายได้ และเปิดตัวใหม่ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล หน่วย : พันหน่วย %YOY 2021 2022 2023F +20% +62% +6% +22% -20% -3% +21% 0% -12% -23% -15% +24% บ้านเดี่ยว บ้านแฝด ทาวน์เฮาส์ คอนโดมิเนียม 24 66 29 62 153 61 58 55 174 2018 58 22 318 2023F 149 53 176 2019 2022 55 297 115 2020 35 27 66 2021 106 28 97 113 58 282 66 120 20 2017 59 297 313 309 287 -7% -2% +6% +7% 69 2018 54 2019 15 21 29 2020 19 26 107 2021 74 119 21 51 2022 2023F 25 29 29 98 15 19 31 65 97 +15% +31% +10% บ้านเดี่ยว+บ้านแฝด ทาวน์เฮาส์ คอนโดมิเนียม 2018 2020 18 32 32 74 54 66 2019 18 29 26 23 23 2021 25 2022 2023F 13 20 60 28 119 125 73 107 118 -17% +77% +10% ที่อยู่อาศัย ขายได้ ที่อยู่อาศัย เปิดตัวใหม่
  • 18. 18 SCB EIC Industry insight : Construction การเปิดโครงการใหม่ในต่างจังหวัดทยอยฟื้นตัว นาโดยโครงการแนวราบเป็นหลัก ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ REIC หน่วยที่อยู่อาศัยแนวราบเปิดตัวใหม่ใน 6 จังหวัดหลัก หน่วย : พันหน่วย หน่วยคอนโดเปิดตัวใหม่ใน 6 จังหวัดหลัก หน่วย : พันหน่วย 4 2 0 8 6 เชียงใหม่ ขอนแก่น นครราชสีมา ชลบุรี ระยอง ภูเก็ต +64% +61% +50% +46% -36% +96% 2019 2020 2021 2022 4 0 2 10 6 12 8 ภูเก็ต ชลบุรี เชียงใหม่ ขอนแก่น ระยอง นครราชสีมา +419% +314% +32% -57% -20% 2019 2020 2021 2022 ไม่มีการเปิดตัวใหม่ ในปี 2021 H2/22 7,764 2,513 4,294 13,474 10,189 3,645 H2/21 7,525 2,809 3,823 18,537 16,244 3,390 H2/22 1,213 1,055 893 15,633 742 2,524 H2/21 1,251 455 1,276 18,465 1,345 4,428 สต็อก (หน่วย) สต็อก (หน่วย)
  • 19. 19 SCB EIC Industry insight : Construction มูลค่าการก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์เชิงพาณิชย์ในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัวไปตามการก่อสร้างโครงการขนาดใหญ่ โดยการขยายสาขาของผู้ประกอบการค้าปลีกรายใหญ่ หนุนการก่อสร้างพื้นที่ค้าปลีกในต่างจังหวัด ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ CBRE มูลค่าการก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์เชิงพาณิชย์ หน่วย : พันล้านบาท Occupancy rate หน่วย : % พื้นที่ค้าปลีก : • อุปทานใหม่คาดว่าจะเพิ่มขึ้นมากกว่า 550,000 ตร. ม. โดยเฉพาะ โครงการขนาดใหญ่ในพื้นที่ Midtown และ Suburbs • การขยายสาขาของผู้ประกอบการค้าปลีกรายใหญ่ออกไปสู่จังหวัด หัวเมืองสาคัญที่มีศักยภาพ ทั้งรูปแบบพื้นที่ค้าปลีกโดยตรง และ โครงการ Mixed-use หนุนการก่อสร้างพื้นที่ค้าปลีกในต่างจังหวัด อาคารสานักงาน : • อุปทานพื้นที่ให้เช่าที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในอัตรา ที่มากกว่าการขยายตัวของความต้องการพื้นที่เช่า ซึ่งส่วนใหญ่ อยู่ในกลุ่มอาคารสานักงานเกรด A เป็นปัจจัยสาคัญที่กดดัน ตลาดสานักงานให้เช่าให้ฟื้นตัวได้อย่างจากัดในระยะต่อไป • อย่างไรก็ดี ยังต้องจับตาภาวะ Oversupply ที่อาจทาให้ Occupancy rate ลดลง ซึ่งจะกดดันต่อการปรับขึ้นอัตราค่าเช่า รวมถึงอาจมีการเลื่อน / ยกเลิกโครงการก่อสร้างอาคารสานักงาน ที่ไม่มีศักยภาพออกไป 85 85 82 77 78 93 99 14 17 26 23 23 21 22 2022 101 2023F 107 2021 2017 2018 2019 2020 98 102 100 115 122 +1% +13% +6% 0% -7% +5% +1% +19% +7% อาคารสานักงาน พื้นที่ค้าปลีก %YOY 2021 2022 2023F 85% 90% 75% 80% 95% 100% 70% 91% 92% 96% 86% 93% 2017 94% 93% 95% 95% 2018 2019 96% 2020 89% 95% 87% 2021 94% Q1/22 87% 95% Q2/22 95% Q3/22 85% Q4/22 อาคารสานักงาน พื้นที่ค้าปลีก
  • 20. 20 SCB EIC Industry insight : Construction มูลค่าการก่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรมในปี 2023 ขยายตัวต่อเนื่อง ขณะที่การก่อสร้างโรงแรมยังหดตัว ต่อเนื่อง ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน มูลค่าการก่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรม หน่วย : พันล้านบาท มูลค่าการอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุนโดย BOI หน่วย : พันล้านบาท มูลค่าการก่อสร้างโรงแรม หน่วย : พันล้านบาท สัดส่วนการอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุนโดย BOI ปี 2022 หน่วย : % 631 550 447 361 512 619 2022 2020 2017 2019 2018 2021 -19% +42% +21% 32 31 32 30 33 39 40 2019 2018 2017 2020 2023F 2022 2021 +11% +18% +2% 20 22 25 26 26 25 24 2023F 2018 2017 2022 2019 2021 2020 -1% -2% -4% 57% 25% 8% ตะวันออก กลาง ตะวันตก เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ 4% 2% 4% ใต้ โรงงานอุตสาหกรรม : • มูลค่าการก่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรมปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่องไปตามการลงทุน โดยเฉพาะในภาคตะวันออก • มาตรการดึงดูดการเข้ามาลงทุนตั้งฐานการผลิต โดยเฉพาะรถยนต์ EV จะมีส่วนช่วยหนุนการก่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรม ให้ขยายตัวต่อเนื่อง ทั้งในปี 2023 และในระยะข้างหน้า โรงแรม : • มูลค่าการก่อสร้างโรงแรมปี 2023 มีแนวโน้มหดตัวต่อเนื่องไปตามพื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างโรงแรม ที่ยังไม่สามารถฟื้นตัวได้ ตั้งแต่การแพร่ระบาดของ COVID-19 • นักลงทุนสนใจซื้อโรงแรมในไทยจากปัจจัยหนุนด้านการท่องเที่ยวที่มีแนวโน้มฟื้นตัวได้ดี ส่งผลให้ตลาดธุรกิจโรงแรมในปี 2023 จึงอยู่ในลักษณะการซื้อขาย และควบรวมกิจการมากกว่าการก่อสร้างโรงแรมใหม่
  • 21. 21 SCB EIC Industry insight : Construction พื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างที่อยู่อาศัยขยายตัวในปี 2022 ประกอบกับพื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างอาคารสานักงาน และพื้นที่ค้าปลีกที่ขยายตัวในปี 2021 จะหนุนกิจกรรมการก่อสร้างภาคเอกชนทั้งในปี 2023 และระยะข้างหน้า ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ REIC พื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างทั่วประเทศ หน่วย : ล้านตารางเมตร 1.7 2.3 1.1 1.3 1.2 2021 2020 2019 2018 2022 +18% -7% 4.4 4.0 3.8 3.3 2.4 38.5 36.7 32.2 32.3 33.7 2019 2018 2021 