SlideShare a Scribd company logo
ความรูเกี่ยวกับการพิมพ (วส 210 – 02/2556)
ศรรวริศา เมฆไพบูลย sanwarisa@gmail.com

1 นิยามความหมาย
2 ประวัติการพิมพ ตะวันออก
ตะวันตก
ไทย
3 ระบบการพิมพ การพิมพสัมผัส (การพิมพพื้นฐาน) 4 ระบบ
การพิมพไรสัมผัส
การพิมพดิจิทัล
4 กระบวนการพิมพ กอนพิมพ / พิมพ / หลังพิมพ

1. นิยามความหมาย: การพิมพ

• น. รูป, แบบ; ก. ถายแบบ, ใชเครื่องจักรกดตัวหนังสือหรือภาพใหติดบนวัตถุ
(พจนานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติ, 2532: 381)
• กรรมวิธีใดๆ ในการจําลองภาพ หรือสําเนาภาพ หรือหนังสือจากตนฉบับในลักษณะสองมิติ แบน
ราบ ทั้งนี้ รวมถึงการพิมพผา การพิมพกระดาษปดฝาผนังและการอัดรูป
(Mill, 1968: 590)
• การพิมพ คือ การจําลองตนฉบับอันหนึ่งจะเปนภาพหรือตัวหนังสือก็ตามออกเปนจํานวนมากๆ
เหมือนกัน บนวัสดุที่เปนพื้นแบน หรือใกลเคียงกับพื้นแบนดวยการใชเครื่องมือกล
(กําธร สถิรกุล, 2515: 177)
พระราชบัญญัติการพิมพ พ.ศ. 2484
• "พิมพ" ทําใหเปนตัวหนังสือหรือรูปรอยใด ๆ โดยการกดหรือการใชพิมพหิน เครื่องกล วิธีเคมี หรือ
วิธีอื่นใดอันอาจใหเกิดเปนสิ่งพิมพขึ้นมาหลายสําเนา
พระราชบัญญัติจดแจงการพิมพ พ.ศ. 2550
• พิมพ ทําใหปรากฏดวยตัวอักษร รูปรอย ตัวเลข แผนผังหรือภาพ โดยวิธีการอยางใดๆ
• สิ่งพิมพ สมุด หนังสือ แผนกระดาษ หรือวัตถุใดๆ ที่พิมพขึ้นเปนหลายสําเนา
• หนังสือพิมพ สิ่งพิมพซึ่งมีชื่อจาหนาเชนเดียวกัน และออกหรือเจตนาจะออกตามลําดับเรื่อยไป
มีกําหนดระยะเวลาหรือไมก็ตาม มีขอความตอเนื่องกันหรือไมก็ตาม ทั้งนี้ใหหมายความรวมถึง
นิตยสาร วารสาร สิ่งพิมพที่เรียกชื่ออยางอื่นทํานองเดียวกัน
• โดยสรุป การพิมพ คือ ศาสตรและศิลปในการผลิตสําเนาจํานวนมากๆ จากตนฉบับ (ภาพวาด
ภาพถาย หรือตัวอักษร) ลงสูวัสดุพิมพ โดยตนฉบับจะประกอบดวยเสน และ/หรือ จุด การผลิต
สําเนา จะใชหมึก โดยจะมีแมพิมพ หรือมีแรงกดหรือไมก็ได วัสดุที่ใชพิมพเปนวัสดุผิวเรียบ อาจ
เปนกระดาษ พลาสติก โลหะ หรือสิ่งทอ ฯลฯ