32.1 2020 36.1 2022 36.2 35.9 37.0 +3% +4% 7.3 6.5 5.8 7.7 5.2 2018 2019 2020 2021 2022 +32% -32% แนวราบ คอนโดมิเนียม ที่อยู่อาศัย อาคารสานักงาน 2.1 2.6 2.0 1.9 1.1 2018 2020 2019 2022 2021 -8% -42% 7.2 6.9 6.8 8.0 5.8 2018 2019 2020 2021 2022 +17% -27% โรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม พื้นที่ค้าปลีก • พื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างในปี 2022 ส่วนใหญ่หดตัว ยกเว้นที่อยู่อาศัย • อย่างไรก็ดี พื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างที่อยู่อาศัยขยายตัวในปี 2022 ประกอบกับพื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างอาคารสานักงาน พื้นที่ค้าปลีก และโรงงานอุตสาหกรรมที่ขยายตัวในปี 2021 จะหนุนกิจกรรมการ ก่อสร้างภาคเอกชนทั้งในปี 2023 และระยะข้างหน้า • พื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างโรงแรมยังไม่สามารถฟื้นตัวได้ตั้งแต่การแพร่ ระบาดของ COVID-19
  • 22. ความท้าทายของอุตสาหกรรมก่อสร้าง และการปรับกลยุทธ์ ภาคก่อสร้างยังเผชิญความท้าทายทั้งในปี 2023 และในระยะปานกลาง ได้แก่ 1) ต้นทุนก่อสร้างยังอยู่ในระดับสูง 2) ความเสี่ยงด้านสภาพคล่องทางการเงิน และ 3) แรงกดดันจากเทรนด์ ESG ที่ส่งผลให้ผู้ประกอบการรับเหมาก่อสร้างต้องปรับกลยุทธ์รับมือ
  • 23. 23 SCB EIC Industry insight : Construction ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC ต้นทุนก่อสร้างยังอยู่ในระดับสูง ความเสี่ยงด้านสภาพคล่องทางการเงิน แรงกดดันจากเทรนด์ ESG • ปี 2023 ผู้ประกอบการรับเหมาก่อสร้างเผชิญภาวะต้นทุน ก่อสร้างยังอยู่ในระดับสูง โดยราคาวัสดุก่อสร้าง เช่น เหล็ก ปูนซีเมนต์ มีแนวโน้มปรับตัวลดลงเล็กน้อย แต่ยังอยู่ใน ระดับสูง อีกทั้ง ราคาวัสดุก่อสร้างยังมีความผันผวนระหว่างปี • นอกจากนี้ จานวนแรงงานไทยในภาคก่อสร้างที่กลับมา ปรับตัวลดลง เป็นเหตุให้ค่าแรงงานในภาคก่อสร้างยังอยู่ใน ระดับสูง นามาซึ่งความเสี่ยงให้อัตรากาไรของผู้ประกอบการ ยังคงอยู่ในระดับต่าในปี 2023 • ธุรกิจรับเหมาก่อสร้างมีสัดส่วนกิจการที่มีอายุเกิน 10 ปี และ มี Interest coverage ratio <1 เป็นเวลา 3 ปีติดต่อกัน เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง หลังจากการแพร่ระบาดของ COVID-19 • นอกจากนี้ ในปี 2023 ผู้ประกอบการที่รับงานก่อสร้างภาครัฐ เป็นหลัก จะเผชิญปัจจัยท้าทายทั้งความล่าช้าในการอนุมัติ โครงการก่อสร้างภาครัฐที่มูลค่าสูงหลังการประกาศยุบสภา รวมถึงการจัดทางบประมาณประจาปี 2024 และการเบิกจ่าย ที่อาจล่าช้าออกไปหลังไตรมาสที่ 4 ของปี 2023 ส่งผลให้ เผชิญความเสี่ยงด้านสภาพคล่องทางการเงิน • แรงกดดันจากกฎระเบียบ และความเสี่ยงในการประกาศ ให้หยุดการก่อสร้างในบางช่วง • แรงกดดันจากคู่ค้า ลูกค้า และผู้บริโภค เช่น การใช้วัสดุ ก่อสร้างที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม Green supply chain ความต้องการที่อยู่อาศัย และอาคารที่สามารถรองรับภัยพิบัติ ที่รุนแรงขึ้น อาคารที่มีคุณสมบัติสอดคล้องตามมาตรฐาน อาคารที่ตอบโจทย์ด้านความยั่งยืน ความท้าทายของอุตสาหกรรมก่อสร้าง
  • 24. 24 SCB EIC Industry insight : Construction ในปี 2023 ราคาวัสดุก่อสร้าง เช่น เหล็ก ปูนซีเมนต์ มีแนวโน้มปรับตัวลดลงเล็กน้อย แต่ยังอยู่ในระดับสูง อีกทั้ง มีความผันผวนระหว่างปี จากปัจจัยด้านราคาพลังงาน การเปิดประเทศจีน และอัตราแลกเปลี่ยน ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งประเทศไทย, สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม และกระทรวงพาณิชย์ ราคาปูนซีเมนต์ หน่วย : พันบาท/ตัน ดัชนีราคาขายส่งวัสดุก่อสร้างในกรุงเทพฯ-ปริมณฑล หน่วย : %YOY ราคาเหล็กทรงยาวไทย หน่วย : บาท/กิโลกรัม 19.5 19.6 25.3 24.6 21.2 17.6 2017 2018 2019 2020 2021 26.5 26.5 2022 2023F +44% +5% -7% 1.55 1.70 1.73 1.63 2018 2023F 2017 2019 1.76 2020 2021 1.88 1.88 2022 1.82 +16% -3% 0.6 0 10 15 -10 -5 5 01/19 01/18 01/16 07/16 01/17 07/17 07/18 07/19 01/20 03/23 07/20 01/21 07/21 01/22 07/22 01/23 2019 2021 2022 %YOY -2% +8% +6% ปัจจัยที่ส่งผลให้ราคาวัสดุ ก่อสร้างผันผวนในปี 2023 ปัญหาภูมิรัฐศาสตร์โลก และสภาพ อากาศโลกที่แปรปรวน ที่จะส่งผล ต่อราคาพลังงาน การเปิดประเทศจีน ที่จะส่งผลต่อ ราคาเหล็กจีน และเหล็กไทย อัตราแลกเปลี่ยน ที่จะส่งผลต่อราคาวัสดุ ก่อสร้างนาเข้า 1. ต้นทุนก่อสร้างยังอยู่ในระดับสูง
  • 25. 25 SCB EIC Industry insight : Construction ปัจจุบันแรงงานต่างชาติในภาคก่อสร้างกลับเข้ามาทางานในไทยเทียบเท่าระดับก่อนการแพร่ระบาดของ COVID-19 แล้ว แต่จานวนแรงงานไทยที่กลับมาปรับตัวลดลงเป็นเหตุให้ค่าแรงงานในภาคก่อสร้างยังอยู่ในระดับสูง ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสถิติแห่งชาติ และกระทรวงแรงงาน จานวนแรงงานเมียนมา สปป.ลาว กัมพูชา และเวียดนามในภาคก่อสร้าง หน่วย : พันคน จานวนแรงงานพื้นฐานในภาคก่อสร้างโดยรวม หน่วย : พันคน 200 0 600 400 Mar-21 Sep-19 Sep-22 Jun-19 Dec-19 Mar-20 Jun-20 Sep-20 Dec-20 Jun-21 Sep-21 Dec-21 Mar-22 Jun-22 Dec-22 591 552 579 COVID-19 1,500 1,000 500 0 58% Q3-19 Q2-20 Q1-20 52% 43% 65% 48% Q3-20 49% 1,106 35% 51% Q4-19 Q1-21 55% 45% 56% 44% 56% 36% 44% 979 58% Q2-21 42% Q3-21 Q4-20 61% 39% 57% 59% 41% 954 Q4-21 1,108 63% 37% Q1-22 64% Q2-22 42% Q3-22 1,105 1,190 1,056 1,018 995 1,046 1,006 1,119 975 แรงงานไทย แรงงานต่างชาติ • ปัจจุบันแรงงานต่างชาติในภาคก่อสร้างกลับเข้ามาทางานในไทยเทียบเท่า ระดับก่อนการแพร่ระบาดของ COVID-19 แล้ว • แต่จานวนแรงงานไทยในภาคก่อสร้างที่กลับมาปรับตัวลดลงตั้งแต่ไตรมาส ที่ 2 ของปี 2022 เป็นเหตุให้ค่าแรงงานในภาคก่อสร้างยังอยู่ในระดับสูง 7 ก.พ. 2023 ครม. มีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงแรงงานเสนอ เรื่องแนวทาง การบริหารจัดการการทางานของคนต่างด้าวภายหลังวันที่ 13 ก.พ. 2023 • เห็นชอบให้คนต่างด้าวซึ่งใบอนุญาตทางานหมดอายุวันที่ 13 ก.พ. 2023 ที่ได้ ยื่นคาขอต่ออายุใบอนุญาตทางาน พร้อมทั้งชาระค่าธรรมเนียมค่ายื่นคาขอ และค่าธรรมเนียมต่ออายุใบอนุญาตทางาน ภายในวันที่ 13 ก.