2. ประวัติการพิมพ: ตะวันออก ตะวันตก ไทย

การพิมพสืบยอนกลับไปไดตั้งแตสมัยที่มนุษยเริ่มมีการวาดภาพเพื่อสื่อความหมายบางอยาง และคอยๆพัฒนา
จนเกิดอักษรภาพขึ้น และพยายามหาวิธีที่จะคัดลอกหรือทําซ้ําสิ่งเหลานั้น
4,000 ปกอน ค.ศ. เมโสโปเตเมีย – อักษรลิ่ม cuneiform เกิดจากการใชของแข็งกดลงบนดินเหนียวจน
เกิดเปนสัญลักษณ
2,000 ปกอน ค.ศ. อียิปต – อักษรภาพ hieroglyph พบบนจารึกโบราณ กําแพงวิหาร หลุมฝงศพ
ตอมามีอักษรที่ใชสลักบนแผนหินและเขียนบนแผนเปลือกไม (ปาปรุส) โดยใชยางไม ซึ่งจะมวนเก็บไว
600 ปกอน ค.ศ. กรีซ – ใชเหล็กแหลมเขียนบนขี้ผึ้งเคลือบแผนไมที่เรียกวา waxtablet เปนการเขียน
ชั่วคราว เมื่อตองการเขียนใหม ก็นําไปลนไฟใหขี้ผึ้งละลาย
การพิมพในตะวันออก
การพิมพเริ่มพัฒนาขึ้นในโลกตะวันออก โดยเฉพาะจีน ญี่ปุน และเกาหลี เหตุการณสําคัญที่เกิดขึ้น เชน
255 ปกอน ค.ศ. จีนและเอเชียกลางรูจักการแกะสลักดวงตราบนกอนหิน กระดูกสัตวและงาชางเพื่อใช
ประทับบนดินเหนียว ขี้ผึ้ง หรือครั่ง (เชน ตราหยกของฮองเต)
ป ค.ศ. 105 ชาวจีนชื่อไชหลุน Cài Lún คิดวิธีทํากระดาษ
ป ค.ศ. 175 เกิดเทคนิคการพิมพถู (rubbing) ในจีน โดยนํากระดาษไปทาบบนแผนหินที่สลักวิชาความรู
และใชถาน/สีระบายจนเกิดลายตามรูปรอยที่นูนขึ้นมา
ป ค.ศ. 400 ชาวจีนทําหมึกแทงโดยใชเขมาไฟเปนเนื้อสี นําไปผสมกาวที่เคี่ยวจากกระดูกและหนังสัตว
ป ค.ศ. 500 จีนเขียนหนังสือบนซีกไผ เจาะรูรอยเชือกไวเปนมัดๆ กอนจะเปลี่ยนมาเปนผาไหมซึ่งเบากวา
แตราคาสูง ขณะที่อินเดียใชวิธจารบนใบลาน แลวเจาะรู ใชเชือกรอยเปนเลม
ี
ป ค.ศ. 575 การพิมพโดยแมพิมพไม (wood block printing) โดยแกะตัวหนังสือที่มีลักษณะกลับหัวที่จีน
ป ค.ศ. 770 งานพิมพแกะไมเกาแกที่สุดที่ยังเหลืออยูเปนคําสวดปดรังควาน/ยันต ขนาด 6*45 ซม. ที่
จักรพรรดินีโชโตกุ Shotodu ของญี่ปุน ทรงใหพิมพแจกหลังปราบกบฎเอมิไดสําเร็จ ใชเวลา 6 ป
ป ค.ศ. 868 หวางเจิน Wáng Zhēn พิมพหนังสือเลมแรกคือวัชรสูตร ดวยแมพิมพแกะไม ลักษณะเปน
มวนยาว 16*1 ฟุต พบในถ้ําที่ตุนหวาง
ป ค.ศ. 950 จีนดัดแปลงหนังสือมวนเปนหนังสือพับ (ลักษณะคลายสมุดขอย)
ป ค.ศ. 1041-1048 ไปเช็ง Bì Shēng พัฒนาแมพิมพโดยนําดินเหนียวมาปนตัวหนังสือ ตากใหแหง และเผา
เพื่อใหใชไดหลายครั้ง กลายเปนตัวเรียงพิมพ movable type
ป ค.ศ. 1116 จีนทําหนังสือเย็บเลมดวยเชือก ตนแบบหนังสือปจจุบัน stitched book
ป ค.ศ. 1241 เกาหลีหลอตัวพิมพโลหะครั้งแรกโดยใชทองแดงผสมกับดีบุกในสมัยกษัตริยไทจง
การพิมพในตะวันตก
ป ค.ศ. 476 เมื่อกรุงโรมถูกทําลาย หนังสือก็ถูกทําลายไปดวย ยกเวนสวนที่ลักลอบขนไปคอนสแตนติโนเปล
ป ค.ศ. 500-1400 ชวงที่ตะวันออกพัฒนาดานการพิมพ ยุโรปอยูในยุคมืด อํานาจปกครองเปนของศาสน
จักร ประชาชนไมรูหนังสือ มีเพียงชนชั้นสูงและพระที่ไดเขียนอาน งานเขียนสวนใหญเปนปรัชญาศาสนา
ป ค.ศ. 1423 การพิมพดวยแมพิมพแกะไม พิมพรูปภาพเปนหลัก มีตัวหนังสือประกอบ ชาและตนทุนสูง
ป ค.ศ. 1440 โยฮันน กูเตนเบิรก ชาวเยอรมัน คิดคนตัวพิมพขึ้นเปนคนแรกในยุโรป และสรางแมพิมพหลอ
ตะกั่วขึ้นไดสําเร็จ ไดรับยกยองเปน “บิดาแหงการพิมพ” พิมพผลงานสําคัญคือ “พระคัมภีร 42
บรรทัด”นอกจากคิดตัวเรียงพิมพแลว กูเตนเบิรกยังออกแบบตัวพิมพ แกะแมพิมพ หลอตัวพิมพ ทํา
หมึกพิมพ และประดิษฐเครื่องพิมพที่ดัดแปลงจากเครื่องคั้นองุนดวย
• ตัวเรียงพิมพของกูเตนเบิรก แกะสลักตัวอักษร a-z เปนตัวๆ โดยแตละตัวมีลักษณะเปนอักษรนูน
ดานตรงขามกับตัวอักษรติดกับเครื่องปม เมื่อนําไปปมบนกระดาษ จะไดตัวอักษรอยูในกรอบสี่เหลี่ยม
เล็กๆ เขาพบวาโลหะที่ดีที่สุดสําหรับการหลอตัวพิมพคือโลหะผสม ดีบุก ตะกั่ว พลวง (5: 12: 23)
• หนังสือเลมแรกที่พิมพในยุโรปดวยตัวพิมพของกูเตนเบิรกคือ “พระคัมภีร 42 บรรทัด” พิมพเสร็จ
เมื่อป 1455 โดยใชภาษาละติน ลักษณะของพระคัมภีรเลมนี้คือ แตละหนามี 2 คอลัมน แตละ
คอลัมนมี 42 บรรทัด หนังสือทั้งหมดหนา 1,282 หนา และพิมพ 200 เลม ใชเวลาพิมพไมนอย
กวา 5 ป เนื่องจากแทนพิมพตองอาศัยแรงอัดจากการขันเกลียว ทําใหพิมพไดชา (มาก)
• ชางฝมือในยุโรปเขามาศึกษาการพิมพที่เมืองไมนซและนําความรูกลับไปพัฒนางานพิมพในประเทศ
สงผลใหการพิมพแพรหลายและกาวหนา สังเกตวา แมจะเริ่มพัฒนาในโลกตะวันออก แตการพิมพ
กลับพัฒนากาวหนาและเจริญรุงเรืองในตะวันตก เนื่องจากคานิยมของตะวันออกมีลักษณะของการ
เก็บงําไวเฉพาะกลุมหรือพวก ไมนิยมเผยแพรและถายทอดอยางคนตะวันตก โอกาสที่ความรูจะแตก
ยอดและเติบโตขึ้นจึงนอยกวา
ป ค.ศ. 1457 โจฮันน ฟูสต และปเตอร เชิฟเฟอร Johann Fust + Peter Schoeffer พิมพหนังสือพรอมกับ
ปที่พิมพเปนครั้งแรก
ป ค.ศ. 1492 (โคลัมบัสพบทวีปอเมริกา) ยุโรปมีหนังสือรวมกันประมาณ 40,000 เรื่อง โดยแตละเรื่องมี
จํานวนพิมพไมนอยกวา 100 เลม
ป ค.ศ. 1495 อัลเบร็กต ดูเรอร Albrecht Durer จิตรกรเยอรมัน คิดวิธีพิมพจากแมพิมพทองแดง (Copper
plate engraving) ถือเปนตนกําเนิดของการพิมพดวยแมพิมพพื้นลึก
ป ค.ศ. 1499 อัลดัส แมนิวเทียส Aldus Manutius ชางพิมพเวนิส ลดขนาดตัวหนังสือใหเล็กลงและคิดตัว
เอน (italic) ขึ้น เพื่อใหพิมพไดเยอะขึ้น จึงพิมพไดในราคาถูกลง เกิดหนังสือพ็อกเก็ตบุกเขายังออกแบบ
สัญลักษณปดทายงานพิมพ (colophon) เปนรูปปลาพันสมอเรือ
ป ค.ศ. 1513 เออรส กรัฟ Urs Graf คิดการใชน้ํากรดกัดแผนเหล็กใหเปนรองเพื่อทําแมพิมพกราวัวร ซึ่ง
เปนตนแบบแมพิมพธนบัตรและเอกสารสําคัญ
ป ค.ศ. 1620 วิลเลม แจนสซูน เบลา Willem Janszoon Blaeu ชาวดัตช ประดิษฐเครื่องพิมพดัตช ทําดวย
โลหะและการหมุนแกนขึ้นลง
ป ค.ศ. 1790 วิลเลียม นิโคลสัน William Nicholson ชาวอังกฤษ คิดเครื่องพิมพทรงกระบอก cylinder
press และนําเครื่องจักรไอน้ํามาเดินเครื่องพิมพ ทําใหงานพิมพสะดวกรวดเร็วขึ้นมาก
ป ค.ศ. 1793 อาลัวส เซเนฟลเดอร Alois Senefilder ชาวเยอรมัน พบวิธีการพิมพหิน (lithography) ซึ่ง
เปนวิธีการพิมพพื้นราบ (planographic printing) ไดโดยบังเอิญ
ป ค.ศ. 1813 จอรจ อี. ไคลเมอร George E. Clymer ชาวอเมริกัน คิดแทนพิมพโคลัมเบียซึ่งใชระบบคาน
กระเดื่อง ชวยผอนแรงและมีแรงกดมากกวา
ป ค.ศ. 1858 จอรจ พี. กอรดอน George P. Gordon ชาวอเมริกัน ไดพัฒนาแทนพิมพเพลตเทน
ป ค.ศ. 1861 ภาพถายสีภาพแรก
ป ค.ศ. 1888 วิลเลียม มอรริส William Morris นักเขียนและศิลปนชาวอังกฤษ เริ่มนําลวดลายมาใสไวใน
หนังสือ ถือเปนการออกแบบสิ่งพิมพครั้งแรกๆ ที่พัฒนามากขึ้นในปลายศตวรรษที่ 19
ป ค.ศ. 1904 ไอรา วอชิงตัน รูเบล Ira Washington Rubel ชางพิมพชาวอเมริกัน คิดวิธีการพิมพในระบบ
ออฟเซต (offset printing) ขึ้นจากการสังเกตความผิดพลาดเมื่อลืมใสกระดาษในแทนพิมพ เขาเห็นวา
กระดาษที่รับหมึกจากลูกโมแรงกดมีความนุมและสวยงามกวาที่รับจากแมพิมพโดยตรง
ป ค.ศ. 1907 แซมวล ไซมอน Samuel Simon ชาวอังกฤษ ปรับปรุงการพิมพซิลกสกรีน (Silk screen)
และจดทะเบียนลิขสิทธิ์ที่ประเทศอังกฤษ
ป ค.ศ. 1960 เกิดแนวคิดสรางเครือขายคอมพิวเตอรในการสื่อสารเพื่อการใชงานดานความมั่นคงในสหรัฐฯ
ป ค.ศ. 1965 การสรางฟอนตดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร
ป ค.ศ. 1976 เกิดบริษัทผลิตไมโครคอมพิวเตอร (แอ็ปเปล)
ทศวรรษ 1980 สหรัฐฯ ออกแบบเครือขายสาธารณะ ซึ่งเปนพื้นฐานของอินเทอรเน็ต อีเมล นักวิทยาศาสตร
ยุโรปพัฒนาระบบเชื่อมตอทั่วโลก www มีโปรแกรมคอมพิวเตอรในการออกแบบจัดหนาและการพิมพ
ป ค.ศ. 1989 กลองดิจิทัลเครื่องแรกของบริษัทโซนี
ทศวรรษ 1990 อินเทอรเน็ตเริ่มแพรหลาย รวมทั้งความสามารถในการสรางเว็บไซตและไฟลดิจิทัลตางๆ
(pdf, html) มีการเผยแพรผลงานที่ไมไดตีพิมพ สิ่งพิมพใชสื่อออนไลนในการเผยแพรเนื้อหาและทําตลาด
ป ค.ศ. 1998 หองสมุดสหรัฐฯ เริ่มใหบริการสิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกสแกผูใชบริการทางเว็บไซต (ดานวิชาการ)
ป ค.ศ. 2003 การเผยแพรสิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกสในรูปแบบทั่วไป (บันเทิง) เปดใหยืมสิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกส
ในหองสมุดชั้นนํา เกิดโปรแกรมอินดีไซนซึ่งเปนนวัตกรรมของการออกแบบสิ่งพิมพ
ป ค.ศ. 2007 โซเชียลเน็ตเวิรกและการเขียนบล็อกเริ่มไดรับความนิยม
ป ค.ศ. 2010 อุปกรณอิเล็กทรอนิกสตางๆไดรับความนิยม ทั้งสมารตโฟน แท็บเล็ต และเครื่องอาน
อิเล็กทรอนิกส รวมถึงอีบุกและแอ็ปพลิเคชั่นตางๆ
การพิมพในประเทศไทย
เริ่มตนในปลายสมัยอยุธยา (ค.ศ.1893-2310) โดยเปนการรับความรูจากตะวันตก (ฝรั่งเศส) ในรัชสมัย
สมเด็จพระนารายณมหาราช มีการนําวิธีการพิมพหนังสือมาจากยุโรป แมจะไมมีหลักฐานเปนหนังสือที่
พิมพในสมัยนั้น แตมีหลักฐานยืนยันวาไทยมีการติดตอกับฝรั่งเศสและสงราชทูตไปยังราชสํานักฝรั่งเศส
ราชทูตโกษาปานไดไปเยี่ยมโรงพิมพหลวงของฝรั่งเศสและดูกิจการอยางละเอียด
พ.ศ. 2205 บาทหลวงฝรั่งเศส (Louis Laneau) ไดแปลและแตงหนังสือคําสอนคริสตศาสนาเปนภาษาไทย
26 รายการ หนังสือไวยากรณไทยและบาลี 1 รายการ และพจนานุกรมไทยอีก 1 รายการ โดยเขียนดวย
อักษรโรมัน (ในวัด = nai wat) ทั้งยังสรางศาลาเรียนขึ้นในที่พระราชทานที่ตําบลเกาะมหาพราหมณซึ่ง
อยูเหนือกรุงเกา และตั้งโรงพิมพหลวงขึ้นดวย
พ.ศ. 2213 มิชชันนารีชาวฝรั่งเศสชื่อปแยร ลองกรัวส Pierre Langrois เขารวมงานและคิดตั้งโรงพิมพเพื่อ
พิมพหนังสือไทย จึงขอใหฝรั่งเศสสงชางหลอตัวพิมพมาชวยเพื่อจัดพิมพคําสอนคริสตศาสนาโดยใชอักษร
โรมัน แตเขียนใหอานออกเสียงเปนภาษาไทย (เหมือนภาษาคาราโอเกะ)
พ.ศ. 2217 บางหลวงลังคลูอาสมีหนังสือบอกบุญไปยังหัวหนามิชชันนารีในปารีสเพื่อขอใหรวมเผยแผศาสนา
คริสตคาทอลิกในไทย โดยขอใหซื้อเครื่องพิมพสงมาให จึงเชื่อกันวานาจะมีการพิมพเขามาตั้งแตครั้งนั้น
พ.ศ. 2231 รัชสมัยของสมเด็จพระเพทราชา มีการขับไลกําลังทหารและชาวฝรั่งเศสที่อยูอาศัยและทําการคา
ออกจากกรุงศรีอยุธยา ยุติความสัมพันธกับฝรั่งเศส และทําใหการคากับชาติตะวันตกลดลง
พ.ศ. 2310 กรุงศรีอยุธยาเสียแกพมา เอกสารหลักฐานและสิ่งพิมพตางๆ สูญหายหมด
กรุงธนบุรี (2310-2325)
รัชสมัยพระเจาตากสินมหาราช มีหลักฐานของบาทหลวงการโนลตวา สมัยธนบุรี บานเมืองเปนปกติ
มิชชันนารีไดกลับเขามาเผยแผศาสนา และตั้งโรงพิมพขึ้นที่วัดซางตาครูส ตําบลกุฎีจีน กรุงธนบุรี
กรุงรัตนโกสินทร (2325-ปจจุบัน)
รัชกาลที่ 1
พ.ศ. 2339 มีการพิมพหนังสือที่ตกทอดมาถึงปจจุบันคือหนังสือ คําสอนคฤศตัง เขียนเรื่องเปนภาษาไทยดวย
ตัวพิมพอักษรโรมันและพิมพดวยตัวหลอ สันนิษฐานวาเปนการพิมพดวยบล็อกไมมากกวาตัวเรียงพิมพ
รัชกาลที่ 2
พ.ศ. 2356 มีการพิมพดวยอักษรไทยครั้งแรกจัดทําในพมา โดยภรรยาบาทหลวงอเมริกัน แอนน จัดสัน Ann
Judson ที่มากับคณะมิชชันนารีแบ็ปติสตอเมริกันในกรุงยางกุง เพื่อเผยแผศาสนาใหเชลยและลูกหลาน
ไทยที่ถูกกวาดตอนไปตั้งแตเสียกรุงเมื่อป พ.ศ. 2310
พ.ศ. 2359 คณะแบ็ปติสตสงจอรจ เอช. ฮัฟ นําแทนพิมพและตัวพิมพมาเปดโรงพิมพในพมา
พ.ศ. 2360 โรงพิมพดังกลาวจัดพิมพหนังสือไทยจากตัวพิมพไทยเปนครั้งแรกที่ยางกุง แตไมมีหลักฐานหลงเหลือ
รัชกาลที่ 3
พ.ศ. 2371 หนังสือพิมพดวยตัวพิมพอักษรไทยที่เกาแกที่สุดที่มีหลักฐาน คือ A Grammar of the Thai ของ
กัปตันเจมส โลว James Low พิมพที่โรงพิมพในกัลกัตตา อินเดีย เขียนเปนภาษาอังกฤษอธิบายไวยากรณ
ไทย บางหนาเปนตัวเขียนลายมืออักษรไทย มีการใชบล็อกโลหะก็มี พิมพดวยตัวเรียงพิมพที่นางจัดสันหลอ
ขึ้นในพมาก็มี (เจมส โลว ยายไปอินเดียหลังผลัดแผนดินในกรุงอังวะ และนําตัวพิมพไทยไปอินเดียดวย)
พ.ศ. 2371 รอเบิรต เบิรน มิชชันนารีคณะลอนดอน ขอซื้อแทนพิมพและตัวพิมพไทยชุดนี้ไปรับจางพิมพหนังสือ
ไทยที่สิงคโปร
พ.ศ. 2378 มิชชันนารีอเมริกันซื้อตัวพิมพไทยจากสิงคโปรโดยหมอบรัดเลย Dan Beach Bradley และคณะนํา
ตัวพิมพไทยและแทนพิมพเขามามืองไทย
3 มิถุนายน พ.ศ.2379 บาทหลวงชารลส โรบินสัน พิมพหนังสือไทยในเมืองไทยครั้งแรก เปนคําสอนศาสนา
พ.ศ. 2382 กฎหมายหามสูบฝน เปนเอกสารราชการฉบับแรกที่จัดพิมพขึ้น
พ.ศ.2384 เมื่อตัวพิมพที่ซื้อจากสิงคโปรสึกหรอ คณะมิชชันนารีอเมริกันจึงหลอตัวพิมพไทยขึ้นใชเอง มีรูปราง
สวยงามกวาเดิม เชน คัมภีรครรภทรักษา ซึ่งแปลโดยหมอบรัดเลย ตัวอักษรพิมพจากคัมภีรเลมนี้เปน
ตนแบบตัวพิมพที่เรียกวา “ตัวเหลี่ยม” ซึ่งดัดแปลงจนไดรับความนิยม
ในสมัยนี้ เจาฟามงกุฎ (รัชกาลที่ 4) ทรงตั้งโรงพิมพที่วัดบวรนิเวศระหวางผนวช พิมพไดทั้งหนังสือไทย บาลี
และโรมัน มีโรงหลอตัวพิมพไทยเอง นับเปนโรงพิมพโรงแรกของคนไทย
พ.ศ. 2387 หนังสือพิมพฉบับแรกในเมืองไทย บางกอกรีคอรเดอร ซึ่งออกไดเพียงปเดียว
รัชกาลที่ 4
พ.ศ. 2394 รัชกาลที่สี่ทรงตั้งโรงพิมพอักษรพิมพการขึ้นในพระบรมมหาราชวัง พิมพหนังสือพิมพออกขาว
ราชการ เรียกวา ราชกิจจานุเบกษา เปนหนังสือพิมพราชการฉบับแรกและยังออกตอเนื่องมาจนปจจุบันนี้
พ.ศ. 2404 ตัวพิมพไทยเริ่มมีหลายขนาด รูปหนังสือชัดเจน เสนสม่ําเสมอขึ้น เชน หนังสือของหมอมราโชทัย
(กระตาย) พิมพโดยโรงพิมพมิชชั่นของหมอบรัดเลย มีการเขาเลมแบบใหม เรียกวาสมุดฝรั่ง
พ.ศ. 2407 มีการตั้งโรงพิมพและออกหนังสือพิมพ หนังสือเลม ซึ่งเปนบทกลอน สุภาษิตสอนใจตางๆ
รัชกาลที่ 5
พ.ศ. 2417 เกิดวารสารฉบับแรกของคนไทย ดรุโณวาท รายสัปดาห โดยพระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจาเกษม
สันตโสภาคย กรมหลวงพรหมวรานุรักษ (เจาของและบรรณาธิการ) มีการออกหนังสือพิมพถึง 59 ฉบับ
พ.ศ. 2418 หนังสือพิมพรายวันฉบับแรกของคนไทย ซึ่งเจานายหลายพระองครวมกันจัดตั้งขึ้น ชื่อวา Court
หรือตอมาเปลี่ยนเปน ขาวราชการ มียอดจําหนายสูงจนเกิดระบบจัดสงซึ่งนําไปสูกิจการไปรษณีย
พ.ศ. 2436 การพิมพพระไตรปฎกสําเร็จเปนครั้งแรก ๓๙ เลม
พ.ศ. 2445 เริ่มมีธนบัตรออกใชครั้งแรก โดยจางบริษัทอังกฤษจัดพิมพ เรียกวา "ธนบัตรแบบ ที่ 1" เปน
ธนบัตรชนิดพิมพหนาเดียว มีทั้งหมด 5 ชนิด คือ 5 บาท, 10 บาท, 20 บาท, 100 บาท และ 1,000 บาท
พ.ศ. 2457 เกิดตัวอักษรพิมพที่เรียกวาตัวฝรั่งเศส มีเสนหนาบาง เลียนแบบการเขียนดวยปากกาคอแรงผสม
การวาดบนกระดาษ ดูสวยขึ้นและมีเสนดํากวาตัวไทยธรรมดา นอกจากนี้ยังมีการสรางตัวจิ๋วขึ้นดวย
พ.ศ. 2468 การพิมพเจริญขึ้นเรื่อยๆ มีการพัฒนาตัวอักษรแบบตางๆ เชน ตัวเอน ตัวหนา เพื่อพิมพบทละคร
รัชกาลที่ 6 ถือเปนยุคทองของวงการสื่อสิ่งพิมพและวรรณกรรมไทย แมจะไมมีหนังสือพิมพออกใหม แตมี
นิตยสารเกิดขึ้นมากมาย นิตยสารยุคนี้เปนสื่อแสดงความคิดเห็นทางการเมือง ทั้งของคนไทยและตางชาติ
รวมทั้งนิตยสารเกี่ยวกับนวัตกรรมใหมๆ มีนิตยสารกวา ๑๒๐ ฉบับ หนังสือพิมพรายวันกวา ๒๐ ฉบับ
และเริ่มมีการแยกงานระหวางโรงพิมพกับสํานักพิมพดวย
รัชกาลที่ 7-8 เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ําสมัยรัชกาลที่ 7 และสงครามโลกในสมัยรัชกาลที่ 8 การพิมพและการ
ผลิตหนังสือซบเซาลงเนื่องจากปญหาเศรษฐกิจและราคากระดาษ รวมทั้งปญหาการเมืองภายในประเทศ
รัชกาลที่ 9 การพิมพคอยๆฟนตัวขึ้นราวชวงทศวรรษ 2520 และพัฒนาขึ้นตามกระแสเทคโนโลยีในชวง
ทศวรรษ 2540 ขณะเดียวกัน ก็เกิดการศึกษาดานการพิมพในราวป 2476 โดยเริ่มมีการสอนวิชาการพิมพ
ในระดับอาชีวศึกษาและสถาบันตางๆ จากนั้นการพิมพไทยก็เริ่มเขาสูยุคพัฒนาและขยายตัว โรงพิมพขนาด
ใหญ กลาง เล็ก มีมากขึ้น โดยพัฒนาการจากธุรกิจครอบครัวเปนธุรกิจที่เปนระบบมากขึ้น
พัฒนาที่เห็นไดชัดในธุรกิจการพิมพไทยมีทั้งสามดาน คือ ดานบุคลากร (ชางฝมือและนักวิชาการพิมพ) ดาน
เทคโนโลยีและเครื่องจักรเครื่องมือ (ปจจุบันมูลคาการสงออกสื่อสิ่งพิมพมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นกวารอย
ละ 20) และดานองคกรความรวมมือเอกชนผูประกอบการ มีสมาคมผูประกอบการดานการพิมพหลายแหง
เชน กลุมอุตสาหกรรมการพิมพ สมาคมการพิมพไทย สมาคมสงเสริมวิชาชีพการพิมพ สมาคมแยกสีและ
ทําแมพิมพเพื่ออุตสาหกรรมการพิมพ เปนตน

3. ระบบการพิมพ

• ในการผลิตยุคใหม การพิมพหมายถึงการใชเทคโนโลยีสมัยใหมเขามาชวยในกระบวนการผลิต การ
จัดการ และการบริหาร เพื่อใหสอดคลองกับสภาพสังคมและเศรษฐกิจยุคไรพรมแดน และการแขงขัน
ของธุรกิจ
• การพิมพ printing มีความสัมพันธกับ การจัดพิมพ publishing (ผูจัดพิมพตองมีความรูดานการพิมพ
แตชางพิมพไมจําเปนตองรูเรื่องการจัดพิมพ) รวมทั้งอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของอื่นๆ เชน กระดาษ หมึก
บรรจุภัณฑ การโฆษณา การสื่อสาร การขนสง เทคโนโลยีดิจิทัล เปนตน