พ. 2023 สามารถอยู่ในราชอาณาจักรเป็นกรณีพิเศษ เพื่อทางานถึงวันที่ 15 พ.ค. 2023 • เห็นชอบให้คนต่างด้าวซึ่งเมื่อดาเนินการเพื่อให้ได้รับการตรวจลงตราหรือตรวจ อนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวถึงวันที่ 15 พ.ค. 2023 แล้ว หากประสงค์จะทางานต่อไป จะได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการ ชั่วคราวและทางานถึงวันที่ 13 ก.พ. 2024 และหากประสงค์จะทางานต่อไป จะได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวเพื่อทางานถึงวันที่ 13 ก.พ. 2025 • หนุนให้กิจกรรมการก่อสร้างดาเนินไปได้อย่างต่อเนื่อง • บรรเทาปัญหาต้นทุนค่าแรงงานของผู้ประกอบการรับเหมาก่อสร้างได้ส่วนหนึ่ง 1. ต้นทุนก่อสร้างยังอยู่ในระดับสูง
  • 26. 26 SCB EIC Industry insight : Construction ธุรกิจรับเหมาก่อสร้างมีสัดส่วน Zombie firm เพิ่มขึ้นต่อเนื่องหลังจากการแพร่ระบาดของ COVID-19 นอกจากนี้ ในปี 2023 ผู้ประกอบการที่รับงานก่อสร้างภาครัฐเป็นหลักจะเผชิญปัจจัยท้าทายด้านสภาพคล่อง ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า สัดส่วน Zombie firm แยกตามสาขาธุรกิจ หน่วย : % จานวนบริษัทที่มีข้อมูลเพียงพอ จานวนการจดทะเบียนนิติบุคคลธุรกิจก่อสร้าง หน่วย : ราย 30 0 25 15 5 20 10 Manufacture 3% Hotel Real estate Recreation Education Mining Restaurant Other service Finance Agriculture Wholesale & Retail Telecom Professional Admin Utilities Health Construction Transport & Warehouses 4% ปี 2017-2019 2020 ปี 2021 นิยาม Zombie firm : กิจการที่มีอายุเกิน 10 ปี และมี Interest coverage ratio <1 เป็นเวลา 3 ปีติดต่อกัน 7,030 7,061 0 2,000 4,000 6,000 8,000 531 2021 437 2022 7,561 7,498 -1% 1,536 2,012 1,000 1,500 0 2,000 500 2,500 1,656 120 2021 134 2022 2,146 +30% ก่อสร้างโครงการภาครัฐ ก่อสร้างอาคาร จัดตั้งใหม่ เลิก ธุรกิจรับเหมาก่อสร้างมีสัดส่วน Zombie firm เพิ่มขึ้น ต่อเนื่องหลังจากการแพร่ระบาดของ COVID-19 โดยเฉพาะผู้รับเหมาก่อสร้าง SMEs ที่มีความเสี่ยง ในการปิดกิจการมากขึ้นจากปัญหาสภาพคล่องทางการเงิน นอกจากนี้ ในปี 2023 ผู้ประกอบการที่รับงานก่อสร้าง ภาครัฐเป็นหลักจะเผชิญปัจจัยท้าทาย • ความล่าช้าในการอนุมัติโครงการก่อสร้างภาครัฐ ใหม่ ๆ ที่มูลค่าโครงการสูงหลังการประกาศยุบสภา • การจัดทางบประมาณประจาปี 2024 และการ เบิกจ่าย ที่อาจล่าช้าออกไปหลังไตรมาสที่ 4 ของปี 2023 • ขาดโอกาสเข้าประมูลโครงการก่อสร้างใหม่ ๆ • เผชิญความเสี่ยงด้านสภาพคล่องทางการเงิน 2. ความเสี่ยงด้านสภาพคล่องทางการเงิน
  • 27. 27 SCB EIC Industry insight : Construction ภาคอาคารและการก่อสร้างมีสัดส่วนการปล่อย CO2 อยู่ที่ 37% ของการปล่อย CO2 โดยรวม และมีสัดส่วน การใช้พลังงานอยู่ที่ 34-35% ของการใช้พลังงานโดยรวม ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูล 2022 Global Status Report for Buildings and Construction โดย United Nations Environment Programme สัดส่วนการปล่อย CO2 ของภาคอาคารและการก่อสร้างปี 2021 โดยรวมทั้งโลก หน่วย : % สัดส่วนการใช้พลังงานของภาคอาคารและการก่อสร้างปี 2021 โดยรวมทั้งโลก หน่วย : % 6% 8% 11% 6% 30% 22% 8% 3% 3% 3% 37% 9% 21% 31% 26% 6% 1% 4% 2% 34-35% อาคารที่ไม่ใช่ที่อยู่อาศัย (ทางอ้อม) อาคารที่อยู่อาศัย (ทางตรง) กระจก และอิฐสาหรับการก่อสร้างอาคาร คอนกรีต อะลูมิเนียม และเหล็กสาหรับการก่อสร้างอาคาร อาคารที่ไม่ใช่ที่อยู่อาศัย (ทางตรง) อาคารที่อยู่อาศัย (ทางอ้อม) ภาคอาคารและการก่อสร้างอื่น ๆ เช่น โครงสร้างพื้นฐาน อุตสาหกรรมอื่น ๆ ขนส่ง อื่น ๆ กระจก และอิฐสาหรับการก่อสร้างอาคาร คอนกรีต อะลูมิเนียม และเหล็กสาหรับการก่อสร้างอาคาร อาคารที่ไม่ใช่ที่อยู่อาศัย อาคารที่อยู่อาศัย ภาคอาคารและการก่อสร้างอื่น ๆ เช่น โครงสร้างพื้นฐาน อุตสาหกรรมอื่น ๆ ขนส่ง อื่น ๆ 3. แรงกดดันจากเทรนด์ ESG
  • 28. 28 SCB EIC Industry insight : Construction ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC เทรนด์ ESG เป็นแรงกดดันให้ผู้รับเหมาก่อสร้างไทยต้องเร่งปรับกลยุทธ์ E S G Environment • ใช้วัสดุก่อสร้างที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม • ลดมลภาวะ เช่น GHG ฝุ่น เสียง น้าเสีย ของเสีย จากการก่อสร้าง • ลดการใช้ทรัพยากร และพลังงาน • บริหารจัดการของเหลือ และขยะจากงานก่อสร้าง Governance • มีการจัดซื้อจัดจ้าง และการประมูลที่โปร่งใส • ใช้วัสดุก่อสร้างที่ได้มาตรฐาน Social • มีความปลอดภัยในการทางาน • มีความเป็นอยู่ และสวัสดิการที่ดีสาหรับแรงงาน • มีส่วนร่วมจากชุมชนท้องถิ่น • ส่งมอบงานตรงเวลา และตรงตามความต้องการของลูกค้า • กฎระเบียบ และกฎหมายต่าง ๆ เช่น กฎหมายควบคุมอาคาร กฎหมายการผังเมือง การจัดทารายงาน EIA • ความเสี่ยงในการประกาศให้หยุดการก่อสร้างในบางช่วง เช่น ฝุ่น PM 2.5 หนาแน่น เกิดอุบัติเหตุในพื้นที่ ก่อสร้าง แรงกดดันจากกฎระเบียบ โครงการก่อสร้างภาครัฐ • การส่งเสริมให้ใช้วัสดุก่อสร้างที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในโครงการก่อสร้างภาครัฐ เช่น ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิก • ความเสี่ยงในการเริ่มงานก่อสร้างล่าช้า เช่น ข้อพิพาทในการเข้าประมูลโครงการก่อสร้างภาครัฐ ข้อพิพาทจากชุมชนท้องถิ่น โครงการก่อสร้างภาคเอกชน • Green supply chain เช่น ที่อยู่อาศัยประหยัดพลังงานและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม, Green Purchasing • ความต้องการที่อยู่อาศัยและอาคารที่สามารถรองรับภัยพิบัติที่มีแนวโน้มรุนแรงขึ้นในอนาคต เช่น น้าท่วม พายุ อากาศร้อน • ความต้องการอาคารที่มีคุณสมบัติสอดคล้องตามมาตรฐานอาคารที่ตอบโจทย์ด้านความยั่งยืน เช่น Global Real Estate Sustainability Benchmark (GRESB), Leadership in Energy & Environmental Design (LEED) แรงกดดันจากคู่ค้า / ลูกค้า / ผู้บริโภค ที่อยู่ อาศัย อาคาร สานักงาน พื้นที่ ค้าปลีก โรงงาน โรงแรม 3. แรงกดดันจากเทรนด์ ESG