ปจจัยที่มีผลตอการพิมพ
 วัตถุประสงคในการพิมพ การบันทึกเรื่องราว การถายทอดความรู ความคิด และความตองการในการ
สื่อสาร หรือตองการเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมผูอื่น
 การออกแบบทางการพิมพ คํานึงถึงวัตถุประสงคและตัวแปรที่เกี่ยวของ เชน งบประมาณ รูปแบบ
ความสมดุล เอกภาพ เพื่อแปรความคิดหรือดีไซนออกเปนงานพิมพ
 การผลิตสิ่งพิมพ การถายทอดขอความและภาพในตําแหนงที่ถูกตองลงบนแมพิมพและวัสดุพิมพ
ตามลําดับ รวมถึงกระบวนการหลังการพิมพ โดยคํานึงถึงปจจัยตางๆ อาทิ วัสดุ คุณภาพ จํานวนพิมพ
จํานวนและประเภทของสี ระยะเวลาที่ตองใช และงบประมาณ
 การเผยแพรสิ่งพิมพ การนําสิ่งพิมพที่ผลิตแลวออกสูผูบริโภค
ในสมัยกอน การถายทอดตนฉบับสูวัสดุพิมพจะตองอาศัยแมพิมพ โดยแมพิมพอาจมีลักษณะเปนแผนแบน
เปนทรงกระบอก หรือพื้นฉลุก็ได
• ผิวแมพิมพมีสองบริเวณ คือ บริเวณพิมพหรือบริเวณภาพ image area เปนสวนที่รับหมึก และ
บริเวณที่ไมพิมพ หรือบริเวณไรภาพ non-image area เปนสวนไมรับหมึก หรือพื้นที่วางบนวัสดุพิมพ
• การจําแนกประเภทการพิมพทําไดหลายแบบ แตที่นิยมจําแนกทั่วไป คือจําแนกตามลักษณะการสัมผัส
ระหวางแมพิมพไปยังตัวพาภาพพิมพ (image carrier) กับวัสดุพิมพ
3.1 การพิมพระบบสัมผัสหรือการพิมพพื้นฐาน
• การพิมพจากแมพิมพพื้นนูน Relief Printing/Letter Press Printing
• การพิมพจากแมพิมพพื้นราบ Planographic Printing
• การพิมพจากแมพิมพรองลึก Gravure หรือ Intaglio
• การพิมพจากแมพิมพพื้นฉลุ Stencil
ระบบการพิมพพื้นนูน Letter Press Printing
• เปนระบบการพิมพเกาแกที่สุด โดยมีหลักฐานวาชาวจีนเริ่มพิมพหนังสือจากแมพิมพที่ทําดวยไมตั้งแตป
ค.ศ. 864 สวนแทนพิมพดวยมือแทนแรกประดิษฐขึ้นในยุโรปเมื่อศตวรรษที่ 15 เปนแมแบบของการ
พิมพในปจจุบัน มีรากฐานจากการแกะไมทําแมพิมพ โดยชางจะแกะสวนที่ไมตองการพิมพออกเหลือแต
รอยนูนออกมา
• เกิดจากกระบวนการสรางแมพิมพใหมีระดับแตกตางกันระหวางตัวภาพกับพื้นแมพิมพ โดยใหตัวภาพมี
ความนูนสูงขึ้นมาจากบริเวณไรภาพ เมื่อทาหรือกลิ้งหมึกพิมพบนแมพิมพ หมึกจะติดเฉพาะผิวภาพที่
นูนขึ้นมาเทานั้น เมื่อนําไปกดกับวัสดุพิมพ จะเกิดภาพพิมพบนชิ้นงาน เปนการพิมพโดยตรง
• นอกจากนี้ การสรางภาพบนแมพิมพพื้นนูนจะตองใหภาพหรือตัวอักษรมีลักษณะเปนดานกลับ reverse
ซึ่งจะถายทอดใหมีลักษณะเปนดานตรงในชิ้นงาน เริ่มตนจากการถูดวยสีหรือหมึกดานหลังของกระดาษ
และผา สวนการพิมพที่ใชระบบนี้ไดแก การพิมพเลตเตอรเพรสและเฟล็กโซกราฟ
• การพิมพพื้นนูนตองอาศัยตัวเรียงพิมพ (ตัวอักษร) และบล็อก (ภาพ)
o ตัวเรียงพิมพ typesetting คือการนําอักษรตะกั่ว (โลหะผสม) มาเรียงเปนขอความตามที่ออกแบบ
มีทั้งการเรียงพิมพดวยมือและเครื่องจักร (ไลโนไทป/โมโนไทป) แลวจึงนําไปพิมพ นํามาใชใหมได
o บล็อก block ตัวบล็อกอาจเปนไม ยาง โลหะ มีลักษณะนูนสูงจากพื้น ภาพที่ปรากฏในบล็อกจะ
กลับดาน และบล็อกที่ใชงานแลวไมสามารถนํามาใชใหมได
เครื่องพิมพหรือแทนพิมพระบบแมพิมพพื้นนูน
– เพลตเทนเพรส platen press เปนการพิมพที่เกาแกที่สุด
ดัดแปลงจากแทนพิมพมือ (hand press) แมพิมพจะตั้งใน
แนวระนาบหรือแนวดิ่ง แลวใชแผนกดแนบลงมาดวยแรงอัด

– ไซลินเดอรเพรส flatbed cylinder press แมพิมพที่มีลูกโม
ทรงกลม แทนรองรับแมพิมพอยูในแนวนอน มีลูกกลิ้งสง
หมึก (ink roller) และลูกกลิ้งแรงกดหรือลูกโม (cylinder)
อยูดานบน แทนพิมพจะเคลื่อนไปรับหมึกและรับกระดาษ
เขามา ลูกกลิ้งแรงกดจะกดหมึกบนแมพิมพ พิมพงานขนาด
ใหญไดดีกวา
– โรตารีเลตเตอรเพรส rotary letter press แมพิมพยาง ติด
กับลูกกลิ้งทรงกลม วัสดุพิมพจะผานกลางระหวางลูกกลิ้ง
แมพิมพกับลูกกลิ้งแรงกด ซึ่งหมุนไปเรื่อยๆ พิมพไดสอง
หนา และพิมพไดรวดเร็ว นิยมใชกับกระดาษเปนมวนและ
การพิมพตอเนื่อง เชน หนังสือพิมพรายวัน
ขอดีของการพิมพระบบเลตเตอรเพรส
– เหมาะกับงานพิมพจํานวนนอยและมี
ขั้นตอนหรือรายละเอียดนอย แกไขงาย
ทําไดเร็ว
– การบรูฟทําไดงายและเสียคาใชจายนอย
– การพิมพสอดสีทําไดยากและไมสวยเทา
ออฟเซต
– กระบวนการพิมพไมยุงยากซับซอนเรื่อง
การปรับสมดุลของภาพ

ขอเสียของการพิมพระบบเลตเตอรเพรส
– ไดภาพพิมพที่ขาดความสม่ําเสมอของเสนและสี ขาด
รายละเอียดของภาพ
– ไมเหมาะกับงานพิมพที่มีบริเวณพื้นทึบขนาดใหญ
– ไมเหมาะกับงานที่ตองการรายละเอียดของภาพสูงหรือมี
ลายเสนประกอบจํานวนมาก
– เกิดรอยนูนดานหลังกระดาษที่ไดรับแรงกดพิมพ
– ไมเหมาะกับงานพิมพสอดสีจํานวนมากเพราะตัวพิมพ
โลหะจะสึกงาย ตองเปลี่ยนบอย

ระบบการพิมพพื้นราบ Planographic Printing
กระบวนการสรางแมพิมพพื้นราบมีลักษณะผิดจากระบบการพิมพพื้นนูนและการพิมพพื้นลึก ภาพและสวนที่
ไมใชภาพอยูบนระนาบเดียวกันหรือเทากันหมด แตบริเวณภาพมีลักษณะเปนไข ซึ่งรับหมึก ไมรับน้ํา สวน
บริเวณไรภาพจะรับน้ํา ไมรับหมึก เมื่อน้ําผานแมพิมพ น้ําจะติดบริเวณพื้น เมื่อผานหมึกบนแมพิมพ หมึก
พิมพจะติดเฉพาะบริเวณภาพ เมื่อใชแรงกด หมึกจะถายทอดจากแมพิมพสูโมยาง กอนจะลงวัสดุพิมพ เปน
การพิมพทางออมที่แมพิมพไมสัมผัสวัสดุพิมพโดยตรง
ระบบการพิมพนี้ไมใชการพิมพโดยตรง เปนการพิมพทางออม แมพิมพไมสัมผัสวัสดุพิมพโดยตรง
เปนการถายทอดจากแมพิมพสูผายางแบล็งเก็ต หรือลูกโมที่หุมผายางกอน จากนั้นจึงถายทอดลงบนกระดาษ
โดยผานแรงกดของลูกกลิ้งแรงกด ภาพหรือตัวอักษรบน แมพิมพจึงไมจําเปนตองกลับดาน
แมพิมพจะเปนโลหะที่รับน้ําไดดี สวนตัวรับภาพตองรับหมึกไดดี รับน้ําไดยาก เคลือบผิวที่ไมใชภาพ
ดวยน้ําเพื่อไมใหหมึกจับติด
ขอดีของการพิมพระบบออฟเซต
– พิมพสีพื้นทึบบริเวณกวางๆไดเรียบเมื่อเปรียบเทียบ
กับระบบอื่น หมึกติดสม่ําเสมอทั่วทั้งภาพ คมชัด
– พิมพไดละเอียดสวยงาม ความละเอียดสูง
โดยเฉพาะพิมพสี
– แมพิมพมีความทนทาน พิมพงานไดจํานวนมากๆ
– แมพิมพจัดเก็บและหาพื้นที่เก็บไดงายเพราะเปน
แผนแบนราบ
– ความนุมของผายางทําใหพิมพบนวัสดุพิมพ
ที่มีพื้นผิวหยาบได
– มีจุดบริการแพรหลาย หาไมยาก

ขอเสียของการพิมพระบบออฟเซต
– การควบคุมการผลิตมีความยุงยากซับซอน
เรื่องน้ํากับหมึกบนแมพิมพ ตองมีทักษะ
– การสูญเสียกระดาษมากกวาการพิมพ
ระบบอื่นๆ เนื่องจากปญหาการปรับสมดุล
ในการปอนหมึกและน้ํา
– การควบคุมอุณหภูมิหองพิมพตอง
ระมัดระวัง
เพราะระบบพิมพมีน้ําเปนสวนประกอบ
ทําใหความชื้นสัมพัทธในหองสูง สงผลทํา
ใหกระดาษยืดหดตัวไดสูง

ระบบการพิมพรองลึก/พื้นลึก Gravure
• กระบวนการสรางภาพบนแมพิมพทองแดงทรงกระบอกเปนการพิมพทางตรง ภาพและตัวอักษรบน
แมพิมพจะกลับดาน (reverse) โดยโลหะทองแดงจะถูกกัดลึกเปนรองหรือเปนบอลงไปจากผิวหนา
ของแมพิมพ หมึกพิมพที่ใชมีความหนืดต่ํา ลักษณะเหลวคลายน้ํา โมแมพิมพจะหมุนรอบตัวเองเพื่อ
รับหมึกพิมพตลอดเวลา หมึกพิมพจะไหลเขาขังตัวอยูตามรองลึก (บอหมึก) ซึ่งเปนเนื้อภาพ มาก
นอยตามขนาดและความลึกของแตละบอ บริเวณไรภาพจะไมมีหมึกติดอยู เพราะมีใบปาดหมึก
doctor blade คอยปาดหมึกออก
• เมื่อนําวัสดุพิมพวางทาบบนแมพิมพและใชแรงกด หมึกจะถายทอดจากแมพิมพลงบนวัสดุพิมพ ให
คุณภาพงานพิมพสวยงาม แตมีตนทุนทําแมพิมพสูง เหมาะกับงานพิมพจํานวนมากๆ
• ระบบการพิมพนี้แบงออกเปนสองประเภทหลัก คือ
การพิมพแบบอินทาลิโอ Intaglio แมพิมพจะถูกกัดเปนรองลึก หมึกพิมพเหนียวขน ภาพที่ไดจะนูน
ขึ้นมาเพราะหมึกพิมพจับหนา ใชในสิ่งพิมพที่ปลอดการปลอมแปลง security printing เชน ธนบัตร
อากรแสตมป
การพิมพกราวัวร gravure ซึ่งแมพิมพถูกกัดเปนรองหรือบอเล็กๆจํานวนมาก หมึกพิมพมีลักษณะ
เหลว ไหลไดดีใชพิมพสิ่งพิมพจํานวนมากๆ เชน หอบรรจุภัณฑตางๆ และสามารถพิมพไดดีบนวัสดุ
พิมพที่หลากหลาย ทั้งกระดาษ พลาสติก ไวนิล และฟอยล
ขอดีของการพิมพกราวัวร
– ใหภาพที่มีคุณภาพดี ความละเอียดสูง แมจะเปนกระดาษ
บางและคุณภาพต่ํา
– ความเร็วสูง แมพิมพมีอายุการใชงานยาวนาน เหมาะกับ
การพิมพจํานวนมากๆ
– ใหคุณภาพสีที่มีน้ําหนักตอเนื่อง แมบนวัสดุพิมพที่มี
คุณสมบัติคอนขางต่ํา
– ใชวัสดุพิมพไดหลายชนิด เชน กระดาษ พลาสติก
อะลูมิเนียมเปลว (Aluminium foil) และวัสดุเคลือบลามิเนต
– นิยมพิมพบรรจุภัณฑทั่วไป สิ่งพิมพ และการพิมพพิเศษ
เอกสารปลอดการปลอมแปลง เชน ธนบัตร อากรแสตมป
และปริญญาบัตร ใชระบบการพิมพอินทาลิโย (Intaglio)
ซึ่งหมึกจะเหนียวกวาระบบกราวัวรมาก

ขอเสียของการพิมพกราวัวร
– การทําแมพิมพมีความซับซอน
มากกวาในระบบการพิมพอื่นๆ
– โมแมพิมพมีน้ําหนักมากและทําให
สิ้นเปลืองเนื้อที่ในการจัดเก็บ
– คาใชจายคอนขางสูงในการทํางาน
พิมพแตละครั้ง
– ตัวทําละลายของหมึกพิมพมีความ
ไวไฟสูงตองใชอยางระมัดระวัง
– ไมเหมาะกับการพิมพภาพตัวอักษร
หรืองานลายเสน เพราะเห็นรองรอย
ของบอหมึก

ระบบการพิมพพื้นฉลุ stencil
ใชหลักการของพื้นฉลุ (stencil) โดยใหหมึกไหลผานชองแมพิมพสกรีนที่ทําดวยเสนใยละเอียด (เชน ไนลอน
คาดรอน เหล็ก) ตามลวดลายลงไปบนวัสดุพิมพและปดบริเวณที่ไมตองการพิมพเพื่อไมใหหมึกไหลผาน
แมพิมพจะขึงตึงอยูบนกรอบสีเหลี่ยม การพิมพประเภทนี้สามารถปรับแรงกดใหพิมพลงบนวัสดุไดแทบทุก
ประเภท เชน แกว ไม โลหะ พลาสติก ผา กระดาษ แตตองเลือกชนิดหมึกใหถูกตองกับวัสดุ เชน การพิมพ
ซิลกสกรีนและการพิมพโรเนียว
การพิมพโรเนียว mimeograph duplicating
• เริ่มใชอยางกวางขวางในป ค.ศ. 1885 คําวาโรเนียว เปนชื่อเรียกเครื่องผลิตสําเนาเอกสารดวยวิธีการ
โรเนียวของบริษัท เอบีดิก A-B Dick Co. ปจจุบัน โรเนียวใชสําหรับการผลิตสําเนาที่ไมตองการ
คุณภาพงานพิมพสูงนัก มีงบประมาณจํากัด และตองการสําเนาจํานวนไมมาก
• หลักการ พิมพขอความดวยเครื่องพิมพดีดหรือเครื่องพิมพอื่นบนกระดาษไขที่มีคุณสมบัติไมใหหมึก
ซึมผาน หรือวาดลวดลายบนกระดาษไขดวยของแหลมหรือคมจนกระดาษทะลุเปนลายตามตองการ
เมื่อผานหมึกลงไป หมึกจะไหลผานรองรอยที่ทะลุขาด และถายทอดขอความหรือภาพบนวัสดุพิมพ
การพิมพพื้นฉลุหรือซิลกสกรีน silk screen printing
• การพิมพพื้นฉลุมีชื่อเรียกหลายชื่อ เชน stencil printing, screen printing, silk screen, serigraphy,
mitography, selectine
• ปจจุบัน ใชพิมพสิ่งพิมพที่มีจํานวนพิมพและงบประมาณนอย แตคุณภาพสูง สามารถพิมพภาพ
ลวดลายละเอียดและภาพฮาลฟโทนบนวัสดุพิมพเกือบทุกชนิด หลากพื้นผิว ลวดลาย และรูปทรง
เพียงแตมีขนาดจํากัดตามกรอบสกรีนเทานั้น
• นอกจากนี้ยังพิมพหมึกพิมพหลายชนิดที่เปนหมึกทึบแสงไดดวย เชน หมึกพิมพวาวแสง(fluorescent
ink) หรือหมึกโลหะ (metallic ink)
• แมพิมพทําดวยผาเนื้อโปรง หรือตะแกรงละเอียด screen ซึ่งหมึกพิมพสามารถทะลุผานได โดยถาย
ตนฉบับลงบนฟลม อัดฟลมบนแผนสกรีนที่เคลือบสารไวแสง จากนั้นฉายกแสงอัลตราไวโอเลตความ
เขมสูง เมื่อนําแผนสกรีนไปลาง สวนที่เปนภาพจะมีลักษณะเปนรูโปรง เมื่อนําหมึกพิมพปาดลงไป สี
ของหมึกจะทะลุผานไปติดวัสดุพิมพเฉพาะสวนที่ตองการ ใชในงานที่ตองการจํานวนไมมาก เชน
โปสเตอร แผนพับ เสื้อยืด แผนโฆษณา พิมพกี่สีก็ได
หลักการทํางาน
• การเลือกหมึกในการพิมพสกรีนตองใชหมึกที่ทําจากผงสีและสิ่งนําที่ไหลผานรูเปดของผาสกรีนไดดี
ใหชั้นหมึกที่มีคาความเขม density ตามตองการ โดยพิจารณาลักษณะและขอจํากัดของสิ่งพิมพเมื่อ
นําไปใชงาน เชน บิลบอรดตองทนตอทุกสภาพอากาศ กลองหรือขวดผงซักฟอกตองทนสารเคมี ฯลฯ
• พื้นฉลุสามารถใชในการพิมพไดหลายครั้ง จนกวาจะขาดหรือเสียรูป กอนนําไปพิมพตองตรวจหารูรั่ว
หรือตามด pinhole กอนทุกครั้ง ถาพบใหอุดดวยน้ํายา และอุดรอยตอระหวางกรอบและผาสกรีน
ดวยเทปกาวประเภททนน้ํา สวนการผานหมึกบนวัสดุพิมพทําไดโดยใชที่ปาดสีที่หยุนตัว

• การปาด ควรปาดเพียงครั้งเดียว ที่ปาดจึงควรใหญกวาภาพเสมอ
– การปาดสีเพื่อคลุมแบบ (ลอยตัว ไมมีชิ้นงานรองรับ) ปาดออกจากตัว โดยมีมุมปาด 45 องศา
– การพิมพ เปนการปาดหมึกเขาหาตัว โดยมีชิ้นงานรองรับผาสกรีนดานลาง หมึกจะทะลุผาน
ลวดลายลงสูชิ้นงาน เปนภาพเหมือนตนฉบับที่สวยงาม เมื่อปาดหมึกพิมพแลว ตองปาดสีเพื่อ
คลุมแบบทุกครั้ง เพื่อไมใหผาสกรีนแหงและเกิดการอุดตัน
ขอดีของการพิมพพื้นฉลุ
• ราคาถูก
• เหมาะกับงานพิมพจํานวนนอย
• พิมพบนวัสดุไดเกือบทุกชนิด
• สามารถใชหมึกที่การพิมพอื่นใชไมได
• เหมาะกับการพิมพงานลายเสน ตัวอักษร
ที่รายละเอียดนอย
สรุปการพิมพพื้นฐาน
• เลตเตอรเพรส
– มีจํานวนไมเกิน 2,000-3,000 ชุด
– ขนาดไมใหญ ภาพประกอบนอย
– ไมเปนงานพิมพหลายสี

ขอเสียของการพิมพพื้นฉลุ
• ไมเหมาะกับการพิมพภาพสกรีน (ไล
โทน)
• ไมเหมาะกับงานพิมพจํานวนมาก เชน
หนังสือพิมพ นิตยสาร
• พิมพสกรีนหลายสีควรเปนการสกรีนคน
ละตําแหนง สีจะสดใสกวา

– มีเวลาทํางานพอสมควร
– มีงบประมาณการพิมพจํากัด
• ออฟเซต
– จํานวนพิมพ 3,000 ขึ้นไป
– ตองการความรวดเร็ว
– ความประณีต งดงาม
• กราวัวร
– จํานวนพิมพสูงมาก
– ตองการพิมพบนวัสดุพิเศษ เชน
กระดาษ พลาสติก และฟอยล
– มีความละเอียดของภาพสูงมาก
• ซิลกสกรีน
– โฆษณา (โปสเตอร) ขนาดใหญ
จํานวนพิมพไมมาก
– พิมพบนวัสดุพิเศษ เชน ขวดแกว
พลาสติก ผา หนัง โลหะ เซรามิก

– ตองการพิมพหลายสี
– ตนฉบับมีภาพประกอบและรายละเอียด
มาก
– ตองการสีแจม (กระดาษหอ
ของขวัญ) หรือความแนนอนของสี
(โฆษณา บรรจุภัณฑ เครื่องสําอาง)
– พิมพแผงวงจรไฟฟา
– พิมพงานที่เนนความงามทางศิลปะ
พิเศษ และพิมพจํานวนนอยชิ้น

3.2 ระบบการพิมพไรแรงกด/ไมสัมผัส
• หากยังจําได นิยามการพิมพเดิมกําหนดใหการพิมพมีองคประกอบอยางนอยสามอยาง คือ แมพิมพ
การลงหมึก และแรงกดพิมพ ซึ่งเปนที่มาของระบบพิมพตางๆ แตการพิมพยุคใหมองคประกอบ
บางอยางอาจขาดไป เชน การพิมพระบบดิจิทัลที่ไมตองใชแมพิมพหรือแทนพิมพอีกตอไป เรียกวา
plateless process และเมื่อเชื่อมตอกับระบบเครือขาย ก็จะเกิดการพิมพบนอินเทอรเน็ตที่อํานวย
ประโยชน รองรับความตองการใหมๆของผูบริโภคที่ตองการ ทั้งสื่อสิ่งพิมพและสื่ออินเทอรเน็ต
• การพิมพดิจิทัลเกิดขึ้นเมื่อมีการประดิษฐคิดคนคอมพิวเตอรจนแพรหลายและมีโปรแกรมรองรับการ
ทํางานตางๆ รวมถึงเทคโนโลยีปรินเตอรดวย แนวโนมความเปลี่ยนแปลงนี้เกิดจากธุรกิจการพิมพ
สมัยใหมที่ทําทุกอยางไดดวยคอมพิวเตอร ตั้งแตการเตรียมพิมพ การจัดหนา การสงงานผานเครือขาย
• ขอดีของระบบการพิมพนี้คือสามารถแกขอมูลไดทันที ไมเสียเวลาในการพิมพ และพิมพงานจํานวน
นอยๆไดโดยคาใชจายถูกกวา ประกอบกับความตองการสิ่งพิมพของผูบริโภคเริ่มเปลี่ยนไป มี
ลักษณะสั่งจํานวนนอยและตองการเร็ว (on-demand printing) มากขึ้น ทําใหการพิมพระบบ
ดิจิทัลไดรับความนิยม นอกจากนี้ เครื่องพิมพดิจิทัลรุนใหมๆยังพัฒนาความสามารถพิมพงาน
ประเภทอื่นๆ ทั้งฉลาก จดหมายขาว การด แผนโปรงใส ไดดีขึ้น
การพิมพไรแรงกดหรือไรสัมผัส non-impact printing/digital printing เปนระบบที่พัฒนาขึ้นใหม ยังไมถือ
เปนมาตรฐานเหมือนการพิมพพื้นฐาน การพิมพไมไดเกิดจากการถายหมึกจากแมพิมพสูชิ้นงาน แตเปนการ
ทําปฏิกิริยาระหวางแสงกับปฏิกิริยาเคมีบนชิ้นงาน จึงผลิตงานไดนอยชิ้นและคุณภาพไมคงทนนัก
• การพิมพระบบพนหมึก inkjet printing
ใชสัญญาณคอมพิวเตอร (ไฟฟา) ปอนขอมูลภาพหรืออักษรไปสูอุปกรณที่ใชพิมพ ซึ่งจะแปลงเปน
สัญญาณความรอน เมื่อไดรับสัญญาณไฟฟาจากคอมพิวเตอรที่แปลงเปนสัญญาณความรอน ครื่องพิมพซึ่ง
ประกอบดวยหนวยแรงอัดหมึกและหัวพน nozzle จะพนหมึกเหลวเขาสูระบบจายไฟฟาเพื่อสรางประจุให
หยดหมึก โดยควบคุมและหักเหทางเดินของหยดหมึกใหตกบนวัสดุพิมพเปนภาพหรืออักษรที่ตองการ
– พัฒนาจากการพิมพฉลากหรือรหัสสินคาลงบนกลองหรือขวด ภาพพิมพที่ออกมาในลักษณะที่เห็นเปน
จุดๆ ปจจุบันสามารถพนหมึกไดหลายสีโดยใชการถายทอดขอมูลจากคอมพิวเตอร
• การพิมพโดยการถายโอนความรอน thermal transfer printing
ใชแถบริบบอน ribbon เคลือบหมึกที่มีลักษณะคลายขี้ผึ้งหรือหมึกที่หลอมดวยความรอน hot-melt ink เมื่อ
ไดรับความรอน หมึกจะละลายติดวัสดุพิมพ เกิดจากการเชื่อมสัญญาณคอมพิวเตอร (ไฟฟา) ไปที่หัวพิมพ
เมื่อสัญญาณไปถึงหัวพิมพ จะเกิดความรอนประมาณ 500 ฟาเรนไฮต (260 เซลเซียส) เมื่อถายเทความ
รอนจากหัวพิมพไปยังฟลมที่เคลือบดวยหมึก หมึกจะหลอมเหลวติดวัสดุพิมพจนเกิดเปนภาพในเวลาเพียง
เศษหนึ่งในพันของวินาทีเทานั้น ระบบนี้พิมพไดทั้งสีและขาวดํา สวนมากใชกับระบบการพิมพปรูฟสี
• เครื่องถายเอกสาร xerography/electrostatic printing (xero = แหง graphos = การเขียน)
เปนการสรางภาพลายเสนที่ใกลเคียงตนฉบับในเวลารวดเร็วและราคาไมแพง ใชหมึกผง (toner) หรือ
เหลว ทําใหเกาะติดกระดาษที่เคลือบดวยชั้นไวแสงที่มีประจุไฟฟา (photoconductive layer) โดยอาศัย
หลักการถายภาพดวยไฟฟาสถิต เมื่อกดปุมพิมพ หลอดสรางไฟฟาสถิตจะทําใหบริเวณที่เปนภาพเกิด
ไฟฟาขั้วตรงขามกับผงหมึก ดูดผงหมึกวิ่งเขามาติดบริเวณนั้นและเกิดเปนภาพ แตเนื่องจากผงหมึก
สามารถลบและหลุดออกได จึงตองผานเครื่องทําความรอนเพื่อใหหมึกละลายติดกระดาษ การสรางภาพ
สอดสีทําไดในราคาต่ํา โดยในเครื่องถายเอกสารจะมีหมึกผงสี 3 หนวยตามแมพิมพที่ใชพิมพ
• เครื่องพิมพเลเซอร laser (light amplification by stimulated emission of radiation)
ผสมผสานเทคโนโลยีไฟฟาสถิตกับคอมพิวเตอร ทํางานเหมือนเครื่องถายเอกสาร ยกเวนระบบฉายแสง
นั่นคือใชแหลงกําเนิดแสงเปนเลเซอรในการถายทอดภาพบนหนวยบันทึกภาพโดยตรง ไมตองอาศัยการ
สะทอนแสงจากตนฉบับ ไมตองใชตนฉบับจริงในการสรางภาพ แตใชขอมูลดิจิทัลจากคอมพิวเตอรไดเลย
ความแตกตางของระบบพิมพอยูที่เทคโนโลยีในการสงและการแปรสัญญาณไฟฟาจากหนวยความจํา:

เปรียบเทียบการพิมพไมสัมผัสกับการพิมพพื้นฐานทั่วไป
• ประสิทธิภาพในการผลิต เครื่องพิมพในระบบพิมพไมสัมผัสยังมีความเร็วต่ํากวาการพิมพพื้นฐาน
เครื่องพิมพออฟเซตสีเดียวมีความเร็ว 8,000-120,000 แผนตอชม. สวนเครื่องพิมพเลเซอรมี
ความเร็ว 200 แผนตอนาทีสําหรับกระดาษ A3
• นิยมใชในงานสํานักงานถึงงานพิมพทั่วไป แตถาเปนอุตสาหกรรม จะใชการพิมพพื้นฐานเปนหลัก
• คุณภาพดี อาจจัดทําหนังสือสั่งทําพิเศษ เชน หนังสือทํามือ คือเปนงานที่เนนคุณภาพ ทําปริมาณ
นอย โดยอาจมีราคา (ตอชิ้น) สูงกวาปกติ
พัฒนาการของระบบการพิมพ DTP (desktop publishing)
• อุปกรณนําเขา กลองดิจิทัล เครื่องบันทึกวีดิทัศน แผนบันทึกหรือดิสก
เก็บขอมูล สแกนเนอร กลองวีดิทัศนนิ่ง still video เครื่องบันทึกเสียง
audio source ฐานขอมูล data base
• อุปกรณสงออก จอภาพ อินเทอรเน็ต ลําโพง เครื่องพิมพดิจิทัล
ซีดีรอม เครื่องบันทึกวีดิทัศน เครื่องสรางภาพบนฟลม เครื่องสรางภาพ
บนแมพิมพ รวมไปถึงโปรแกรมซอฟตแวรจัดการสีและภาพและกราฟก
สถานีไฮเอนด เครือขายเชื่อมตอ และเครื่องสรางภาพบนแผนฟลม
(image setter) เครื่องสรางภาพบนแมพิมพ (plate setter)
• เทคโนโลยีดิจิทัลมีการพัฒนาอยางรวดเร็ว ขั้นตอนการพิมพตางๆ ทํางานรวมกันผานระบบเครือขาย
ไดทั้งหมด ตั้งแตการออกแบบ การจัดการขอมูล การสั่งพิมพ และการนําขอมูลมาใชซ้ํา
• ขอดีของเทคโนโลยีดิจิทัล เชน อุปกรณแตละชิ้นมีขนาดไมใหญมาก ผูปฏิบัติการไมตองสัมผัส
สารเคมีหรือน้ํายาหรือหมึกพิมพที่เกิดมลพิษ แตเครื่องไมเครื่องมือมีราคาสูง ตองอาศัยผูชํานาญการ
เรื่องเทคโนโลยี การใชงาน และการบํารุงรักษาอุปกรณ
ประเภทของสื่อที่เปลี่ยนจากแอนะล็อกเปนดิจิทัล
• สิ่งพิมพทั่วไป (Traditional Print)
• สื่ออิเล็กทรอนิกส (Electronic and digital media) แผนซีดี-รอม และคอมแพ็กตดิสกทั่วไป
• สื่อสิงพิมพผานระบบเครือขาย (Network) คอมพิวเตอร-ทู-ปรินต การพิมพตามสั่ง
• สื่อบริการขอมูลผานเครือขาย (Network information) ไดแก ขอมูลผานเคเบิลทีวี Interactive TV
• สื่อผานอินเทอรเน็ตและอินทราเน็ต
เปาหมายของ DTP: Desktop Publisher
– ลดขั้นตอนการผลิตใหสั้นลง
– ใชคนนอยลง ใชเครื่องจักรแทนที่มากขึ้น
– มีระบบควบคุมคุณภาพดีขึ้น

– นําไปสูระบบและโรงงานอัตโนมัติมากขึ้น
– สงขอมูลไปพิมพไดทุกแหงในโลก

ปรากฏการณใหมในโลกสิ่งพิมพยุคดิจิทัล
• การนําเทคโนโลยีใหมเขามาผนวกในสิ่งพิมพทั่วไป เชน การใชภาพสามมิตใน บางกอกโพสต
ิ
• หนังสือพิมพและนิตยสารออกฉบับออนไลนควบคูกับฉบับปกติ (หรือออกฉบับออนไลนอยางเดียว)
โดยมีทั้งบริการฟรีและเก็บเงิน
• เกิดสื่อใหมที่มีการผสมผสานภาพ เสียง และภาพเคลื่อนไหว
• หนังสืออิเล็กทรอนิกส อานในเน็ต หรือเครื่องมืออานพิเศษของคายตางๆ เชน อะเมซอน (คินเดิล)
4. กระบวนการผลิตสิ่งพิมพ
• กระบวนการผลิตสิ่งพิมพประกอบดวยสามขั้นตอนหลักซึ่งปจจุบันดําเนินการหรือแกไขดวยคอมฯ ได
กอนพิมพ prepress process การเตรียมตนฉบับ เขียน ถายภาพ (แปลงเปนดิจิทัล) ออกแบบจัด
หนา ทํารูปเลม แยกสี ตรวจปรูฟ ทําแมพิมพ
พิมพ press/priting process พิมพ (หมึก สี กระดาษ)
หลังพิมพ post-press process ตกแตงผิว เคลือบผิว พับ ตัด เก็บเลม เขาเลม บรรจุหีบหอเพื่อจัดสง
ขั้นเตรียมการ preparation วางแผนผลิตจนถึงตนฉบับเสร็จ ประกอบดวย การวางแผน การประสานงาน
การทําตนฉบับ การตรวจตนฉบับ
ขั้นกอนพิมพ prepress
ประกอบและปรับแปลงตนฉบับ ประกอบดวย การเรียงพิมพ การออกแบบจัด
หนา การทําดิจิทัลปรูฟ การทําแมพิมพ (plate)
ขั้นพิมพ press
คากระดาษ เนื้อในและปก คาพิมพ จากจํานวนพิมพ เงื่อนไขการพิมพ (สี/ขาว
ดํา) สเปกงานอื่นๆ
ขั้นหลังพิมพ postpress/finishing เชน การปรับแตงผิวกระดาษ เคลือบปก (ลามิเนต สปอตยูวี) พิมพนูน
หรืออื่นๆ การแทรก ใบปลิว สายคาด ของแถมของสมนาคุณ การเก็บเลม

More Related Content

Featured

Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Pixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
ThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
marketingartwork
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
Skeleton Technologies
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
SpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Lily Ray
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
Rajiv Jayarajah, MAppComm, ACC
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
Christy Abraham Joy
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
Vit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
MindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
RachelPearson36
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Applitools
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
GetSmarter
 

Featured (20)

Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 

210 printing

  • 1. ความรูเกี่ยวกับการพิมพ (วส 210 – 02/2556) ศรรวริศา เมฆไพบูลย sanwarisa@gmail.com 1 นิยามความหมาย 2 ประวัติการพิมพ ตะวันออก ตะวันตก ไทย 3 ระบบการพิมพ การพิมพสัมผัส (การพิมพพื้นฐาน) 4 ระบบ การพิมพไรสัมผัส การพิมพดิจิทัล 4 กระบวนการพิมพ กอนพิมพ / พิมพ / หลังพิมพ 1. นิยามความหมาย: การพิมพ • น. รูป, แบบ; ก. ถายแบบ, ใชเครื่องจักรกดตัวหนังสือหรือภาพใหติดบนวัตถุ (พจนานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติ, 2532: 381) • กรรมวิธีใดๆ ในการจําลองภาพ หรือสําเนาภาพ หรือหนังสือจากตนฉบับในลักษณะสองมิติ แบน ราบ ทั้งนี้ รวมถึงการพิมพผา การพิมพกระดาษปดฝาผนังและการอัดรูป (Mill, 1968: 590) • การพิมพ คือ การจําลองตนฉบับอันหนึ่งจะเปนภาพหรือตัวหนังสือก็ตามออกเปนจํานวนมากๆ เหมือนกัน บนวัสดุที่เปนพื้นแบน หรือใกลเคียงกับพื้นแบนดวยการใชเครื่องมือกล (กําธร สถิรกุล, 2515: 177) พระราชบัญญัติการพิมพ พ.ศ. 2484 • "พิมพ" ทําใหเปนตัวหนังสือหรือรูปรอยใด ๆ โดยการกดหรือการใชพิมพหิน เครื่องกล วิธีเคมี หรือ วิธีอื่นใดอันอาจใหเกิดเปนสิ่งพิมพขึ้นมาหลายสําเนา พระราชบัญญัติจดแจงการพิมพ พ.ศ. 2550 • พิมพ ทําใหปรากฏดวยตัวอักษร รูปรอย ตัวเลข แผนผังหรือภาพ โดยวิธีการอยางใดๆ • สิ่งพิมพ สมุด หนังสือ แผนกระดาษ หรือวัตถุใดๆ ที่พิมพขึ้นเปนหลายสําเนา • หนังสือพิมพ สิ่งพิมพซึ่งมีชื่อจาหนาเชนเดียวกัน และออกหรือเจตนาจะออกตามลําดับเรื่อยไป มีกําหนดระยะเวลาหรือไมก็ตาม มีขอความตอเนื่องกันหรือไมก็ตาม ทั้งนี้ใหหมายความรวมถึง นิตยสาร วารสาร สิ่งพิมพที่เรียกชื่ออยางอื่นทํานองเดียวกัน • โดยสรุป การพิมพ คือ ศาสตรและศิลปในการผลิตสําเนาจํานวนมากๆ จากตนฉบับ (ภาพวาด ภาพถาย หรือตัวอักษร) ลงสูวัสดุพิมพ โดยตนฉบับจะประกอบดวยเสน และ/หรือ จุด การผลิต สําเนา จะใชหมึก โดยจะมีแมพิมพ หรือมีแรงกดหรือไมก็ได วัสดุที่ใชพิมพเปนวัสดุผิวเรียบ อาจ เปนกระดาษ พลาสติก โลหะ หรือสิ่งทอ ฯลฯ 2. ประวัติการพิมพ: ตะวันออก ตะวันตก ไทย การพิมพสืบยอนกลับไปไดตั้งแตสมัยที่มนุษยเริ่มมีการวาดภาพเพื่อสื่อความหมายบางอยาง และคอยๆพัฒนา จนเกิดอักษรภาพขึ้น และพยายามหาวิธีที่จะคัดลอกหรือทําซ้ําสิ่งเหลานั้น 4,000 ปกอน ค.ศ. เมโสโปเตเมีย – อักษรลิ่ม cuneiform เกิดจากการใชของแข็งกดลงบนดินเหนียวจน เกิดเปนสัญลักษณ 2,000 ปกอน ค.ศ. อียิปต – อักษรภาพ hieroglyph พบบนจารึกโบราณ กําแพงวิหาร หลุมฝงศพ ตอมามีอักษรที่ใชสลักบนแผนหินและเขียนบนแผนเปลือกไม (ปาปรุส) โดยใชยางไม ซึ่งจะมวนเก็บไว 600 ปกอน ค.ศ. กรีซ – ใชเหล็กแหลมเขียนบนขี้ผึ้งเคลือบแผนไมที่เรียกวา waxtablet เปนการเขียน ชั่วคราว เมื่อตองการเขียนใหม ก็นําไปลนไฟใหขี้ผึ้งละลาย
  • 2. การพิมพในตะวันออก การพิมพเริ่มพัฒนาขึ้นในโลกตะวันออก โดยเฉพาะจีน ญี่ปุน และเกาหลี เหตุการณสําคัญที่เกิดขึ้น เชน 255 ปกอน ค.ศ. จีนและเอเชียกลางรูจักการแกะสลักดวงตราบนกอนหิน กระดูกสัตวและงาชางเพื่อใช ประทับบนดินเหนียว ขี้ผึ้ง หรือครั่ง (เชน ตราหยกของฮองเต) ป ค.ศ. 105 ชาวจีนชื่อไชหลุน Cài Lún คิดวิธีทํากระดาษ ป ค.ศ. 175 เกิดเทคนิคการพิมพถู (rubbing) ในจีน โดยนํากระดาษไปทาบบนแผนหินที่สลักวิชาความรู และใชถาน/สีระบายจนเกิดลายตามรูปรอยที่นูนขึ้นมา ป ค.ศ. 400 ชาวจีนทําหมึกแทงโดยใชเขมาไฟเปนเนื้อสี นําไปผสมกาวที่เคี่ยวจากกระดูกและหนังสัตว ป ค.ศ. 500 จีนเขียนหนังสือบนซีกไผ เจาะรูรอยเชือกไวเปนมัดๆ กอนจะเปลี่ยนมาเปนผาไหมซึ่งเบากวา แตราคาสูง ขณะที่อินเดียใชวิธจารบนใบลาน แลวเจาะรู ใชเชือกรอยเปนเลม ี ป ค.ศ. 575 การพิมพโดยแมพิมพไม (wood block printing) โดยแกะตัวหนังสือที่มีลักษณะกลับหัวที่จีน ป ค.ศ. 770 งานพิมพแกะไมเกาแกที่สุดที่ยังเหลืออยูเปนคําสวดปดรังควาน/ยันต ขนาด 6*45 ซม. ที่ จักรพรรดินีโชโตกุ Shotodu ของญี่ปุน ทรงใหพิมพแจกหลังปราบกบฎเอมิไดสําเร็จ ใชเวลา 6 ป ป ค.ศ. 868 หวางเจิน Wáng Zhēn พิมพหนังสือเลมแรกคือวัชรสูตร ดวยแมพิมพแกะไม ลักษณะเปน มวนยาว 16*1 ฟุต พบในถ้ําที่ตุนหวาง ป ค.ศ. 950 จีนดัดแปลงหนังสือมวนเปนหนังสือพับ (ลักษณะคลายสมุดขอย) ป ค.ศ. 1041-1048 ไปเช็ง Bì Shēng พัฒนาแมพิมพโดยนําดินเหนียวมาปนตัวหนังสือ ตากใหแหง และเผา เพื่อใหใชไดหลายครั้ง กลายเปนตัวเรียงพิมพ movable type ป ค.ศ. 1116 จีนทําหนังสือเย็บเลมดวยเชือก ตนแบบหนังสือปจจุบัน stitched book ป ค.ศ. 1241 เกาหลีหลอตัวพิมพโลหะครั้งแรกโดยใชทองแดงผสมกับดีบุกในสมัยกษัตริยไทจง การพิมพในตะวันตก ป ค.ศ. 476 เมื่อกรุงโรมถูกทําลาย หนังสือก็ถูกทําลายไปดวย ยกเวนสวนที่ลักลอบขนไปคอนสแตนติโนเปล ป ค.ศ. 500-1400 ชวงที่ตะวันออกพัฒนาดานการพิมพ ยุโรปอยูในยุคมืด อํานาจปกครองเปนของศาสน จักร ประชาชนไมรูหนังสือ มีเพียงชนชั้นสูงและพระที่ไดเขียนอาน งานเขียนสวนใหญเปนปรัชญาศาสนา ป ค.ศ. 1423 การพิมพดวยแมพิมพแกะไม พิมพรูปภาพเปนหลัก มีตัวหนังสือประกอบ ชาและตนทุนสูง ป ค.ศ. 1440 โยฮันน กูเตนเบิรก ชาวเยอรมัน คิดคนตัวพิมพขึ้นเปนคนแรกในยุโรป และสรางแมพิมพหลอ ตะกั่วขึ้นไดสําเร็จ ไดรับยกยองเปน “บิดาแหงการพิมพ” พิมพผลงานสําคัญคือ “พระคัมภีร 42 บรรทัด”นอกจากคิดตัวเรียงพิมพแลว กูเตนเบิรกยังออกแบบตัวพิมพ แกะแมพิมพ หลอตัวพิมพ ทํา หมึกพิมพ และประดิษฐเครื่องพิมพที่ดัดแปลงจากเครื่องคั้นองุนดวย • ตัวเรียงพิมพของกูเตนเบิรก แกะสลักตัวอักษร a-z เปนตัวๆ โดยแตละตัวมีลักษณะเปนอักษรนูน ดานตรงขามกับตัวอักษรติดกับเครื่องปม เมื่อนําไปปมบนกระดาษ จะไดตัวอักษรอยูในกรอบสี่เหลี่ยม เล็กๆ เขาพบวาโลหะที่ดีที่สุดสําหรับการหลอตัวพิมพคือโลหะผสม ดีบุก ตะกั่ว พลวง (5: 12: 23) • หนังสือเลมแรกที่พิมพในยุโรปดวยตัวพิมพของกูเตนเบิรกคือ “พระคัมภีร 42 บรรทัด” พิมพเสร็จ เมื่อป 1455 โดยใชภาษาละติน ลักษณะของพระคัมภีรเลมนี้คือ แตละหนามี 2 คอลัมน แตละ คอลัมนมี 42 บรรทัด หนังสือทั้งหมดหนา 1,282 หนา และพิมพ 200 เลม ใชเวลาพิมพไมนอย กวา 5 ป เนื่องจากแทนพิมพตองอาศัยแรงอัดจากการขันเกลียว ทําใหพิมพไดชา (มาก) • ชางฝมือในยุโรปเขามาศึกษาการพิมพที่เมืองไมนซและนําความรูกลับไปพัฒนางานพิมพในประเทศ สงผลใหการพิมพแพรหลายและกาวหนา สังเกตวา แมจะเริ่มพัฒนาในโลกตะวันออก แตการพิมพ กลับพัฒนากาวหนาและเจริญรุงเรืองในตะวันตก เนื่องจากคานิยมของตะวันออกมีลักษณะของการ เก็บงําไวเฉพาะกลุมหรือพวก ไมนิยมเผยแพรและถายทอดอยางคนตะวันตก โอกาสที่ความรูจะแตก ยอดและเติบโตขึ้นจึงนอยกวา ป ค.ศ. 1457 โจฮันน ฟูสต และปเตอร เชิฟเฟอร Johann Fust + Peter Schoeffer พิมพหนังสือพรอมกับ ปที่พิมพเปนครั้งแรก ป ค.ศ. 1492 (โคลัมบัสพบทวีปอเมริกา) ยุโรปมีหนังสือรวมกันประมาณ 40,000 เรื่อง โดยแตละเรื่องมี จํานวนพิมพไมนอยกวา 100 เลม
  • 3. ป ค.ศ. 1495 อัลเบร็กต ดูเรอร Albrecht Durer จิตรกรเยอรมัน คิดวิธีพิมพจากแมพิมพทองแดง (Copper plate engraving) ถือเปนตนกําเนิดของการพิมพดวยแมพิมพพื้นลึก ป ค.ศ. 1499 อัลดัส แมนิวเทียส Aldus Manutius ชางพิมพเวนิส ลดขนาดตัวหนังสือใหเล็กลงและคิดตัว เอน (italic) ขึ้น เพื่อใหพิมพไดเยอะขึ้น จึงพิมพไดในราคาถูกลง เกิดหนังสือพ็อกเก็ตบุกเขายังออกแบบ สัญลักษณปดทายงานพิมพ (colophon) เปนรูปปลาพันสมอเรือ ป ค.ศ. 1513 เออรส กรัฟ Urs Graf คิดการใชน้ํากรดกัดแผนเหล็กใหเปนรองเพื่อทําแมพิมพกราวัวร ซึ่ง เปนตนแบบแมพิมพธนบัตรและเอกสารสําคัญ ป ค.ศ. 1620 วิลเลม แจนสซูน เบลา Willem Janszoon Blaeu ชาวดัตช ประดิษฐเครื่องพิมพดัตช ทําดวย โลหะและการหมุนแกนขึ้นลง ป ค.ศ. 1790 วิลเลียม นิโคลสัน William Nicholson ชาวอังกฤษ คิดเครื่องพิมพทรงกระบอก cylinder press และนําเครื่องจักรไอน้ํามาเดินเครื่องพิมพ ทําใหงานพิมพสะดวกรวดเร็วขึ้นมาก ป ค.ศ. 1793 อาลัวส เซเนฟลเดอร Alois Senefilder ชาวเยอรมัน พบวิธีการพิมพหิน (lithography) ซึ่ง เปนวิธีการพิมพพื้นราบ (planographic printing) ไดโดยบังเอิญ ป ค.ศ. 1813 จอรจ อี. ไคลเมอร George E. Clymer ชาวอเมริกัน คิดแทนพิมพโคลัมเบียซึ่งใชระบบคาน กระเดื่อง ชวยผอนแรงและมีแรงกดมากกวา ป ค.ศ. 1858 จอรจ พี. กอรดอน George P. Gordon ชาวอเมริกัน ไดพัฒนาแทนพิมพเพลตเทน ป ค.ศ. 1861 ภาพถายสีภาพแรก ป ค.ศ. 1888 วิลเลียม มอรริส William Morris นักเขียนและศิลปนชาวอังกฤษ เริ่มนําลวดลายมาใสไวใน หนังสือ ถือเปนการออกแบบสิ่งพิมพครั้งแรกๆ ที่พัฒนามากขึ้นในปลายศตวรรษที่ 19 ป ค.ศ. 1904 ไอรา วอชิงตัน รูเบล Ira Washington Rubel ชางพิมพชาวอเมริกัน คิดวิธีการพิมพในระบบ ออฟเซต (offset printing) ขึ้นจากการสังเกตความผิดพลาดเมื่อลืมใสกระดาษในแทนพิมพ เขาเห็นวา กระดาษที่รับหมึกจากลูกโมแรงกดมีความนุมและสวยงามกวาที่รับจากแมพิมพโดยตรง ป ค.ศ. 1907 แซมวล ไซมอน Samuel Simon ชาวอังกฤษ ปรับปรุงการพิมพซิลกสกรีน (Silk screen) และจดทะเบียนลิขสิทธิ์ที่ประเทศอังกฤษ ป ค.ศ. 1960 เกิดแนวคิดสรางเครือขายคอมพิวเตอรในการสื่อสารเพื่อการใชงานดานความมั่นคงในสหรัฐฯ ป ค.ศ. 1965 การสรางฟอนตดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร ป ค.ศ. 1976 เกิดบริษัทผลิตไมโครคอมพิวเตอร (แอ็ปเปล) ทศวรรษ 1980 สหรัฐฯ ออกแบบเครือขายสาธารณะ ซึ่งเปนพื้นฐานของอินเทอรเน็ต อีเมล นักวิทยาศาสตร ยุโรปพัฒนาระบบเชื่อมตอทั่วโลก www มีโปรแกรมคอมพิวเตอรในการออกแบบจัดหนาและการพิมพ ป ค.ศ. 1989 กลองดิจิทัลเครื่องแรกของบริษัทโซนี ทศวรรษ 1990 อินเทอรเน็ตเริ่มแพรหลาย รวมทั้งความสามารถในการสรางเว็บไซตและไฟลดิจิทัลตางๆ (pdf, html) มีการเผยแพรผลงานที่ไมไดตีพิมพ สิ่งพิมพใชสื่อออนไลนในการเผยแพรเนื้อหาและทําตลาด ป ค.ศ. 1998 หองสมุดสหรัฐฯ เริ่มใหบริการสิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกสแกผูใชบริการทางเว็บไซต (ดานวิชาการ) ป ค.ศ. 2003 การเผยแพรสิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกสในรูปแบบทั่วไป (บันเทิง) เปดใหยืมสิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกส ในหองสมุดชั้นนํา เกิดโปรแกรมอินดีไซนซึ่งเปนนวัตกรรมของการออกแบบสิ่งพิมพ ป ค.ศ. 2007 โซเชียลเน็ตเวิรกและการเขียนบล็อกเริ่มไดรับความนิยม ป ค.ศ. 2010 อุปกรณอิเล็กทรอนิกสตางๆไดรับความนิยม ทั้งสมารตโฟน แท็บเล็ต และเครื่องอาน อิเล็กทรอนิกส รวมถึงอีบุกและแอ็ปพลิเคชั่นตางๆ การพิมพในประเทศไทย เริ่มตนในปลายสมัยอยุธยา (ค.ศ.1893-2310) โดยเปนการรับความรูจากตะวันตก (ฝรั่งเศส) ในรัชสมัย สมเด็จพระนารายณมหาราช มีการนําวิธีการพิมพหนังสือมาจากยุโรป แมจะไมมีหลักฐานเปนหนังสือที่ พิมพในสมัยนั้น แตมีหลักฐานยืนยันวาไทยมีการติดตอกับฝรั่งเศสและสงราชทูตไปยังราชสํานักฝรั่งเศส ราชทูตโกษาปานไดไปเยี่ยมโรงพิมพหลวงของฝรั่งเศสและดูกิจการอยางละเอียด พ.ศ. 2205 บาทหลวงฝรั่งเศส (Louis Laneau) ไดแปลและแตงหนังสือคําสอนคริสตศาสนาเปนภาษาไทย 26 รายการ หนังสือไวยากรณไทยและบาลี 1 รายการ และพจนานุกรมไทยอีก 1 รายการ โดยเขียนดวย อักษรโรมัน (ในวัด = nai wat) ทั้งยังสรางศาลาเรียนขึ้นในที่พระราชทานที่ตําบลเกาะมหาพราหมณซึ่ง อยูเหนือกรุงเกา และตั้งโรงพิมพหลวงขึ้นดวย
  • 4. พ.ศ. 2213 มิชชันนารีชาวฝรั่งเศสชื่อปแยร ลองกรัวส Pierre Langrois เขารวมงานและคิดตั้งโรงพิมพเพื่อ พิมพหนังสือไทย จึงขอใหฝรั่งเศสสงชางหลอตัวพิมพมาชวยเพื่อจัดพิมพคําสอนคริสตศาสนาโดยใชอักษร โรมัน แตเขียนใหอานออกเสียงเปนภาษาไทย (เหมือนภาษาคาราโอเกะ) พ.ศ. 2217 บางหลวงลังคลูอาสมีหนังสือบอกบุญไปยังหัวหนามิชชันนารีในปารีสเพื่อขอใหรวมเผยแผศาสนา คริสตคาทอลิกในไทย โดยขอใหซื้อเครื่องพิมพสงมาให จึงเชื่อกันวานาจะมีการพิมพเขามาตั้งแตครั้งนั้น พ.ศ. 2231 รัชสมัยของสมเด็จพระเพทราชา มีการขับไลกําลังทหารและชาวฝรั่งเศสที่อยูอาศัยและทําการคา ออกจากกรุงศรีอยุธยา ยุติความสัมพันธกับฝรั่งเศส และทําใหการคากับชาติตะวันตกลดลง พ.ศ. 2310 กรุงศรีอยุธยาเสียแกพมา เอกสารหลักฐานและสิ่งพิมพตางๆ สูญหายหมด กรุงธนบุรี (2310-2325) รัชสมัยพระเจาตากสินมหาราช มีหลักฐานของบาทหลวงการโนลตวา สมัยธนบุรี บานเมืองเปนปกติ มิชชันนารีไดกลับเขามาเผยแผศาสนา และตั้งโรงพิมพขึ้นที่วัดซางตาครูส ตําบลกุฎีจีน กรุงธนบุรี กรุงรัตนโกสินทร (2325-ปจจุบัน) รัชกาลที่ 1 พ.ศ. 2339 มีการพิมพหนังสือที่ตกทอดมาถึงปจจุบันคือหนังสือ คําสอนคฤศตัง เขียนเรื่องเปนภาษาไทยดวย ตัวพิมพอักษรโรมันและพิมพดวยตัวหลอ สันนิษฐานวาเปนการพิมพดวยบล็อกไมมากกวาตัวเรียงพิมพ รัชกาลที่ 2 พ.ศ. 2356 มีการพิมพดวยอักษรไทยครั้งแรกจัดทําในพมา โดยภรรยาบาทหลวงอเมริกัน แอนน จัดสัน Ann Judson ที่มากับคณะมิชชันนารีแบ็ปติสตอเมริกันในกรุงยางกุง เพื่อเผยแผศาสนาใหเชลยและลูกหลาน ไทยที่ถูกกวาดตอนไปตั้งแตเสียกรุงเมื่อป พ.ศ. 2310 พ.ศ. 2359 คณะแบ็ปติสตสงจอรจ เอช. ฮัฟ นําแทนพิมพและตัวพิมพมาเปดโรงพิมพในพมา พ.ศ. 2360 โรงพิมพดังกลาวจัดพิมพหนังสือไทยจากตัวพิมพไทยเปนครั้งแรกที่ยางกุง แตไมมีหลักฐานหลงเหลือ รัชกาลที่ 3 พ.ศ. 2371 หนังสือพิมพดวยตัวพิมพอักษรไทยที่เกาแกที่สุดที่มีหลักฐาน คือ A Grammar of the Thai ของ กัปตันเจมส โลว James Low พิมพที่โรงพิมพในกัลกัตตา อินเดีย เขียนเปนภาษาอังกฤษอธิบายไวยากรณ ไทย บางหนาเปนตัวเขียนลายมืออักษรไทย มีการใชบล็อกโลหะก็มี พิมพดวยตัวเรียงพิมพที่นางจัดสันหลอ ขึ้นในพมาก็มี (เจมส โลว ยายไปอินเดียหลังผลัดแผนดินในกรุงอังวะ และนําตัวพิมพไทยไปอินเดียดวย) พ.ศ. 2371 รอเบิรต เบิรน มิชชันนารีคณะลอนดอน ขอซื้อแทนพิมพและตัวพิมพไทยชุดนี้ไปรับจางพิมพหนังสือ ไทยที่สิงคโปร พ.ศ. 2378 มิชชันนารีอเมริกันซื้อตัวพิมพไทยจากสิงคโปรโดยหมอบรัดเลย Dan Beach Bradley และคณะนํา ตัวพิมพไทยและแทนพิมพเขามามืองไทย 3 มิถุนายน พ.ศ.2379 บาทหลวงชารลส โรบินสัน พิมพหนังสือไทยในเมืองไทยครั้งแรก เปนคําสอนศาสนา พ.ศ. 2382 กฎหมายหามสูบฝน เปนเอกสารราชการฉบับแรกที่จัดพิมพขึ้น พ.ศ.2384 เมื่อตัวพิมพที่ซื้อจากสิงคโปรสึกหรอ คณะมิชชันนารีอเมริกันจึงหลอตัวพิมพไทยขึ้นใชเอง มีรูปราง สวยงามกวาเดิม เชน คัมภีรครรภทรักษา ซึ่งแปลโดยหมอบรัดเลย ตัวอักษรพิมพจากคัมภีรเลมนี้เปน ตนแบบตัวพิมพที่เรียกวา “ตัวเหลี่ยม” ซึ่งดัดแปลงจนไดรับความนิยม ในสมัยนี้ เจาฟามงกุฎ (รัชกาลที่ 4) ทรงตั้งโรงพิมพที่วัดบวรนิเวศระหวางผนวช พิมพไดทั้งหนังสือไทย บาลี และโรมัน มีโรงหลอตัวพิมพไทยเอง นับเปนโรงพิมพโรงแรกของคนไทย พ.ศ. 2387 หนังสือพิมพฉบับแรกในเมืองไทย บางกอกรีคอรเดอร ซึ่งออกไดเพียงปเดียว รัชกาลที่ 4 พ.ศ. 2394 รัชกาลที่สี่ทรงตั้งโรงพิมพอักษรพิมพการขึ้นในพระบรมมหาราชวัง พิมพหนังสือพิมพออกขาว ราชการ เรียกวา ราชกิจจานุเบกษา เปนหนังสือพิมพราชการฉบับแรกและยังออกตอเนื่องมาจนปจจุบันนี้ พ.ศ. 2404 ตัวพิมพไทยเริ่มมีหลายขนาด รูปหนังสือชัดเจน เสนสม่ําเสมอขึ้น เชน หนังสือของหมอมราโชทัย (กระตาย) พิมพโดยโรงพิมพมิชชั่นของหมอบรัดเลย มีการเขาเลมแบบใหม เรียกวาสมุดฝรั่ง พ.ศ. 2407 มีการตั้งโรงพิมพและออกหนังสือพิมพ หนังสือเลม ซึ่งเปนบทกลอน สุภาษิตสอนใจตางๆ รัชกาลที่ 5 พ.ศ. 2417 เกิดวารสารฉบับแรกของคนไทย ดรุโณวาท รายสัปดาห โดยพระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจาเกษม สันตโสภาคย กรมหลวงพรหมวรานุรักษ (เจาของและบรรณาธิการ) มีการออกหนังสือพิมพถึง 59 ฉบับ
  • 5. พ.ศ. 2418 หนังสือพิมพรายวันฉบับแรกของคนไทย ซึ่งเจานายหลายพระองครวมกันจัดตั้งขึ้น ชื่อวา Court หรือตอมาเปลี่ยนเปน ขาวราชการ มียอดจําหนายสูงจนเกิดระบบจัดสงซึ่งนําไปสูกิจการไปรษณีย พ.ศ. 2436 การพิมพพระไตรปฎกสําเร็จเปนครั้งแรก ๓๙ เลม พ.ศ. 2445 เริ่มมีธนบัตรออกใชครั้งแรก โดยจางบริษัทอังกฤษจัดพิมพ เรียกวา "ธนบัตรแบบ ที่ 1" เปน ธนบัตรชนิดพิมพหนาเดียว มีทั้งหมด 5 ชนิด คือ 5 บาท, 10 บาท, 20 บาท, 100 บาท และ 1,000 บาท พ.ศ. 2457 เกิดตัวอักษรพิมพที่เรียกวาตัวฝรั่งเศส มีเสนหนาบาง เลียนแบบการเขียนดวยปากกาคอแรงผสม การวาดบนกระดาษ ดูสวยขึ้นและมีเสนดํากวาตัวไทยธรรมดา นอกจากนี้ยังมีการสรางตัวจิ๋วขึ้นดวย พ.ศ. 2468 การพิมพเจริญขึ้นเรื่อยๆ มีการพัฒนาตัวอักษรแบบตางๆ เชน ตัวเอน ตัวหนา เพื่อพิมพบทละคร รัชกาลที่ 6 ถือเปนยุคทองของวงการสื่อสิ่งพิมพและวรรณกรรมไทย แมจะไมมีหนังสือพิมพออกใหม แตมี นิตยสารเกิดขึ้นมากมาย นิตยสารยุคนี้เปนสื่อแสดงความคิดเห็นทางการเมือง ทั้งของคนไทยและตางชาติ รวมทั้งนิตยสารเกี่ยวกับนวัตกรรมใหมๆ มีนิตยสารกวา ๑๒๐ ฉบับ หนังสือพิมพรายวันกวา ๒๐ ฉบับ และเริ่มมีการแยกงานระหวางโรงพิมพกับสํานักพิมพดวย รัชกาลที่ 7-8 เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ําสมัยรัชกาลที่ 7 และสงครามโลกในสมัยรัชกาลที่ 8 การพิมพและการ ผลิตหนังสือซบเซาลงเนื่องจากปญหาเศรษฐกิจและราคากระดาษ รวมทั้งปญหาการเมืองภายในประเทศ รัชกาลที่ 9 การพิมพคอยๆฟนตัวขึ้นราวชวงทศวรรษ 2520 และพัฒนาขึ้นตามกระแสเทคโนโลยีในชวง ทศวรรษ 2540 ขณะเดียวกัน ก็เกิดการศึกษาดานการพิมพในราวป 2476 โดยเริ่มมีการสอนวิชาการพิมพ ในระดับอาชีวศึกษาและสถาบันตางๆ จากนั้นการพิมพไทยก็เริ่มเขาสูยุคพัฒนาและขยายตัว โรงพิมพขนาด ใหญ กลาง เล็ก มีมากขึ้น โดยพัฒนาการจากธุรกิจครอบครัวเปนธุรกิจที่เปนระบบมากขึ้น พัฒนาที่เห็นไดชัดในธุรกิจการพิมพไทยมีทั้งสามดาน คือ ดานบุคลากร (ชางฝมือและนักวิชาการพิมพ) ดาน เทคโนโลยีและเครื่องจักรเครื่องมือ (ปจจุบันมูลคาการสงออกสื่อสิ่งพิมพมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นกวารอย ละ 20) และดานองคกรความรวมมือเอกชนผูประกอบการ มีสมาคมผูประกอบการดานการพิมพหลายแหง เชน กลุมอุตสาหกรรมการพิมพ สมาคมการพิมพไทย สมาคมสงเสริมวิชาชีพการพิมพ สมาคมแยกสีและ ทําแมพิมพเพื่ออุตสาหกรรมการพิมพ เปนตน 3. ระบบการพิมพ • ในการผลิตยุคใหม การพิมพหมายถึงการใชเทคโนโลยีสมัยใหมเขามาชวยในกระบวนการผลิต การ จัดการ และการบริหาร เพื่อใหสอดคลองกับสภาพสังคมและเศรษฐกิจยุคไรพรมแดน และการแขงขัน ของธุรกิจ • การพิมพ printing มีความสัมพันธกับ การจัดพิมพ publishing (ผูจัดพิมพตองมีความรูดานการพิมพ แตชางพิมพไมจําเปนตองรูเรื่องการจัดพิมพ) รวมทั้งอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของอื่นๆ เชน กระดาษ หมึก บรรจุภัณฑ การโฆษณา การสื่อสาร การขนสง เทคโนโลยีดิจิทัล เปนตน ปจจัยที่มีผลตอการพิมพ  วัตถุประสงคในการพิมพ การบันทึกเรื่องราว การถายทอดความรู ความคิด และความตองการในการ สื่อสาร หรือตองการเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมผูอื่น  การออกแบบทางการพิมพ คํานึงถึงวัตถุประสงคและตัวแปรที่เกี่ยวของ เชน งบประมาณ รูปแบบ ความสมดุล เอกภาพ เพื่อแปรความคิดหรือดีไซนออกเปนงานพิมพ  การผลิตสิ่งพิมพ การถายทอดขอความและภาพในตําแหนงที่ถูกตองลงบนแมพิมพและวัสดุพิมพ ตามลําดับ รวมถึงกระบวนการหลังการพิมพ โดยคํานึงถึงปจจัยตางๆ อาทิ วัสดุ คุณภาพ จํานวนพิมพ จํานวนและประเภทของสี ระยะเวลาที่ตองใช และงบประมาณ  การเผยแพรสิ่งพิมพ การนําสิ่งพิมพที่ผลิตแลวออกสูผูบริโภค ในสมัยกอน การถายทอดตนฉบับสูวัสดุพิมพจะตองอาศัยแมพิมพ โดยแมพิมพอาจมีลักษณะเปนแผนแบน เปนทรงกระบอก หรือพื้นฉลุก็ได • ผิวแมพิมพมีสองบริเวณ คือ บริเวณพิมพหรือบริเวณภาพ image area เปนสวนที่รับหมึก และ บริเวณที่ไมพิมพ หรือบริเวณไรภาพ non-image area เปนสวนไมรับหมึก หรือพื้นที่วางบนวัสดุพิมพ • การจําแนกประเภทการพิมพทําไดหลายแบบ แตที่นิยมจําแนกทั่วไป คือจําแนกตามลักษณะการสัมผัส ระหวางแมพิมพไปยังตัวพาภาพพิมพ (image carrier) กับวัสดุพิมพ
  • 6. 3.1 การพิมพระบบสัมผัสหรือการพิมพพื้นฐาน • การพิมพจากแมพิมพพื้นนูน Relief Printing/Letter Press Printing • การพิมพจากแมพิมพพื้นราบ Planographic Printing • การพิมพจากแมพิมพรองลึก Gravure หรือ Intaglio • การพิมพจากแมพิมพพื้นฉลุ Stencil ระบบการพิมพพื้นนูน Letter Press Printing • เปนระบบการพิมพเกาแกที่สุด โดยมีหลักฐานวาชาวจีนเริ่มพิมพหนังสือจากแมพิมพที่ทําดวยไมตั้งแตป ค.ศ. 864 สวนแทนพิมพดวยมือแทนแรกประดิษฐขึ้นในยุโรปเมื่อศตวรรษที่ 15 เปนแมแบบของการ พิมพในปจจุบัน มีรากฐานจากการแกะไมทําแมพิมพ โดยชางจะแกะสวนที่ไมตองการพิมพออกเหลือแต รอยนูนออกมา • เกิดจากกระบวนการสรางแมพิมพใหมีระดับแตกตางกันระหวางตัวภาพกับพื้นแมพิมพ โดยใหตัวภาพมี ความนูนสูงขึ้นมาจากบริเวณไรภาพ เมื่อทาหรือกลิ้งหมึกพิมพบนแมพิมพ หมึกจะติดเฉพาะผิวภาพที่ นูนขึ้นมาเทานั้น เมื่อนําไปกดกับวัสดุพิมพ จะเกิดภาพพิมพบนชิ้นงาน เปนการพิมพโดยตรง • นอกจากนี้ การสรางภาพบนแมพิมพพื้นนูนจะตองใหภาพหรือตัวอักษรมีลักษณะเปนดานกลับ reverse ซึ่งจะถายทอดใหมีลักษณะเปนดานตรงในชิ้นงาน เริ่มตนจากการถูดวยสีหรือหมึกดานหลังของกระดาษ และผา สวนการพิมพที่ใชระบบนี้ไดแก การพิมพเลตเตอรเพรสและเฟล็กโซกราฟ • การพิมพพื้นนูนตองอาศัยตัวเรียงพิมพ (ตัวอักษร) และบล็อก (ภาพ) o ตัวเรียงพิมพ typesetting คือการนําอักษรตะกั่ว (โลหะผสม) มาเรียงเปนขอความตามที่ออกแบบ มีทั้งการเรียงพิมพดวยมือและเครื่องจักร (ไลโนไทป/โมโนไทป) แลวจึงนําไปพิมพ นํามาใชใหมได o บล็อก block ตัวบล็อกอาจเปนไม ยาง โลหะ มีลักษณะนูนสูงจากพื้น ภาพที่ปรากฏในบล็อกจะ กลับดาน และบล็อกที่ใชงานแลวไมสามารถนํามาใชใหมได
  • 7. เครื่องพิมพหรือแทนพิมพระบบแมพิมพพื้นนูน – เพลตเทนเพรส platen press เปนการพิมพที่เกาแกที่สุด ดัดแปลงจากแทนพิมพมือ (hand press) แมพิมพจะตั้งใน แนวระนาบหรือแนวดิ่ง แลวใชแผนกดแนบลงมาดวยแรงอัด – ไซลินเดอรเพรส flatbed cylinder press แมพิมพที่มีลูกโม ทรงกลม แทนรองรับแมพิมพอยูในแนวนอน มีลูกกลิ้งสง หมึก (ink roller) และลูกกลิ้งแรงกดหรือลูกโม (cylinder) อยูดานบน แทนพิมพจะเคลื่อนไปรับหมึกและรับกระดาษ เขามา ลูกกลิ้งแรงกดจะกดหมึกบนแมพิมพ พิมพงานขนาด ใหญไดดีกวา – โรตารีเลตเตอรเพรส rotary letter press แมพิมพยาง ติด กับลูกกลิ้งทรงกลม วัสดุพิมพจะผานกลางระหวางลูกกลิ้ง แมพิมพกับลูกกลิ้งแรงกด ซึ่งหมุนไปเรื่อยๆ พิมพไดสอง หนา และพิมพไดรวดเร็ว นิยมใชกับกระดาษเปนมวนและ การพิมพตอเนื่อง เชน หนังสือพิมพรายวัน ขอดีของการพิมพระบบเลตเตอรเพรส – เหมาะกับงานพิมพจํานวนนอยและมี ขั้นตอนหรือรายละเอียดนอย แกไขงาย ทําไดเร็ว – การบรูฟทําไดงายและเสียคาใชจายนอย – การพิมพสอดสีทําไดยากและไมสวยเทา ออฟเซต – กระบวนการพิมพไมยุงยากซับซอนเรื่อง การปรับสมดุลของภาพ ขอเสียของการพิมพระบบเลตเตอรเพรส – ไดภาพพิมพที่ขาดความสม่ําเสมอของเสนและสี ขาด รายละเอียดของภาพ – ไมเหมาะกับงานพิมพที่มีบริเวณพื้นทึบขนาดใหญ – ไมเหมาะกับงานที่ตองการรายละเอียดของภาพสูงหรือมี ลายเสนประกอบจํานวนมาก – เกิดรอยนูนดานหลังกระดาษที่ไดรับแรงกดพิมพ – ไมเหมาะกับงานพิมพสอดสีจํานวนมากเพราะตัวพิมพ โลหะจะสึกงาย ตองเปลี่ยนบอย ระบบการพิมพพื้นราบ Planographic Printing กระบวนการสรางแมพิมพพื้นราบมีลักษณะผิดจากระบบการพิมพพื้นนูนและการพิมพพื้นลึก ภาพและสวนที่ ไมใชภาพอยูบนระนาบเดียวกันหรือเทากันหมด แตบริเวณภาพมีลักษณะเปนไข ซึ่งรับหมึก ไมรับน้ํา สวน บริเวณไรภาพจะรับน้ํา ไมรับหมึก เมื่อน้ําผานแมพิมพ น้ําจะติดบริเวณพื้น เมื่อผานหมึกบนแมพิมพ หมึก พิมพจะติดเฉพาะบริเวณภาพ เมื่อใชแรงกด หมึกจะถายทอดจากแมพิมพสูโมยาง กอนจะลงวัสดุพิมพ เปน การพิมพทางออมที่แมพิมพไมสัมผัสวัสดุพิมพโดยตรง ระบบการพิมพนี้ไมใชการพิมพโดยตรง เปนการพิมพทางออม แมพิมพไมสัมผัสวัสดุพิมพโดยตรง เปนการถายทอดจากแมพิมพสูผายางแบล็งเก็ต หรือลูกโมที่หุมผายางกอน จากนั้นจึงถายทอดลงบนกระดาษ โดยผานแรงกดของลูกกลิ้งแรงกด ภาพหรือตัวอักษรบน แมพิมพจึงไมจําเปนตองกลับดาน แมพิมพจะเปนโลหะที่รับน้ําไดดี สวนตัวรับภาพตองรับหมึกไดดี รับน้ําไดยาก เคลือบผิวที่ไมใชภาพ ดวยน้ําเพื่อไมใหหมึกจับติด
  • 8. ขอดีของการพิมพระบบออฟเซต – พิมพสีพื้นทึบบริเวณกวางๆไดเรียบเมื่อเปรียบเทียบ กับระบบอื่น หมึกติดสม่ําเสมอทั่วทั้งภาพ คมชัด – พิมพไดละเอียดสวยงาม ความละเอียดสูง โดยเฉพาะพิมพสี – แมพิมพมีความทนทาน พิมพงานไดจํานวนมากๆ – แมพิมพจัดเก็บและหาพื้นที่เก็บไดงายเพราะเปน แผนแบนราบ – ความนุมของผายางทําใหพิมพบนวัสดุพิมพ ที่มีพื้นผิวหยาบได – มีจุดบริการแพรหลาย หาไมยาก ขอเสียของการพิมพระบบออฟเซต – การควบคุมการผลิตมีความยุงยากซับซอน เรื่องน้ํากับหมึกบนแมพิมพ ตองมีทักษะ – การสูญเสียกระดาษมากกวาการพิมพ ระบบอื่นๆ เนื่องจากปญหาการปรับสมดุล ในการปอนหมึกและน้ํา – การควบคุมอุณหภูมิหองพิมพตอง ระมัดระวัง เพราะระบบพิมพมีน้ําเปนสวนประกอบ ทําใหความชื้นสัมพัทธในหองสูง สงผลทํา ใหกระดาษยืดหดตัวไดสูง ระบบการพิมพรองลึก/พื้นลึก Gravure • กระบวนการสรางภาพบนแมพิมพทองแดงทรงกระบอกเปนการพิมพทางตรง ภาพและตัวอักษรบน แมพิมพจะกลับดาน (reverse) โดยโลหะทองแดงจะถูกกัดลึกเปนรองหรือเปนบอลงไปจากผิวหนา ของแมพิมพ หมึกพิมพที่ใชมีความหนืดต่ํา ลักษณะเหลวคลายน้ํา โมแมพิมพจะหมุนรอบตัวเองเพื่อ รับหมึกพิมพตลอดเวลา หมึกพิมพจะไหลเขาขังตัวอยูตามรองลึก (บอหมึก) ซึ่งเปนเนื้อภาพ มาก นอยตามขนาดและความลึกของแตละบอ บริเวณไรภาพจะไมมีหมึกติดอยู เพราะมีใบปาดหมึก doctor blade คอยปาดหมึกออก • เมื่อนําวัสดุพิมพวางทาบบนแมพิมพและใชแรงกด หมึกจะถายทอดจากแมพิมพลงบนวัสดุพิมพ ให คุณภาพงานพิมพสวยงาม แตมีตนทุนทําแมพิมพสูง เหมาะกับงานพิมพจํานวนมากๆ • ระบบการพิมพนี้แบงออกเปนสองประเภทหลัก คือ การพิมพแบบอินทาลิโอ Intaglio แมพิมพจะถูกกัดเปนรองลึก หมึกพิมพเหนียวขน ภาพที่ไดจะนูน ขึ้นมาเพราะหมึกพิมพจับหนา ใชในสิ่งพิมพที่ปลอดการปลอมแปลง security printing เชน ธนบัตร อากรแสตมป การพิมพกราวัวร gravure ซึ่งแมพิมพถูกกัดเปนรองหรือบอเล็กๆจํานวนมาก หมึกพิมพมีลักษณะ เหลว ไหลไดดีใชพิมพสิ่งพิมพจํานวนมากๆ เชน หอบรรจุภัณฑตางๆ และสามารถพิมพไดดีบนวัสดุ พิมพที่หลากหลาย ทั้งกระดาษ พลาสติก ไวนิล และฟอยล
  • 9. ขอดีของการพิมพกราวัวร – ใหภาพที่มีคุณภาพดี ความละเอียดสูง แมจะเปนกระดาษ บางและคุณภาพต่ํา – ความเร็วสูง แมพิมพมีอายุการใชงานยาวนาน เหมาะกับ การพิมพจํานวนมากๆ – ใหคุณภาพสีที่มีน้ําหนักตอเนื่อง แมบนวัสดุพิมพที่มี คุณสมบัติคอนขางต่ํา – ใชวัสดุพิมพไดหลายชนิด เชน กระดาษ พลาสติก อะลูมิเนียมเปลว (Aluminium foil) และวัสดุเคลือบลามิเนต – นิยมพิมพบรรจุภัณฑทั่วไป สิ่งพิมพ และการพิมพพิเศษ เอกสารปลอดการปลอมแปลง เชน ธนบัตร อากรแสตมป และปริญญาบัตร ใชระบบการพิมพอินทาลิโย (Intaglio) ซึ่งหมึกจะเหนียวกวาระบบกราวัวรมาก ขอเสียของการพิมพกราวัวร – การทําแมพิมพมีความซับซอน มากกวาในระบบการพิมพอื่นๆ – โมแมพิมพมีน้ําหนักมากและทําให สิ้นเปลืองเนื้อที่ในการจัดเก็บ – คาใชจายคอนขางสูงในการทํางาน พิมพแตละครั้ง – ตัวทําละลายของหมึกพิมพมีความ ไวไฟสูงตองใชอยางระมัดระวัง – ไมเหมาะกับการพิมพภาพตัวอักษร หรืองานลายเสน เพราะเห็นรองรอย ของบอหมึก ระบบการพิมพพื้นฉลุ stencil ใชหลักการของพื้นฉลุ (stencil) โดยใหหมึกไหลผานชองแมพิมพสกรีนที่ทําดวยเสนใยละเอียด (เชน ไนลอน คาดรอน เหล็ก) ตามลวดลายลงไปบนวัสดุพิมพและปดบริเวณที่ไมตองการพิมพเพื่อไมใหหมึกไหลผาน แมพิมพจะขึงตึงอยูบนกรอบสีเหลี่ยม การพิมพประเภทนี้สามารถปรับแรงกดใหพิมพลงบนวัสดุไดแทบทุก ประเภท เชน แกว ไม โลหะ พลาสติก ผา กระดาษ แตตองเลือกชนิดหมึกใหถูกตองกับวัสดุ เชน การพิมพ ซิลกสกรีนและการพิมพโรเนียว การพิมพโรเนียว mimeograph duplicating • เริ่มใชอยางกวางขวางในป ค.ศ. 1885 คําวาโรเนียว เปนชื่อเรียกเครื่องผลิตสําเนาเอกสารดวยวิธีการ โรเนียวของบริษัท เอบีดิก A-B Dick Co. ปจจุบัน โรเนียวใชสําหรับการผลิตสําเนาที่ไมตองการ คุณภาพงานพิมพสูงนัก มีงบประมาณจํากัด และตองการสําเนาจํานวนไมมาก • หลักการ พิมพขอความดวยเครื่องพิมพดีดหรือเครื่องพิมพอื่นบนกระดาษไขที่มีคุณสมบัติไมใหหมึก ซึมผาน หรือวาดลวดลายบนกระดาษไขดวยของแหลมหรือคมจนกระดาษทะลุเปนลายตามตองการ เมื่อผานหมึกลงไป หมึกจะไหลผานรองรอยที่ทะลุขาด และถายทอดขอความหรือภาพบนวัสดุพิมพ การพิมพพื้นฉลุหรือซิลกสกรีน silk screen printing • การพิมพพื้นฉลุมีชื่อเรียกหลายชื่อ เชน stencil printing, screen printing, silk screen, serigraphy, mitography, selectine • ปจจุบัน ใชพิมพสิ่งพิมพที่มีจํานวนพิมพและงบประมาณนอย แตคุณภาพสูง สามารถพิมพภาพ ลวดลายละเอียดและภาพฮาลฟโทนบนวัสดุพิมพเกือบทุกชนิด หลากพื้นผิว ลวดลาย และรูปทรง เพียงแตมีขนาดจํากัดตามกรอบสกรีนเทานั้น
  • 10. • นอกจากนี้ยังพิมพหมึกพิมพหลายชนิดที่เปนหมึกทึบแสงไดดวย เชน หมึกพิมพวาวแสง(fluorescent ink) หรือหมึกโลหะ (metallic ink) • แมพิมพทําดวยผาเนื้อโปรง หรือตะแกรงละเอียด screen ซึ่งหมึกพิมพสามารถทะลุผานได โดยถาย ตนฉบับลงบนฟลม อัดฟลมบนแผนสกรีนที่เคลือบสารไวแสง จากนั้นฉายกแสงอัลตราไวโอเลตความ เขมสูง เมื่อนําแผนสกรีนไปลาง สวนที่เปนภาพจะมีลักษณะเปนรูโปรง เมื่อนําหมึกพิมพปาดลงไป สี ของหมึกจะทะลุผานไปติดวัสดุพิมพเฉพาะสวนที่ตองการ ใชในงานที่ตองการจํานวนไมมาก เชน โปสเตอร แผนพับ เสื้อยืด แผนโฆษณา พิมพกี่สีก็ได หลักการทํางาน • การเลือกหมึกในการพิมพสกรีนตองใชหมึกที่ทําจากผงสีและสิ่งนําที่ไหลผานรูเปดของผาสกรีนไดดี ใหชั้นหมึกที่มีคาความเขม density ตามตองการ โดยพิจารณาลักษณะและขอจํากัดของสิ่งพิมพเมื่อ นําไปใชงาน เชน บิลบอรดตองทนตอทุกสภาพอากาศ กลองหรือขวดผงซักฟอกตองทนสารเคมี ฯลฯ • พื้นฉลุสามารถใชในการพิมพไดหลายครั้ง จนกวาจะขาดหรือเสียรูป กอนนําไปพิมพตองตรวจหารูรั่ว หรือตามด pinhole กอนทุกครั้ง ถาพบใหอุดดวยน้ํายา และอุดรอยตอระหวางกรอบและผาสกรีน ดวยเทปกาวประเภททนน้ํา สวนการผานหมึกบนวัสดุพิมพทําไดโดยใชที่ปาดสีที่หยุนตัว • การปาด ควรปาดเพียงครั้งเดียว ที่ปาดจึงควรใหญกวาภาพเสมอ – การปาดสีเพื่อคลุมแบบ (ลอยตัว ไมมีชิ้นงานรองรับ) ปาดออกจากตัว โดยมีมุมปาด 45 องศา – การพิมพ เปนการปาดหมึกเขาหาตัว โดยมีชิ้นงานรองรับผาสกรีนดานลาง หมึกจะทะลุผาน ลวดลายลงสูชิ้นงาน เปนภาพเหมือนตนฉบับที่สวยงาม เมื่อปาดหมึกพิมพแลว ตองปาดสีเพื่อ คลุมแบบทุกครั้ง เพื่อไมใหผาสกรีนแหงและเกิดการอุดตัน ขอดีของการพิมพพื้นฉลุ • ราคาถูก • เหมาะกับงานพิมพจํานวนนอย • พิมพบนวัสดุไดเกือบทุกชนิด • สามารถใชหมึกที่การพิมพอื่นใชไมได • เหมาะกับการพิมพงานลายเสน ตัวอักษร ที่รายละเอียดนอย สรุปการพิมพพื้นฐาน • เลตเตอรเพรส – มีจํานวนไมเกิน 2,000-3,000 ชุด – ขนาดไมใหญ ภาพประกอบนอย – ไมเปนงานพิมพหลายสี ขอเสียของการพิมพพื้นฉลุ • ไมเหมาะกับการพิมพภาพสกรีน (ไล โทน) • ไมเหมาะกับงานพิมพจํานวนมาก เชน หนังสือพิมพ นิตยสาร • พิมพสกรีนหลายสีควรเปนการสกรีนคน ละตําแหนง สีจะสดใสกวา – มีเวลาทํางานพอสมควร – มีงบประมาณการพิมพจํากัด
  • 11. • ออฟเซต – จํานวนพิมพ 3,000 ขึ้นไป – ตองการความรวดเร็ว – ความประณีต งดงาม • กราวัวร – จํานวนพิมพสูงมาก – ตองการพิมพบนวัสดุพิเศษ เชน กระดาษ พลาสติก และฟอยล – มีความละเอียดของภาพสูงมาก • ซิลกสกรีน – โฆษณา (โปสเตอร) ขนาดใหญ จํานวนพิมพไมมาก – พิมพบนวัสดุพิเศษ เชน ขวดแกว พลาสติก ผา หนัง โลหะ เซรามิก – ตองการพิมพหลายสี – ตนฉบับมีภาพประกอบและรายละเอียด มาก – ตองการสีแจม (กระดาษหอ ของขวัญ) หรือความแนนอนของสี (โฆษณา บรรจุภัณฑ เครื่องสําอาง) – พิมพแผงวงจรไฟฟา – พิมพงานที่เนนความงามทางศิลปะ พิเศษ และพิมพจํานวนนอยชิ้น 3.2 ระบบการพิมพไรแรงกด/ไมสัมผัส • หากยังจําได นิยามการพิมพเดิมกําหนดใหการพิมพมีองคประกอบอยางนอยสามอยาง คือ แมพิมพ การลงหมึก และแรงกดพิมพ ซึ่งเปนที่มาของระบบพิมพตางๆ แตการพิมพยุคใหมองคประกอบ บางอยางอาจขาดไป เชน การพิมพระบบดิจิทัลที่ไมตองใชแมพิมพหรือแทนพิมพอีกตอไป เรียกวา plateless process และเมื่อเชื่อมตอกับระบบเครือขาย ก็จะเกิดการพิมพบนอินเทอรเน็ตที่อํานวย ประโยชน รองรับความตองการใหมๆของผูบริโภคที่ตองการ ทั้งสื่อสิ่งพิมพและสื่ออินเทอรเน็ต • การพิมพดิจิทัลเกิดขึ้นเมื่อมีการประดิษฐคิดคนคอมพิวเตอรจนแพรหลายและมีโปรแกรมรองรับการ ทํางานตางๆ รวมถึงเทคโนโลยีปรินเตอรดวย แนวโนมความเปลี่ยนแปลงนี้เกิดจากธุรกิจการพิมพ สมัยใหมที่ทําทุกอยางไดดวยคอมพิวเตอร ตั้งแตการเตรียมพิมพ การจัดหนา การสงงานผานเครือขาย • ขอดีของระบบการพิมพนี้คือสามารถแกขอมูลไดทันที ไมเสียเวลาในการพิมพ และพิมพงานจํานวน นอยๆไดโดยคาใชจายถูกกวา ประกอบกับความตองการสิ่งพิมพของผูบริโภคเริ่มเปลี่ยนไป มี ลักษณะสั่งจํานวนนอยและตองการเร็ว (on-demand printing) มากขึ้น ทําใหการพิมพระบบ ดิจิทัลไดรับความนิยม นอกจากนี้ เครื่องพิมพดิจิทัลรุนใหมๆยังพัฒนาความสามารถพิมพงาน ประเภทอื่นๆ ทั้งฉลาก จดหมายขาว การด แผนโปรงใส ไดดีขึ้น การพิมพไรแรงกดหรือไรสัมผัส non-impact printing/digital printing เปนระบบที่พัฒนาขึ้นใหม ยังไมถือ เปนมาตรฐานเหมือนการพิมพพื้นฐาน การพิมพไมไดเกิดจากการถายหมึกจากแมพิมพสูชิ้นงาน แตเปนการ ทําปฏิกิริยาระหวางแสงกับปฏิกิริยาเคมีบนชิ้นงาน จึงผลิตงานไดนอยชิ้นและคุณภาพไมคงทนนัก • การพิมพระบบพนหมึก inkjet printing ใชสัญญาณคอมพิวเตอร (ไฟฟา) ปอนขอมูลภาพหรืออักษรไปสูอุปกรณที่ใชพิมพ ซึ่งจะแปลงเปน สัญญาณความรอน เมื่อไดรับสัญญาณไฟฟาจากคอมพิวเตอรที่แปลงเปนสัญญาณความรอน ครื่องพิมพซึ่ง ประกอบดวยหนวยแรงอัดหมึกและหัวพน nozzle จะพนหมึกเหลวเขาสูระบบจายไฟฟาเพื่อสรางประจุให หยดหมึก โดยควบคุมและหักเหทางเดินของหยดหมึกใหตกบนวัสดุพิมพเปนภาพหรืออักษรที่ตองการ – พัฒนาจากการพิมพฉลากหรือรหัสสินคาลงบนกลองหรือขวด ภาพพิมพที่ออกมาในลักษณะที่เห็นเปน จุดๆ ปจจุบันสามารถพนหมึกไดหลายสีโดยใชการถายทอดขอมูลจากคอมพิวเตอร • การพิมพโดยการถายโอนความรอน thermal transfer printing ใชแถบริบบอน ribbon เคลือบหมึกที่มีลักษณะคลายขี้ผึ้งหรือหมึกที่หลอมดวยความรอน hot-melt ink เมื่อ ไดรับความรอน หมึกจะละลายติดวัสดุพิมพ เกิดจากการเชื่อมสัญญาณคอมพิวเตอร (ไฟฟา) ไปที่หัวพิมพ เมื่อสัญญาณไปถึงหัวพิมพ จะเกิดความรอนประมาณ 500 ฟาเรนไฮต (260 เซลเซียส) เมื่อถายเทความ รอนจากหัวพิมพไปยังฟลมที่เคลือบดวยหมึก หมึกจะหลอมเหลวติดวัสดุพิมพจนเกิดเปนภาพในเวลาเพียง เศษหนึ่งในพันของวินาทีเทานั้น ระบบนี้พิมพไดทั้งสีและขาวดํา สวนมากใชกับระบบการพิมพปรูฟสี
  • 12. • เครื่องถายเอกสาร xerography/electrostatic printing (xero = แหง graphos = การเขียน) เปนการสรางภาพลายเสนที่ใกลเคียงตนฉบับในเวลารวดเร็วและราคาไมแพง ใชหมึกผง (toner) หรือ เหลว ทําใหเกาะติดกระดาษที่เคลือบดวยชั้นไวแสงที่มีประจุไฟฟา (photoconductive layer) โดยอาศัย หลักการถายภาพดวยไฟฟาสถิต เมื่อกดปุมพิมพ หลอดสรางไฟฟาสถิตจะทําใหบริเวณที่เปนภาพเกิด ไฟฟาขั้วตรงขามกับผงหมึก ดูดผงหมึกวิ่งเขามาติดบริเวณนั้นและเกิดเปนภาพ แตเนื่องจากผงหมึก สามารถลบและหลุดออกได จึงตองผานเครื่องทําความรอนเพื่อใหหมึกละลายติดกระดาษ การสรางภาพ สอดสีทําไดในราคาต่ํา โดยในเครื่องถายเอกสารจะมีหมึกผงสี 3 หนวยตามแมพิมพที่ใชพิมพ • เครื่องพิมพเลเซอร laser (light amplification by stimulated emission of radiation) ผสมผสานเทคโนโลยีไฟฟาสถิตกับคอมพิวเตอร ทํางานเหมือนเครื่องถายเอกสาร ยกเวนระบบฉายแสง นั่นคือใชแหลงกําเนิดแสงเปนเลเซอรในการถายทอดภาพบนหนวยบันทึกภาพโดยตรง ไมตองอาศัยการ สะทอนแสงจากตนฉบับ ไมตองใชตนฉบับจริงในการสรางภาพ แตใชขอมูลดิจิทัลจากคอมพิวเตอรไดเลย ความแตกตางของระบบพิมพอยูที่เทคโนโลยีในการสงและการแปรสัญญาณไฟฟาจากหนวยความจํา: เปรียบเทียบการพิมพไมสัมผัสกับการพิมพพื้นฐานทั่วไป • ประสิทธิภาพในการผลิต เครื่องพิมพในระบบพิมพไมสัมผัสยังมีความเร็วต่ํากวาการพิมพพื้นฐาน เครื่องพิมพออฟเซตสีเดียวมีความเร็ว 8,000-120,000 แผนตอชม. สวนเครื่องพิมพเลเซอรมี ความเร็ว 200 แผนตอนาทีสําหรับกระดาษ A3 • นิยมใชในงานสํานักงานถึงงานพิมพทั่วไป แตถาเปนอุตสาหกรรม จะใชการพิมพพื้นฐานเปนหลัก • คุณภาพดี อาจจัดทําหนังสือสั่งทําพิเศษ เชน หนังสือทํามือ คือเปนงานที่เนนคุณภาพ ทําปริมาณ นอย โดยอาจมีราคา (ตอชิ้น) สูงกวาปกติ พัฒนาการของระบบการพิมพ DTP (desktop publishing) • อุปกรณนําเขา กลองดิจิทัล เครื่องบันทึกวีดิทัศน แผนบันทึกหรือดิสก เก็บขอมูล สแกนเนอร กลองวีดิทัศนนิ่ง still video เครื่องบันทึกเสียง audio source ฐานขอมูล data base • อุปกรณสงออก จอภาพ อินเทอรเน็ต ลําโพง เครื่องพิมพดิจิทัล ซีดีรอม เครื่องบันทึกวีดิทัศน เครื่องสรางภาพบนฟลม เครื่องสรางภาพ บนแมพิมพ รวมไปถึงโปรแกรมซอฟตแวรจัดการสีและภาพและกราฟก สถานีไฮเอนด เครือขายเชื่อมตอ และเครื่องสรางภาพบนแผนฟลม (image setter) เครื่องสรางภาพบนแมพิมพ (plate setter) • เทคโนโลยีดิจิทัลมีการพัฒนาอยางรวดเร็ว ขั้นตอนการพิมพตางๆ ทํางานรวมกันผานระบบเครือขาย ไดทั้งหมด ตั้งแตการออกแบบ การจัดการขอมูล การสั่งพิมพ และการนําขอมูลมาใชซ้ํา • ขอดีของเทคโนโลยีดิจิทัล เชน อุปกรณแตละชิ้นมีขนาดไมใหญมาก ผูปฏิบัติการไมตองสัมผัส สารเคมีหรือน้ํายาหรือหมึกพิมพที่เกิดมลพิษ แตเครื่องไมเครื่องมือมีราคาสูง ตองอาศัยผูชํานาญการ เรื่องเทคโนโลยี การใชงาน และการบํารุงรักษาอุปกรณ ประเภทของสื่อที่เปลี่ยนจากแอนะล็อกเปนดิจิทัล • สิ่งพิมพทั่วไป (Traditional Print) • สื่ออิเล็กทรอนิกส (Electronic and digital media) แผนซีดี-รอม และคอมแพ็กตดิสกทั่วไป • สื่อสิงพิมพผานระบบเครือขาย (Network) คอมพิวเตอร-ทู-ปรินต การพิมพตามสั่ง • สื่อบริการขอมูลผานเครือขาย (Network information) ไดแก ขอมูลผานเคเบิลทีวี Interactive TV • สื่อผานอินเทอรเน็ตและอินทราเน็ต
  • 13. เปาหมายของ DTP: Desktop Publisher – ลดขั้นตอนการผลิตใหสั้นลง – ใชคนนอยลง ใชเครื่องจักรแทนที่มากขึ้น – มีระบบควบคุมคุณภาพดีขึ้น – นําไปสูระบบและโรงงานอัตโนมัติมากขึ้น – สงขอมูลไปพิมพไดทุกแหงในโลก ปรากฏการณใหมในโลกสิ่งพิมพยุคดิจิทัล • การนําเทคโนโลยีใหมเขามาผนวกในสิ่งพิมพทั่วไป เชน การใชภาพสามมิตใน บางกอกโพสต ิ • หนังสือพิมพและนิตยสารออกฉบับออนไลนควบคูกับฉบับปกติ (หรือออกฉบับออนไลนอยางเดียว) โดยมีทั้งบริการฟรีและเก็บเงิน • เกิดสื่อใหมที่มีการผสมผสานภาพ เสียง และภาพเคลื่อนไหว • หนังสืออิเล็กทรอนิกส อานในเน็ต หรือเครื่องมืออานพิเศษของคายตางๆ เชน อะเมซอน (คินเดิล) 4. กระบวนการผลิตสิ่งพิมพ • กระบวนการผลิตสิ่งพิมพประกอบดวยสามขั้นตอนหลักซึ่งปจจุบันดําเนินการหรือแกไขดวยคอมฯ ได กอนพิมพ prepress process การเตรียมตนฉบับ เขียน ถายภาพ (แปลงเปนดิจิทัล) ออกแบบจัด หนา ทํารูปเลม แยกสี ตรวจปรูฟ ทําแมพิมพ พิมพ press/priting process พิมพ (หมึก สี กระดาษ) หลังพิมพ post-press process ตกแตงผิว เคลือบผิว พับ ตัด เก็บเลม เขาเลม บรรจุหีบหอเพื่อจัดสง ขั้นเตรียมการ preparation วางแผนผลิตจนถึงตนฉบับเสร็จ ประกอบดวย การวางแผน การประสานงาน การทําตนฉบับ การตรวจตนฉบับ ขั้นกอนพิมพ prepress ประกอบและปรับแปลงตนฉบับ ประกอบดวย การเรียงพิมพ การออกแบบจัด หนา การทําดิจิทัลปรูฟ การทําแมพิมพ (plate) ขั้นพิมพ press คากระดาษ เนื้อในและปก คาพิมพ จากจํานวนพิมพ เงื่อนไขการพิมพ (สี/ขาว ดํา) สเปกงานอื่นๆ ขั้นหลังพิมพ postpress/finishing เชน การปรับแตงผิวกระดาษ เคลือบปก (ลามิเนต สปอตยูวี) พิมพนูน หรืออื่นๆ การแทรก ใบปลิว สายคาด ของแถมของสมนาคุณ การเก็บเลม