  • 29. 29 SCB EIC Industry insight : Construction การใช้เทคโนโลยีก่อสร้างจะเข้ามาช่วยตอบโจทย์เทรนด์ ESG โดยปัจจุบันเริ่มมีการใช้เทคโนโลยีก่อสร้าง เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมบ้างแล้ว ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC 3. แรงกดดันจากเทรนด์ ESG เทคโนโลยีที่ตอบโจทย์ด้านสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีที่ตอบโจทย์ด้านสังคม อุปกรณ์และเครื่องจักรก่อสร้างที่ลด การก่อมลภาวะ วัสดุก่อสร้างที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เช่น ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิก เทคโนโลยีก่อสร้างแบบสาเร็จรูป เช่น Precast, Prefabrication, Modular 3D printing สาหรับการขึ้นรูปโครงสร้างชิ้นงาน Building Information Modeling (BIM) Smart wearables เช่น แว่นตาและหมวกนิรภัยอัจฉริยะ ยูนิฟอร์มอัจฉริยะ ระบบ Automation ในอุปกรณ์และ เครื่องจักร รวมถึงหุ่นยนต์ก่อสร้าง Drone อุปกรณ์ Sensor เพื่อแจ้งเตือน เช่น ระบบตรวจวัดฝุ่นละออง และก๊าซต่าง ๆ อุปกรณ์แจ้งเตือนเมื่อเกิดอุบัติเหตุ เทคโนโลยีที่ตอบโจทย์ด้านบรรษัทภิบาล Blockchain ปัจจุบัน เริ่มมีการใช้เทคโนโลยีก่อสร้าง เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมบ้างแล้ว ในระยะข้างหน้า ควรมีการใช้เทคโนโลยี ก่อสร้างอื่น ๆ ตอบโจทย์ด้านสังคม และ บรรษัทภิบาล เพื่อนาไปสู่การสร้างความ ยั่งยืนในการประกอบธุรกิจ ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม • ลดมลภาวะ เช่น GHG ฝุ่น เสียง น้าเสีย ของเสีย จากการก่อสร้าง • ลดการใช้ทรัพยากร และพลังงาน • ลดของเหลือ และขยะจากงานก่อสร้าง ลดอันตรายสาหรับแรงงาน • ลดความเสี่ยงในการทางานรื้อถอน ทางาน ในพื้นที่อันตราย หรือเข้าถึงยาก • ลดการใช้แรง และเสริมสร้างความปลอดภัย ต่อร่างกายในการยกสิ่งของที่มีน้าหนักมาก • แจ้งเตือนไปยังผู้ควบคุมงานก่อสร้าง เมื่อมี สัญญาณจะเกิดอันตราย หรือเกิดอันตราย ขึ้นแล้ว เพื่อช่วยเหลือได้ทันท่วงที เพิ่มประสิทธิภาพในการก่อสร้าง • ลดต้นทุนก่อสร้าง • ลดการใช้แรงงานพื้นฐาน • ลดข้อผิดพลาดในการดาเนินงานโครงการก่อสร้าง • ยกระดับผลิตภาพแรงงานได้ในระยะยาว • เพิ่มความโปร่งใสในขั้นตอนการก่อสร้าง โดยเฉพาะ ในกรณีที่มีการแก้ไข หรือเปลี่ยนแปลงข้อมูล
  • 30. 30 SCB EIC Industry insight : Construction เพิ่มโอกาสในการสร้างรายได้ และควบคุมต้นทุนก่อสร้าง บริหารสภาพคล่องทางการเงิน ตอบโจทย์เทรนด์ ESG • พัฒนาศักยภาพ และร่วมมือกับพันธมิตร เพื่อเข้าประมูล งานก่อสร้างได้อย่างหลากหลาย • ระมัดระวังการเข้าประมูลแบบแข่งขันด้านราคา • ร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐและเอกชน (PPP) • ทาสัญญาสั่งซื้อวัสดุก่อสร้างล่วงหน้า อย่างสอดคล้อง กับความต้องการใช้ • ปรับสัดส่วนการรับงานก่อสร้างภาครัฐ และเอกชน ให้เหมาะสม เพื่อลดความเสี่ยง • ดาเนินการก่อสร้างให้แล้วเสร็จตามแผน เพื่อให้ สามารถเบิกจ่ายได้ตามกาหนด • หาพันธมิตรวัสดุก่อสร้างที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม • การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน • ลงทุนนาเทคโนโลยีก่อสร้างมาใช้ • ยกระดับให้มีการใช้ BIM อย่างเต็มศักยภาพ รวมถึงพัฒนาทักษะบุคลากร การปรับกลยุทธ์ของผู้ประกอบการรับเหมาก่อสร้าง ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC