SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
การภาษีอ ากร
นางสาวณัฎ ฐริน ีย
20 3114 ์

ภูส ด

รหัส 5602102047029

รหัสวิชา

มหาวิท ยาลัย ธนบุร ี
ผู้ม ห น้า ทีเ สีย ภาษีเ งิน ได้
ี
่
บุค คลธรรมดา
ผู้ม ห น้า ทีเ สีย ภาษีเ งิน ได้บ ุค คลธรรมดาอาจแบ่ง ออก
ี
่
ได้ 4 ประเภท ดัง นี้
1. บุค คลธรรมดา (มาตรา 56 วรรคหนึ่ง ) ได้แก่
บุคคลโดยสภาพ คือ สภาพทีเป็นบุคคลเริ่มตั้งแต่เมือคลอด
่
่
และอยู่รอดเป็นทารก ไม่ว่าบุคคลนันจะเป็นผู้เยาว์ ผู้ทศาล
้
ี่
สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ จะมีถิ่นอยู่ในประเทศหรือ
ต่างประเทศก็ตาม หากบุคคลดังกล่าวมีเงินได้ประเภทต่างๆ
ตามทีประมวลรัษฎากรกำาหนดไว้ก็ต้องเสียภาษีเงินได้
่
THONBURI UNIVERSITY
ผู้ม ห น้า ทีเ สีย ภาษีเ งิน ได้
ี
่
บุค คลธรรมดา
ผู้มหน้าทีเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาอาจแบ่งออกได้ 4
ี
่
ประเภท ดังนี้
2. ห้า งหุน ส่ว นสามัญ หรือ คณะบุค คลทีม ใ ช่
้
่ ิ
นิต ิบ ุค คล (มาตรา 56 วรรคสอง)
ห้างหุ้นส่วน

สามัญนั้นต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์ กล่าวคือ การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนสามัญต้องประกอบด้วยหลัก
เกณฑ์ต่อไปนี้
- เป็นบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป
- ตกลงเข้าเป็นหุ้นส่วนโดยปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมาย
เรื่องสัญญา
- นำาทุนมาลงเพื่อประสงค์หากำาไรแบ่งกัน
- เพื่อทำากิจการอย่างใดอย่างหนึ่งที่ไม่ต้องห้าม
กฎหมายและไม่ขัดต่อศีลธรรมอันดี
THONBURI UNIVERSITY
ผู้ม ห น้า ทีเ สีย ภาษีเ งิน ได้
ี
่
บุค คลธรรมดา
ผูมีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาอาจแบ่งออก
้
ได้ 4 ประเภท ดังนี้
3. กองมรดกทีย ง ไม่ไ ด้แ บ่ง (มาตรา 57 ทวิ
่ ั
วรรคสอง) กองมรดกมิใ ช่น ต ิบ ุค คลและมิใ ช่บ ุค คล
ิ
ธรรมดา เพราะเจ้า ของมรดกตายไปแล้ว ทรัพ ย์ส น
ิ
ของกองมรดกอาจจะเกิด ดอกผลเป็น เงิน ได้ เช่น
ค่า เช่า ดอกเบี้ย เป็น ต้น
4. ผู้ถ ึง แก่ค วามตาย (มาตรา 57 ทวิ) ผู้ถ ึง แก่
ความตายระหว่า งปีภ าษีม ห น้า ทีต ้อ งเสีย ภาษีอ ย่า ง
ี
่
บุค คลธรรมดา เงิน ได้ท ผ ู้ต ายได้ก ่อ นหรือ หลัง ตายก็
ี่
ต้อ งนำา มาเสีTHONBURIได้ด ้ว ย โดยให้ผ ู้จ ัด การ
ย ภาษีเ งิน UNIVERSITY
ฐานภาษีเ งิน ได้บ ุค คล
ธรรมดา

ทธิ = เงิน ได้พ ึง ประเมิน – ค่า ใช้จ ่า ย – ค่า ลด
รอบปีภ าษีเ งิน ได้บ ุค คล
ธรรมดา

แต่ว น ที่ 1 มกราคม ถึง วัน ที่ 31 ธัน วาคมของทุก ปี คือ รอบ
ั
บแสดงรายการเสีย ภาษีต ้อ งยืน ตั้ง แต่ว ัน ที่ 1 มกราคมถึง วัน
่
ของทุก ปี

THONBURI UNIVERSITY
ประเภทของเงิน ได้พ ึง
ประเมิน

เงินได้พึงประเมินมี 8 ประเภท ตามประมวลรัษฎากร
มาตรา 40(1) ถึง (8)
ดังนี้
ค่าจ้างแรงงาน ม.40(1)
เงินจากหน้าที่หรือตำาแหน่งงานที่ทำา ม.40(2)
ค่าลิขสิทธิ์ และสิทธิ ม.40(3)
ดอกเบีย เงินปันผล ม.40(4)
้
การใช้เช่าทรัพย์สน ม.40(5)
ิ
วิชาชีพอิสระ ม.40(6)
การรับเหมา ม.40(7)
การธุรกิจ การพาณิชย์ เกษตร อุตสาหกรรม และ
ทีไม่เข้าข่ายทั้ง 7 ประเภทที่กล่าวมาแล้ว ม.40(8)
่
THONBURI UNIVERSITY
ประเภทของเงินได้พึงประเมิน

ประเภทที่ 1 เงิน ได้พ ง
ึ
ประเมิน ตามมาตรา 40(1)

เงินได้ประเภทที่ 1 ได้แก่ เงินได้เนื่องจากการจ้างแรงงาน ไม่ว่าจะ
เป็นเงินเดือน ค่าจ้าง
เบี้ยเลี้ยง โบนัส เบี้ยหวัด บำาเหน็จ บำานาญ เงินค่าเช่าบ้านที่ได้รับจาก
นายจ้าง เงินที่คำานวณได้จากมูลค่า
ของการได้อยู่อาศัยในบ้านที่นายจ้างจัดให้โดยไม่ต้องเสียค่าเช่า
เงินที่นายจ้างชำาระหนี้ใด ๆ ซึ่งลูกจ้าง
มีหน้าที่ต้องชำาระ และเงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์ใด ๆ บรรดาที่
ได้มาเนื่องจากการจ้างงานแรงงาน
เงินที่นายจ้างจ่ายให้ครั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงาน รวมทั้งเงิน
ชดเชยตามกฎหมายแรงงานที่มีระยะ
การทำางานน้อยกว่า 5 ปี เงินที่นายจ้างจ่ายให้ครั้งเดียวเพราะออกจาก
งาน รวมทั้งเงินชดเชยตามกฎหมาย
แรงงานที่มีระยะเวลาการทำางาน 5 ปีขึ้นไปที่เลือกนำามารวมคำานวณ
ภาษีกับเงินได้อื่น
THONBURI UNIVERSITY
ประเภทของเงินได้พึงประเมิน

ประเภทที่ 2 เงิน ได้พ ง ประเมิน ตาม
ึ
มาตรา 40(2)
เงินได้ประเภทที่ 2 ได้แก่ เงินได้จากหน้าที่หรือตำาแหน่งงานที่ทำา
หรือจากการรับทำางานไม่ว่าจะเป็น
ค่าธรรมเนียม ค่านายหน้า ค่าส่วนลด เงินอุดหนุนในการงานที่ทำา
เบี้ยประชุม บำาเหน็จ โบนัส ค่าเช่า
บ้าน เงินที่คำานวณได้จากมูลค่าของการได้อยู่บ้านที่ผู้จ่ายเงินได้ให้อยู่
โดยไม่ต้องเสียค่าเช่า เงินทีผู้จ่ายเงิน
่
ได้ชำาระหนี้ใด ๆ ซึ่งผู้มีเงินได้มีหน้าที่ต้องชำาระ และเงิน ทรัพย์สิน
หรือประโยชน์ใด ๆ
บรรดาที่ได้
เนื่องจากหน้าที่หรือตำาแหน่งที่ทำา หรือจากการรับทำางานในนั้น ไม่ว่า
หน้าที่หรือตำาแหน่งงานหรืองานที่รับ
ทำานั้นจะเป็นการประจำาหรือชั่วคราว เช่น เงินค่าหน้านาย ค่าตัวแทน
จากากรขายสินค้าหรือหาประกันชีวิต
หาประกันภัย เหล่านี้เป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(2)
THONBURI UNIVERSITY
ประเภทของเงินได้พึงประเมิน

ประเภทที่ 2 เงิน ได้พ ึง ประเมิน ตาม
มาตรา 40(2)_ต่อ

การที่ลกจ้างพักอาศัยอยู่ในบ้านพักของนายจ้าง การคำานวณ
ู
หามูลค่าของประโยชน์ที่ได้รับจาก
การได้อยู่อาศัยในบ้านพักของนายจ้างโดยไม่เสียค่าเช่า ทั้งกรณีที่
ถือว่าเป็นเงินได้พึงประเมินประเภทที่ 1
และประเภทที่ 2 มีหลักปฏิบัติดังนี้
(1) ถ้าลูกจ้างมิได้เป็นข้าราชการ ให้คำานวณค่าของ
ประโยชน์เพิ่มในอัตราร้อยละ 20 ของ
เงินเดือนหรือค่าจ้าง รวมทั้งเงินเพิ่มต่าง ๆ ตลอดปี แต่ไม่รวมเงิน
โบนัสที่จ่ายเป็นรายปี
กรณีถ้าลูกจ้างหลายคนได้รับประโยชน์เพิ่มร่วมกัน เช่น
พักอาศัยในบ้านพักของนายจ้าง
ร่วมกันหลายคน ให้คำานวณมูลค่าประโยชน์เพิ่มในอัตราร้อยละ 20
ของเงินเดือนค่าจ้างของแต่ละคน
THONBURI UNIVERSITY
ประเภทของเงินได้พึงประเมิน

ประเภทที่ 2 เงิน ได้พ ง ประเมิน ตาม
ึ
มาตรา นายวิโรจน์เป็นอ กงานประจำาของธนาคารกรุงไทย
ตัว อย่า ง 40(2)_ต่พนั

จำากัด

(มหาชน)
สาขาเชียงราย มีเงินเดือนเดือนละ 15,000 บาท และได้รับเงินเพิ่ม
เนื่องจากปฏิบัติงาน
อยู่ในท้องถินกันดารอีกเดือนละ 500 บาท ปลายปีได้รับโบนัส
่
8,000 บาท และนายวิโรจน์ได้พักอยู่
วิธ ีท ำา
ชั้นบนของอาคารธนาคารที่จัดไว้เป็นที่พักพนักงานโดยไม่เสียค่าเช่า
จงคำานวณมูลค่าประโยชน์เพิ่มที่
นายวิโรจน์ได้รับจากการพักอาศัยในบ้านพักของนายจ้าง
เงินเดือนของนาย
180,0
วิโรจน์ตลอดปี
= 12 x 15,000
=
00
บวก

เงินเพิ่มเบี้ย
กันดาร

รวมเงินได้
ตลอดปี

=

12 x
500

180,000 +
THONBURI 6,000
UNIVERSITY
=

=

6,000

=

186,0
00
ประเภทของเงินได้พึงประเมิน

ประเภทที่ 2 เงิน ได้พ ง ประเมิน ตาม
ึ
มาตรา ่ 40(2)_ต่อ
ตัว อย่า งที 2 นายดำา นายแดงและนายขาว เป็นพนักงานของบริษัท

แห่งหนึงได้รับเงินเดือน
่
คนละ 3.000 , 4.000 , 5,000 บาทตามลำาดับ โดยนายจ้างเช่าบ้าน
ให้อยู่ร่วมกันค่าเช่าบ้านเดือน
วิธ ีท ำา
ละ 2.000 บาท จงคำานวณมูลค่าประโยชน์เพิ่มที่ทงสามคนได้รับจาก
ั้
12 x
การอยู่อาศัยบ้านโดยไม่เสียค่าเช่า
เงินเดือนนายดำาตลอดปี

เงินเดือนนายแดงตลอดปี

เงินเดือนนายขาวตลอดปี

=

3,00
0

=

36,000

=

12 x
4,00
0

=

48,000

=

12 x
5,00
0

=

60,000

=

144,000

=

24,000

รวมเงินได้ทั้งสามคน
ค่าเช่าทีนายจ้างออกให้
่
ตลอดปี

12 x
2,00
THONBURI UNIVERSITY
=
0
ประเภทของเงินได้พึงประเมิน

ประเภทที่ 3 เงิน ได้พ ึง ประเมิน ตาม
มาตรา 40(3)

เงินได้ประเภทที่ 3 ได้แก่ ค่าแห่งกูดวิลล์ ค่าแห่งลิขสิทธิหรือสิทธิ
๊
์
อย่างอื่น
เงินปีหรือเงินได้อันมีลักษณะเป็นเงินรายปีอนได้มาจากพิน ัย กรรม
ั
นิติกรรมอย่างอื่น หรือตามคำาพิพากษา
ของศาล เงินได้ประเภทนี้เป็นเงินได้จากทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่
ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร เครื่องหมายการค้า
ซึ่งโอนขายหรืออนุญาตให้ผู้อนใช้สิทธิดังกล่าว
ื่
และได้เงินมาเป็น
เงินได้แก่เจ้าของสิทธินั้น
ๆ เช่น
นายหนึ่ง ประดิษฐ์รถอีแต๋นชนิดอเนกประสงค์ได้ และจดทะเบียน
สิทธิบัตรไว้
แล้วได้ขายสิทธิบัตรนี้
ให้แก่บริษัทแห่งหนึ่งเป็นเงิน 1,000,000 บาท เงินจำานวนนี้เป็น
เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(3)
เงินค่าธรรมเนียมในการอนุญาตให้ใช้เครื่องหมายการค้าเป็นเงินได้
พึงประเมินตามมาตรา
40(3)
เงินค่าตอบแทนที่ได้รTHONBURI UNIVERSITY ตรเหมืองแร่เป็นเงิน
ับจากการโอนสิทธิประทานบั
ประเภทของเงินได้พึงประเมิน

ประเภทที่ 4 เงิน ได้พ ึง ประเมิน ตาม
มาตรา 40(4)

เงินได้ประเภทที่ 4 ได้แก่ ดอกเบี้ยและเงินปันผลต่าง ๆ ดังนี้
(ก) ดอกเบี้ยพันธบัตร ดอกเบี้ยเงินฝาก ดอกเบี้ยหุ้นกู้
ดอกเบี้ยตั๋วเงิน ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมไม่วามีหลักประกันหรือไม่ ฯลฯ
่
(ข) เงินปันผล เงินส่วนแบ่งกำาไร หรือประโยชน์อย่างอื่นที่ได้
จากบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล กองทุนรวม หรือสถาบัน
ทางการเงินที่มีกฎหมายโดยเฉพาะของประเทศไทยจัดตั้งขึ้นสำาหรับ
ให้กยืมเงินเพื่อส่งเสริมการเกษตรกรรม พาณิชยกรรม หรือ
ู้
อุตสาหกรรม ฯลฯ
(ค) เงินโบนัสที่จ่ายแก่ผู้ถือหุ้น หรือผู้เป็นหุ้นส่วนในบริษัท
หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล
(ง) เงินลดทุนของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเฉพาะส่วนที่
จ่ายไม่เกินกว่ากำาไรและเงินที่กันไว้รวมกัน
(จ) เงินเพิ่มทุนของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งตั้งจาก
กำาไรที่ได้มา
(ฉ) ผลประโยชน์ที่ได้จากการที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วน
ยชน์ที่ได้จากการผ่อนสินค้า ค่าเช่าซื้อ หรือชำาระราคาสินค้าเกินกว่ากำาหนดถือเป็นเงินได้พึงป
นิติบุคคลควบเข้ากัน หรือรับช่วงกัน หรือเลิกกัน ซึ่งตีราคาเป็นเงิน
THONBURIนกว่าทุน
ได้เกิ UNIVERSITY
ประเภทของเงินได้พึงประเมิน

ประเภทที่ 5 เงิน ได้พ ึง ประเมิน ตาม
มาตรา ป40(5)่ 5 ได้แก่ เงินหรือผลประโยชน์อย่างอื่น
เงินได้ ระเภทที

เนืองจาก
่
(ก) การให้เช่าทรัพย์สิน
(ข) การผิดสัญญาเช่าซือทรัพย์สิน และ
้
(ค) การผิดสัญญาซื้อขายเงินผ่อน ซึ่งผู้ขายได้รับคืน
สินค้าที่ซอขายนั้น โดยไม่ต้องคืนเงินหรือผลประโยชน์ทได้
ื้
ี่
รับแล้ว การให้เช่าทรัพย์สนนันถ้าผู้มเงินได้ประเมินเองตำ่า
ิ ้
ี
ไปเจ้าพนักงานมีอำานาจประเมินใหม่ ตามจำานวนที่
ทรัพย์สินนันสมควรจะให้เช่าได้ตามปกติ
้
การผิดสัญญาเช่าซือหรือซื้อขายเงินผ่อนนันต้องเป็น
้
้
เงินหรือประโยชน์ทได้รับเนืองจาก “การผิด สัญ ญา ” ถ้า
ี่
่
เป็นค่าเช่าซื้อหรือค่าผ่อนส่งทีได้รับ “ตามสัญ ญา ” ไม่ถือ
่
เป็นเงินได้พึงประเมินตามข้อนี้
กรณีผู้เป็นเจ้าของทีดินทำาสัญญาให้ผู้อื่นปลูกสร้าง
่
อาคารหรือโรงเรียนบนที่ดน
ของตน โดยผู้ปลูก
THONBURI ิ UNIVERSITY
ประเภทของเงินได้พึงประเมิน

ประเภทที่ 5 เงิน ได้พ ง ประเมิน ตาม
ึ
มาตรา 40(5) ต่อ อโรงเรือนให้ถือเราราคาทุนทีแท้จริง
การคำานวณมูลค่าของอาคารหรื
่

ของอาคารหรือโรงเรือน
ดังกล่าว ในวันที่ได้รับกรรมสิทธิ์มา คำานวณมูลค่าตามอัตราร้อยละของ
จำานวนปีแห่งอายุการเช่า
จำานวนปีแห่งอายุ
อัตราร้อยละของ
จำานวนปีแห่งอายุ
อัตราร้อยละของ
ตามตารางดังต่อไปนี้ มูลค่าอาคาร
การเช่า
การเช่า
มูลค่าอาคาร
1

95.0

11

56.9

2

90.2

12

54.0

3

85.7

13

51.3

4

81.4

14

48.8

5

77.4

15

46.4

6

73.5

16

44.0

7

69.8

17

41.8

8

66.3

18

39.7

9

63.0

19

37.7

10

59.9

20 ปีขึ้นไป

35.8

THONBURI UNIVERSITY
ประเภทของเงินได้พึงประเมิน

ประเภทที่ 5 เงิน ได้พ ง ประเมิน ตาม
ึ
มาตรา 40(5) ต่อ

ตัวอย่าง บริษัทมะลิ จำากัด สร้างอาคารพาณิชย์มูลค่า 20,000,000
บาท
บนที่ดินของนางสาวขาว แล้วยกกรรมสิทธิ์อาคารให้นางสาวขาว โดย
บริษัทได้รับ
กรรมสิทธิ์การเช่า 20 ปี มูลค่าอาคารที่นางสาวขาวจะต้องนำาไปประเมิน
ภาษีเป็นจำานวนเท่าไร
100

วิธ ีท ำา
มูลค่าอาคารในวันได้กรรมสิทธิ์
20,000,000
จำานวนปีอายุการเช่า 20 ปี ร้อยละ 35.8 =
20,000,000 x
35.8 = 7,160,000 บาท
สรุป คือ เงิน แป๊ะ เจี๊ย ะหรือ เงิน กิน เปล่า ที่ไ ด้ร ับ จากการให้ป ลูก
สร้า งอาคารหรือ เนื่อ งจากการ
ให้เ ช่า ทรัพ ย์ส ิน จะต้อ งเสีย ภาษีต ามกำา หนดดัง นี้
THONBURI UNIVERSITY
(1) เงินได้ดังกล่าวให้นำามาเฉลี่ยเป็นรายปีตามอายุสัญญาเช่า
ประเภทของเงินได้พึงประเมิน

ประเภทที่ 6 เงิน ได้พ ึง ประเมิน ตาม
มาตรา 40(6)
เงินได้ประเภทที่ 6 ได้แก่ เงินได้จากวิชาชีพอิสระ เช่น
วิชากฎหมาย
การประกอบโรคศิลปะ วิศวกรรม สถาปัตยกรรม การบัญชี
ประณีตศิลปกรรม หรือวิชาชีพ
อิสระอื่นใดทีจะได้มพระราชกฤษฎีกากำาหนดชนิดไว้
่
ี
ผู้ประกอบอาชีพอิสระนีต้องมิใช่ลูกจ้าง พนักงานรับเงิน
้
เดือนของทางราชการ
รัฐวิสาหกิจ
หรือองค์กรธุรกิจ เช่น ทนายความรับเงิน
เดือนของบริษัท หรือแพทย์ของ
องค์กรวิสาหกิจ อาชีพดังกล่าวนี้ไม่ถือว่าเป็นผู้มเงินได้ตาม
ี
มาตรา 40(6)
ผู้ทมเงินได้
ี่ ี
ตามมาตรานี้จะต้องเป็นทนายความมีสำานักงานส่วนตัว หรือ
THONBURI UNIVERSITY
ประเภทของเงินได้พึงประเมิน

ประเภทที่ 7 เงิน ได้พ ง ประเมิน
ึ
ตามมาตรา 40(7)

เงินได้ประเภทที่ 7 ได้แก่ เงินได้จากการรับเหมาต้อง
ลงทุนด้วยการจัดหาสัมภาระใน
ส่วนสำาคัญตนอกจากเครื่องมือ เช่น รับเหมาก่อสร้างทังของ
้
และทังค่าแรง หากรับเหมา
้
เฉพาะค่าแรงไม่เป็นเงินได้ตามมาตรา 40(7)
ผู้รับเหมารับเหมาสร้างตึกในทีดินของนายหนึ่งแล้ว
่
ผู้รับเหมายกกรรมสิทธิ์ในตึกนัน
้
ให้แก่นายหนึงโดยผู้รับเหมาได้รับสิทธิเช่าตึกแถวนั้น สิบปี
่
ต่อมา ผู้รับเหมาได้โอนสิทธิ
การเช่าให้แก่ผู้อื่นโดยได้ค่าตอบแทน
เงินค่าตอบแทนที่
ผู้รับเหมาได้รับมานัน
้
THONBURI UNIVERSITY
ประเภทของเงินได้พึงประเมิน

ประเภทที่ 8 เงิน ได้พ ง ประเมิน
ึ
ตามมาตรา 40(8)

เงินได้ประเภทที่ 8 ได้แก่ เงินได้จากการธุรกิจ การ
พาณิชย์
การเกษตร การอุตสาหกรรม การขนส่ง การขาย
อสังหาริมทรัพย์ หรือการอื่นในนอกจาก
ทีระบุไว้ในมาตรา 40(1) ถึง (7) ถือเป็นเงินได้ครอบ
่
จักรวาล คือถ้าไม่เข้าตามประเภทที่
1 – 7 แล้วต้องเข้าข้อนี้หมด

THONBURI UNIVERSITY
การหัก ค่า ใช้จ ่า ย
ในการคำานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากฎหมายยอมให้หกค่าใช้จ่าย
ั
ได้ 2 วิธี
วิธ แ รก
ี
ให้หักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมา โดยกำาหนดอัตราค่าใช้จ่ายไว้
ตายตัวเป็น
ร้อยละซึ่งแตกต่างกันไปตามประเภทของเงินได้
วิธ ท ี่ส อง ให้หักค่าใช้จ่ายได้ตามความจำาเป็นและสมควร คือให้หักค่า
ี
ใช้จ่ายไดตามที่
จ่ายจริง แต่ต้องแสดงหลักฐานพิสูจน์ค่าใช้จ่ายได้ นั่นคือ
ต้องทำาบัญชีและ
มีใบเสร็จรับเงิน

THONBURI UNIVERSITY
การหัก ค่า
ใช้จ ่า ย
1. เงิน ได้พ ึง ประเมิน ตามมาตรา 40(1) และ (2)

ได้แก่ เงินได้จากเงินเดือน ค่าจ้าง เงินจากหน้าทีการงาน
่
ค่านายหน้า
โบนัส เบี้ยเลี้ยง เบี้ยประชุม บำาเหน็จ บำานาญ ฯลฯ หักค่าใช้จ่าย
ได้ดงนี้
ั
1.1 เงิน ได้ท ุก ชนิด ที่จ ่า ยให้ห ลายครั้ง ในรอบปีภ าษี เช่น
เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส
เป็นต้น ให้ค ่า ใช้จ ่า ยเป็น การเหมาได้ร ้อ ยละ 40 ของ
เงิน ได้
แต่ไ ม่เ กิน 60,000 บาท
ถ้า สามีแ ละภริย าต่า งฝ่า ยต่า งมีเ งิน ได้ แต่ล ะฝ่า ยหัก ค่า ใช้
จ่า ยของตนได้ร ้อ ยละ 40 แต่ไ ม่เ กิน
60,000 บาท เช่น เดีย วกัน
THONBURI UNIVERSITY
การหัก ค่า
ใช้จ ่า ย
1.2 เงิน ได้ท ี่น ายจ้า งจ่า ยให้ค รั้ง เดีย วเพราะเหตุอ อกจากงาน
และผู้มเงินได้เลือกเสียภาษีโดยไม่นำาไปรวมคำานวณภาษีกับเงินได้อื่น ๆ ให้หักค่าใช้จ่ายตาม
ี
หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขดังต่อไปนี้
ข้อ 1 เงินได้พงประเมินที่นายจ้างจ่ายให้ครังเดียวเพราะเหตุออกจากงาน
ึ
้
ให้หมายถึงเงินดังต่อไปนี้
(1) เงินได้พงประเมินที่คำานวณตามหลักเกณฑ์และวิธีการเช่นเดียวกับการ
ึ
คำานวณบำาเหน็จตามกฎหมายว่าด้วยบำาเหน็จบำานาญข้าราชการ
(2) เงินที่จายกองทุนตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนสำารองเลี้ยงชีพ หรือ
กฎหมายว่าด้วยกองทุนบำาเหน็จบำานาญข้าราชการ (กบข.)
(3) เงินชดเชยตามกฎหมายแรงงาน
(4) เงินได้พงประเมินที่จ่ายให้ครั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงานที่มวิธีการคำานวณต่างไปจาก
ึ
ี
กฎหมายว่าด้วยบำาเหน็จบำานาญข้าราชการ

THONBURI UNIVERSITY
การหัก ค่า
ใช้จ ่า ย
1.2 เงิน ได้ท น ายจ้า งจ่า ยให้ค รัง เดีย วเพราะเหตุอ อกจากงาน (ต่อ)
ี่
้
ข้อ 2 เงินได้พงประเมินตามข้อ 1 ผู้มีเงินได้จะเลือกเสียภาษี
ึ
แยกจากเงินได้อื่นตามมาตรา 40(5) จะต้องมีเงื่อนไขดังนี้
(1) เงินได้ทจ่ายให้เนื่องจากออกจากงานทีมระยะเวลาทำางานไม่น้อยกว่า
ี่
่ ี
5 ปี
(2) ถ้าเป็นเงินได้ตามข้อ 1 ทีมีการจ่ายเงินจากผู้จ่ายรายเดียวกันหลายครั้ง
่
ไม่วาจะแบ่งจ่ายจากเงินประเภทเดียวกันหรือหลายประเภท ให้นำาเงินเฉพาะทีจ่าย
่
ในปีภาษี
แรกทีมการจ่ายเงินได้ดังกล่าวมาคำานวณเท่านั้น
่ ี
(3) ผูมีเงินได้เลือกเสียภาษีในกรณีนี้ได้เฉพาะกรณีผมีเงินได้ไม่นำาเงินได้
้
ู้
พึงประเมินดังกล่าวไปรวมคำานวณภาษีตามมาตรา 48(1) และ (2) ไม่ว่าทังหมดหรือ
้
บางส่วน

THONBURI UNIVERSITY
การหัก ค่า
ใช้จ ่า ย
1.2 เงิน ได้ท ี่น ายจ้า งจ่า ยให้ค รั้ง เดีย วเพราะเหตุอ อกจากงาน (ต่อ)
ข้อ 3 การคำานวณค่าใช้จ่ายให้ถือหลักเกณฑ์ดังนี้
ก. ในกรณีจ่ายตามกฎหมายว่าด้วยบำาเหน็จบำานาญข้าราชการ
นั่นคือ บำาเหน็จเท่ากับเงินเดือนเดือนสุดท้ายคูณด้วยจำานวนปีที่ทำางาน ให้หักค่าใช้จ่ายได้ดังนี้
ค่า ใช้จ ่า ยส่ว นที่ 1 เฉพาะกรณีไดรับบำาเหน็จอย่างเดียวให้หักค่าใช้จ่ายเป็น
จำานวนเท่ากับ 7,000 คูณด้วยจำานวนปีที่ทำางาน แต่ไม่เกินบำาเหน็จ แต่ถ้ารับทั้งบำาเหน็จและ
บำานาญให้เอา 3,500 คูณจำานวนปีที่ทำางาน
ค่า ใช้จ ่า ยส่ว นที่ 2 เมื่อหักค่าใช้จ่ายส่วนที่ 1 แล้วเหลือเท่าใดให้หักค่าใช้จ่ายได้อีกร้อย
ละ 50 ของเงินส่วนที่เหลือนัน
้
จำานวนปีที่คำานวณ ให้คิดคำานวณจำานวนปีที่ทำาจริง ๆ ในกรณีของหน่วยงานเอกชน เศษของ
ปีถ้าถึง 183 วันให้คดเป็น 1 ปี ถ้าไม่ถึงให้ปัดทิ้ง
ิ

THONBURI UNIVERSITY
การหัก ค่า
ใช้จ ่า ย
ข้อ 3 การคำานวณค่าใช้จ่ายให้ถือหลักเกณฑ์ดงนี้ (ต่อ)
ั
ข. ในกรณีจ่ายบำาเหน็จไม่เป็นตามกฎหมายบำาเหน็จบำานาญข้าราชการ
นั่นคือ บริษัทเอกชนตั้งกฎเกณฑ์ขึ้นเอง ให้หักค่าใช้จ่ายดังนี้
1. เงินบำาเหน็จที่จะต้องนำามาหักค่าใช้จ่ายได้ตามข้อ ก. เท่ากับเงิน
บำาเหน็จที่จะจ่ายให้ แต่ไม่เกินจำานวนเงินได้เต็มเดือนเดือนสุดท้ายคูณ
ด้วยจำานวนปีททำางาน 2. เงินได้เต็มเดือนเดือนสุดท้ายทีจะนำามา
ี่
่
คำานวณตามข้อ (1) นั้นจะต้องไม่เกินเงินได้รายเดือนถัวเฉลี่ยของ 12
เดือนสุดท้ายก่อนออกจากงาน บวกด้วยร้อยละ 10 ของเงินเดือนถัว
เฉลี่ยนั้น
3. จำานวนปีททำางานตามข้อ (1) จะต้องไม่น้อยกว่า 5 ปี ถ้าน้อยกว่า 5
ี่
ปีจะหักค่าใช้จ่ายตามเกณฑ์นี้ไม่ได้

THONBURI UNIVERSITY
การหัก ค่า
ใช้จ ่า ย
ตัว อย่า งที่ 1 กรณีเ งิน ได้ไ ม่เ ท่า กัน ทุก เดือ น
นายกนกชัยได้รับเงินเดือนจากบริษัทตั้งแต่เดือนมกราคมถึงมิถุนายน เดือนล่ะ
12,000
บาท และตั้งแต่เดือนกรกฎาคมถึงธันวาคมเดือนละ 15,000 บาท
เขาได้ลาออก
จากงานเมื่อ
วันที่ 31 ธันวาคม ทำางานมาครบ 10 ปี ได้บำาเหน็จ 150,000 บาท จงคำานวณหาค่า
ใช้จ่ายของเงิน
บำาเหน็จ
วิธ ีท ำา
เนื่องจากเงินเดือนทีได้รับแต่ละเดือนไม่เท่ากันตลอดปีจงต้องหาเงินเดือน
่
ถัวเฉลี่ย
แล้วจึงนำาไปคำานวณหาค่าใช้จ่ายดังนี้
(1) เงินเดือนถัวเฉลี่ยของ 12 เดือนสุดท้าย = (12,000 x 6) + (15,000 x 6)
= 13.500
100
(2) บวกเงินเดือนถัวเฉลี่ยด้วยร้อยละ 10
= 13.500 x 10 = 1,350
= 13,500 + 1,350
= 14,850

THONBURI UNIVERSITY
การหัก ค่า
ใช้จ ่า ย
ตัว อย่า งที่ 2 กรณีเ งิน เดือ นไม่เ ท่า กัน ทุก เดือ น (ต่อ )
(3) แต่เงินเดือนเดือนสุดท้าย

= 15,000

ซึงเกินกว่าเงินเดือนถัวเฉลี่ย (14,850) จึงต้องใช้เงินเดือนถัวเฉลี่ยคูณ
่
ด้วยจำานวนปีที่ทำางาน (10 ปี)
นำามาเป็นเงินได้ที่ถือเป็นเกณฑ์คำานวณค่าใช้จ่าย

(4) จำานวนเงินที่ถอเป็นเกณฑ์คำานวณค่าใช้จ่าย = 14,850 x 10
ื
= 148,500
(5) ค่าใช้จ่ายส่วนแรก = 7,000 x 10
= 70,000
(6) คงเหลือ = 148,500 – 70,000 = 78,500
100
(7) ค่าใช้จ่ายส่วนที่ 2 = ร้อยละ 50 ของยอดคงเหลือ =
78,500 x 50 = 39,250
(8) รวมหักค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น
= (5) + (7)
= 109,250
THONBURI UNIVERSITY
การหัก ค่า
ใช้จ ่า ย
ตัว อย่า งที่ 3 กรณีเ งิน เดือ นเท่า กัน ทุก เดือ น
บริษทแห่งหนึ่งได้จ่ายเงินบำาเหน็จบำานาญให้แก่ลูกจ้างซึ่งทำางานมาครบ 20 ปี
ั
เงินเดือนเดือนสุดท้าย 8,000 บาท บริษทได้จ่ายเงินบำาเหน็จให้ 100,000 บาท และให้บำานาญ
ั
อีกเดือนละ 4,000 บาทตลอดชีวิต จงคำานวณค่าใช้จ่ายของเงินได้ของลูกจ้างในปีที่ลาออก
วิธีทำา คำานวณค่าใช้จ่ายเงินบำาเหน็จ
(1) เงินบำาเหน็จที่จะนำามาคำานวณ = 8,000 x 20 = 160,000
(2) บำาเหน็จที่ได้รับจริง 100,000 (ใช้เป็นเกณฑ์ในการคำานวณ)
(3) ค่าใช้จ่ายส่วนแรก
= 3,500 x 20 = 70,000
(4) ค่าใช้จ่ายส่วนที่ 2
= (100,000 – 70,000) x 50
= 15,000
(5) รวมเงินค่าใช้จ่ายของเงินบำาเหน็จ (3) + (4)
= 75,000
(6) คงเหลือ (เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย) = 100,000 – 85,000 = 15,000

100

THONBURI UNIVERSITY
การหัก ค่า
ใช้จ ่า ย
ตัว อย่า งที่ 3 กรณีเ งิน เดือ นเท่า กัน ทุก เดือ น (ต่อ )
วิธ ีท ำา

คำานวณค่าใช้จ่ายเงินบำานาญ
(7) เงินบำานาญตลอดปี
= 4,000 x 12
48,000
(8) หักค่าใช้จ่ายร้อยละ 40 ของเงิน 48,000
= 19,200
(9) คงเหลือ (เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย)
=
48,000 – 19,200 = 28,800
(10) รวมหักค่าใช้จ่ายทังสิ้น (5) + (8)
้
= 104,200
THONBURI UNIVERSITY

=
การหัก ค่า
ใช้จ ่า ย
2. เงิน ได้พ ง ประเมิน ตามมาตรา 40(3)
ึ

ได้แก่ เงิน ได้จ ากค่า กู๊ด วิล ล์ ค่า ลิข สิท ธิ์ ค่า สิท ธิบ ัต ร ค่า
เครื่อ งหมายการค้า
กฎหมายไม่ย อมให้ห ัก ค่า ใช้จ า ย เว้น แต่เ งิน ได้เ ป็น ค่า ลิข สิท ธิ์ย อมให้ห ัก
่
ได้เ ป็น การเหมา
ร้อ ยละ 40 ของค่า ลิข สิท ธิ์ แต่ไ ม่เ กิน 60,000 บาท (มาตรา 42 ตรี) ถ้าสามี
และภริยาต่างมี
เงินได้ค่าลิขสิทธิ์ และความเป็นสามีภริยามีอยู่ตลอดปีภาษี ให้แต่ละฝ่ายหักค่าใช้
จ่ายได้
ร้อยละ 40 ของค่าลิขสิทธิ์ แต่ไม่เกิน 60,000 บาท

3. เงิน ได้พ ง ประเมิน ตามมาตรา 40(4)
ึ

ได้แก่ ดอกเบี้ย เงินปันผล เงินโบนัสที่จ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้น กฎหมายไม่ย อมให้
หัก
ค่า ใช้จ า ยใด ๆ
่

THONBURI UNIVERSITY
การหัก ค่า
ใช้จ ่า ย
4. เงิน ได้พ ึง ประเมิน ตามมาตรา 40(5)

ได้แก่ ค่าเช่าต่าง ๆ และเงินได้เกี่ยวกับค่าเช่า ให้หักค่าใช้จ่ายได้ตามความจำาเป็น
และสมควรหรือหักค่าใช้ได้เป็นการเหมาดังนี้ (พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2502)
4.1 ค่า เช่า






ค่าเช่าบ้าน โรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอื่น ๆ หรือแพ
หักได้รอยละ 30
้
ค่าเช่าที่ดินที่ใช้ในการเกษตรกรรม หักได้รอยละ 20
้
ค่าเช่าที่ดนที่ม ไ ด้ใ ช้ในการเกษตรกรรม
ิ
ิ
หักได้ร้อยละ 15
ค่าเช่ายานพาหนะ
หักได้รอยละ 30
้
ค่าเช่าทรัพย์สินอื่น ๆ หักได้รอยละ 10
้

4.2 กรณีผ ด สัญ ญาเช่า ทรัพ ย์ส ิน ให้ห ก ค่า ใช้จ า ยได้เ ป็น การเหมาร้อ ยละ 20 วิธ เ ดีย ว
ิ
ั
่
ี
4.3 กรณีก ารผิด สัญ ญาซื้อ ขายเงิน ผ่อ น ซึ่งผู้ขายได้รับทรัพย์สินที่ซื้อขายคืนมาโดยไม่ต้องคืนเงิน
หรือประโยชน์ที่ได้รับไว้แล้ว ให้ห ก ค่า ใช้จ ่า ยได้เ ป็น การเหมาร้อ ยละ 20 วิธ เ ดีย ว
ั
ี

2. เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(4)
ได้แก่ ดอกเบี้ย เงินปันผล เงินโบนัสที่จ่ายให้แก่ผถือหุน กฎหมายไม่ยอมให้หักค่าใช้จ่ายใด ๆ
ู้
้

THONBURI UNIVERSITY
การหัก ค่า
ใช้จ ่า ย
5. เงิน ได้พ ึง ประเมิน ตามมาตรา 40(6)
ได้แก่ เงินได้จากวิชาชีพอิสระ ผู้มเงินได้จะเลือกหักค่าใช้
ี
จ่ายตามความจำาเป็นและ
สมควรหือหักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมาดังนี้ (พระราชกฤษฎีกา
(ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2502)

5.1 เงินได้จากการประกอบโรคศิลปะ
หัก
ได้ร้อยละ 60
สระ ได้แก่ วิเงิาชีพจากวิชาชีพอิสระอื่น ๆนอกจาก 5.1 วกรรม สถ
5.2 ช นได้ กฎหมาย การประกอบโรคศิลปะ วิศ
ารบัญชี ประณีตศิลปกรรม หรือวิชาชีพอื่นตามพระราชกฤษฎีกากำา
หักได้ร้อยละ 30

THONBURI UNIVERSITY
การหัก ค่า
ใช้จ ่า ย
6. เงิน ได้พ ึง ประเมิน ตามมาตรา 40(7)
ได้แก่ เงินได้จากการับเหมาซึ่งผู้รับเหมาต้องจัดการ
สัมภาระในส่วนทีสำาคัญ ผู้มเงินได้
่
ี
จะเลือกหักค่าใช้จ่ายตามความจำาเป็นและสมควร หรือหักค่าใช้
จ่ายเป็นการเหมาร้อยละ 70
(พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2502)

THONBURI UNIVERSITY
การหัก ค่า
ใช้จ ่า ย
7. เงิน ได้พ ึง ประเมิน ตามมาตรา 40(8)
เงินได้จากธุรกิจ การพาณิชย์ การเกษตร การ
อุตสาหกรรม การขนส่ง การขาย
อสังหาริมทรัพย์ หรือการอื่น ๆ นอกจากทีระบุไว้ใน มาตรา
่
40(1) ถึง (7) แล้วหักค่าใช้จ่าย
ตามความจำาเป็นและสมควร หรือหักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมา
ตามอัตราตามพระราชกฤษฎีกา
(ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2502

THONBURI UNIVERSITY
การหัก ค่า
ใช้จ ่า ย
สรุป การหัก ค่า ใช้จ ่า ย

ค่าจ้างแรงงาน ม.40(1)
 รวมหักได้ 40% แต่ไม่เกิน 60,000
 ค่าทำางานให้หรือจากหน้าที่ ม.40(2)
 ค่าลิขสิทธิ์ ค่ากู๊ดวิลล์ และค่าแห่งสิทธิอื่น ๆ ม.40(3)
 ให้หักเฉพาะค่าลิขสิทธิ์ 40% แต่ไม่เกิน 60,000
 ค่าดอกเบี้ย เงินปันผล ม.40(4)
 กฎหมายไม่ยอมให้หกค่าใช้จ่าย
ั
 ค่าเช่าทรัพย์สิน ม.40(5)  หักได้ 10 – 30% แล้วแต่กรณี
 ค่าวิชาชีพอิสระ ม.40(6)  การประกอบโรคศิลปะหัก 60% นอกนั้นหัก 30%
 ค่ารับเหมา ม.40(7)
 หัก 70%
 ธุรกิจ การพาณิชย์ เกษตร อุตสาหกรรมและอื่น ม.40(8)  หัก 40 – 85% แล้วแต่กรณี

The End
THONBURI UNIVERSITY

More Related Content

Featured

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by HubspotMarius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

การภาษีอากร 20 3114

  • 1. การภาษีอ ากร นางสาวณัฎ ฐริน ีย 20 3114 ์ ภูส ด รหัส 5602102047029 รหัสวิชา มหาวิท ยาลัย ธนบุร ี
  • 2. ผู้ม ห น้า ทีเ สีย ภาษีเ งิน ได้ ี ่ บุค คลธรรมดา ผู้ม ห น้า ทีเ สีย ภาษีเ งิน ได้บ ุค คลธรรมดาอาจแบ่ง ออก ี ่ ได้ 4 ประเภท ดัง นี้ 1. บุค คลธรรมดา (มาตรา 56 วรรคหนึ่ง ) ได้แก่ บุคคลโดยสภาพ คือ สภาพทีเป็นบุคคลเริ่มตั้งแต่เมือคลอด ่ ่ และอยู่รอดเป็นทารก ไม่ว่าบุคคลนันจะเป็นผู้เยาว์ ผู้ทศาล ้ ี่ สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ จะมีถิ่นอยู่ในประเทศหรือ ต่างประเทศก็ตาม หากบุคคลดังกล่าวมีเงินได้ประเภทต่างๆ ตามทีประมวลรัษฎากรกำาหนดไว้ก็ต้องเสียภาษีเงินได้ ่ THONBURI UNIVERSITY
  • 3. ผู้ม ห น้า ทีเ สีย ภาษีเ งิน ได้ ี ่ บุค คลธรรมดา ผู้มหน้าทีเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาอาจแบ่งออกได้ 4 ี ่ ประเภท ดังนี้ 2. ห้า งหุน ส่ว นสามัญ หรือ คณะบุค คลทีม ใ ช่ ้ ่ ิ นิต ิบ ุค คล (มาตรา 56 วรรคสอง) ห้างหุ้นส่วน สามัญนั้นต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์ กล่าวคือ การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนสามัญต้องประกอบด้วยหลัก เกณฑ์ต่อไปนี้ - เป็นบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป - ตกลงเข้าเป็นหุ้นส่วนโดยปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมาย เรื่องสัญญา - นำาทุนมาลงเพื่อประสงค์หากำาไรแบ่งกัน - เพื่อทำากิจการอย่างใดอย่างหนึ่งที่ไม่ต้องห้าม กฎหมายและไม่ขัดต่อศีลธรรมอันดี THONBURI UNIVERSITY
  • 4. ผู้ม ห น้า ทีเ สีย ภาษีเ งิน ได้ ี ่ บุค คลธรรมดา ผูมีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาอาจแบ่งออก ้ ได้ 4 ประเภท ดังนี้ 3. กองมรดกทีย ง ไม่ไ ด้แ บ่ง (มาตรา 57 ทวิ ่ ั วรรคสอง) กองมรดกมิใ ช่น ต ิบ ุค คลและมิใ ช่บ ุค คล ิ ธรรมดา เพราะเจ้า ของมรดกตายไปแล้ว ทรัพ ย์ส น ิ ของกองมรดกอาจจะเกิด ดอกผลเป็น เงิน ได้ เช่น ค่า เช่า ดอกเบี้ย เป็น ต้น 4. ผู้ถ ึง แก่ค วามตาย (มาตรา 57 ทวิ) ผู้ถ ึง แก่ ความตายระหว่า งปีภ าษีม ห น้า ทีต ้อ งเสีย ภาษีอ ย่า ง ี ่ บุค คลธรรมดา เงิน ได้ท ผ ู้ต ายได้ก ่อ นหรือ หลัง ตายก็ ี่ ต้อ งนำา มาเสีTHONBURIได้ด ้ว ย โดยให้ผ ู้จ ัด การ ย ภาษีเ งิน UNIVERSITY
  • 5. ฐานภาษีเ งิน ได้บ ุค คล ธรรมดา ทธิ = เงิน ได้พ ึง ประเมิน – ค่า ใช้จ ่า ย – ค่า ลด รอบปีภ าษีเ งิน ได้บ ุค คล ธรรมดา แต่ว น ที่ 1 มกราคม ถึง วัน ที่ 31 ธัน วาคมของทุก ปี คือ รอบ ั บแสดงรายการเสีย ภาษีต ้อ งยืน ตั้ง แต่ว ัน ที่ 1 มกราคมถึง วัน ่ ของทุก ปี THONBURI UNIVERSITY
  • 6. ประเภทของเงิน ได้พ ึง ประเมิน เงินได้พึงประเมินมี 8 ประเภท ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 40(1) ถึง (8) ดังนี้ ค่าจ้างแรงงาน ม.40(1) เงินจากหน้าที่หรือตำาแหน่งงานที่ทำา ม.40(2) ค่าลิขสิทธิ์ และสิทธิ ม.40(3) ดอกเบีย เงินปันผล ม.40(4) ้ การใช้เช่าทรัพย์สน ม.40(5) ิ วิชาชีพอิสระ ม.40(6) การรับเหมา ม.40(7) การธุรกิจ การพาณิชย์ เกษตร อุตสาหกรรม และ ทีไม่เข้าข่ายทั้ง 7 ประเภทที่กล่าวมาแล้ว ม.40(8) ่ THONBURI UNIVERSITY
  • 7. ประเภทของเงินได้พึงประเมิน ประเภทที่ 1 เงิน ได้พ ง ึ ประเมิน ตามมาตรา 40(1) เงินได้ประเภทที่ 1 ได้แก่ เงินได้เนื่องจากการจ้างแรงงาน ไม่ว่าจะ เป็นเงินเดือน ค่าจ้าง เบี้ยเลี้ยง โบนัส เบี้ยหวัด บำาเหน็จ บำานาญ เงินค่าเช่าบ้านที่ได้รับจาก นายจ้าง เงินที่คำานวณได้จากมูลค่า ของการได้อยู่อาศัยในบ้านที่นายจ้างจัดให้โดยไม่ต้องเสียค่าเช่า เงินที่นายจ้างชำาระหนี้ใด ๆ ซึ่งลูกจ้าง มีหน้าที่ต้องชำาระ และเงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์ใด ๆ บรรดาที่ ได้มาเนื่องจากการจ้างงานแรงงาน เงินที่นายจ้างจ่ายให้ครั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงาน รวมทั้งเงิน ชดเชยตามกฎหมายแรงงานที่มีระยะ การทำางานน้อยกว่า 5 ปี เงินที่นายจ้างจ่ายให้ครั้งเดียวเพราะออกจาก งาน รวมทั้งเงินชดเชยตามกฎหมาย แรงงานที่มีระยะเวลาการทำางาน 5 ปีขึ้นไปที่เลือกนำามารวมคำานวณ ภาษีกับเงินได้อื่น THONBURI UNIVERSITY
  • 8. ประเภทของเงินได้พึงประเมิน ประเภทที่ 2 เงิน ได้พ ง ประเมิน ตาม ึ มาตรา 40(2) เงินได้ประเภทที่ 2 ได้แก่ เงินได้จากหน้าที่หรือตำาแหน่งงานที่ทำา หรือจากการรับทำางานไม่ว่าจะเป็น ค่าธรรมเนียม ค่านายหน้า ค่าส่วนลด เงินอุดหนุนในการงานที่ทำา เบี้ยประชุม บำาเหน็จ โบนัส ค่าเช่า บ้าน เงินที่คำานวณได้จากมูลค่าของการได้อยู่บ้านที่ผู้จ่ายเงินได้ให้อยู่ โดยไม่ต้องเสียค่าเช่า เงินทีผู้จ่ายเงิน ่ ได้ชำาระหนี้ใด ๆ ซึ่งผู้มีเงินได้มีหน้าที่ต้องชำาระ และเงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์ใด ๆ บรรดาที่ได้ เนื่องจากหน้าที่หรือตำาแหน่งที่ทำา หรือจากการรับทำางานในนั้น ไม่ว่า หน้าที่หรือตำาแหน่งงานหรืองานที่รับ ทำานั้นจะเป็นการประจำาหรือชั่วคราว เช่น เงินค่าหน้านาย ค่าตัวแทน จากากรขายสินค้าหรือหาประกันชีวิต หาประกันภัย เหล่านี้เป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(2) THONBURI UNIVERSITY
  • 9. ประเภทของเงินได้พึงประเมิน ประเภทที่ 2 เงิน ได้พ ึง ประเมิน ตาม มาตรา 40(2)_ต่อ การที่ลกจ้างพักอาศัยอยู่ในบ้านพักของนายจ้าง การคำานวณ ู หามูลค่าของประโยชน์ที่ได้รับจาก การได้อยู่อาศัยในบ้านพักของนายจ้างโดยไม่เสียค่าเช่า ทั้งกรณีที่ ถือว่าเป็นเงินได้พึงประเมินประเภทที่ 1 และประเภทที่ 2 มีหลักปฏิบัติดังนี้ (1) ถ้าลูกจ้างมิได้เป็นข้าราชการ ให้คำานวณค่าของ ประโยชน์เพิ่มในอัตราร้อยละ 20 ของ เงินเดือนหรือค่าจ้าง รวมทั้งเงินเพิ่มต่าง ๆ ตลอดปี แต่ไม่รวมเงิน โบนัสที่จ่ายเป็นรายปี กรณีถ้าลูกจ้างหลายคนได้รับประโยชน์เพิ่มร่วมกัน เช่น พักอาศัยในบ้านพักของนายจ้าง ร่วมกันหลายคน ให้คำานวณมูลค่าประโยชน์เพิ่มในอัตราร้อยละ 20 ของเงินเดือนค่าจ้างของแต่ละคน THONBURI UNIVERSITY
  • 10. ประเภทของเงินได้พึงประเมิน ประเภทที่ 2 เงิน ได้พ ง ประเมิน ตาม ึ มาตรา นายวิโรจน์เป็นอ กงานประจำาของธนาคารกรุงไทย ตัว อย่า ง 40(2)_ต่พนั จำากัด (มหาชน) สาขาเชียงราย มีเงินเดือนเดือนละ 15,000 บาท และได้รับเงินเพิ่ม เนื่องจากปฏิบัติงาน อยู่ในท้องถินกันดารอีกเดือนละ 500 บาท ปลายปีได้รับโบนัส ่ 8,000 บาท และนายวิโรจน์ได้พักอยู่ วิธ ีท ำา ชั้นบนของอาคารธนาคารที่จัดไว้เป็นที่พักพนักงานโดยไม่เสียค่าเช่า จงคำานวณมูลค่าประโยชน์เพิ่มที่ นายวิโรจน์ได้รับจากการพักอาศัยในบ้านพักของนายจ้าง เงินเดือนของนาย 180,0 วิโรจน์ตลอดปี = 12 x 15,000 = 00 บวก เงินเพิ่มเบี้ย กันดาร รวมเงินได้ ตลอดปี = 12 x 500 180,000 + THONBURI 6,000 UNIVERSITY = = 6,000 = 186,0 00
  • 11. ประเภทของเงินได้พึงประเมิน ประเภทที่ 2 เงิน ได้พ ง ประเมิน ตาม ึ มาตรา ่ 40(2)_ต่อ ตัว อย่า งที 2 นายดำา นายแดงและนายขาว เป็นพนักงานของบริษัท แห่งหนึงได้รับเงินเดือน ่ คนละ 3.000 , 4.000 , 5,000 บาทตามลำาดับ โดยนายจ้างเช่าบ้าน ให้อยู่ร่วมกันค่าเช่าบ้านเดือน วิธ ีท ำา ละ 2.000 บาท จงคำานวณมูลค่าประโยชน์เพิ่มที่ทงสามคนได้รับจาก ั้ 12 x การอยู่อาศัยบ้านโดยไม่เสียค่าเช่า เงินเดือนนายดำาตลอดปี เงินเดือนนายแดงตลอดปี เงินเดือนนายขาวตลอดปี = 3,00 0 = 36,000 = 12 x 4,00 0 = 48,000 = 12 x 5,00 0 = 60,000 = 144,000 = 24,000 รวมเงินได้ทั้งสามคน ค่าเช่าทีนายจ้างออกให้ ่ ตลอดปี 12 x 2,00 THONBURI UNIVERSITY = 0
  • 12. ประเภทของเงินได้พึงประเมิน ประเภทที่ 3 เงิน ได้พ ึง ประเมิน ตาม มาตรา 40(3) เงินได้ประเภทที่ 3 ได้แก่ ค่าแห่งกูดวิลล์ ค่าแห่งลิขสิทธิหรือสิทธิ ๊ ์ อย่างอื่น เงินปีหรือเงินได้อันมีลักษณะเป็นเงินรายปีอนได้มาจากพิน ัย กรรม ั นิติกรรมอย่างอื่น หรือตามคำาพิพากษา ของศาล เงินได้ประเภทนี้เป็นเงินได้จากทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่ ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร เครื่องหมายการค้า ซึ่งโอนขายหรืออนุญาตให้ผู้อนใช้สิทธิดังกล่าว ื่ และได้เงินมาเป็น เงินได้แก่เจ้าของสิทธินั้น ๆ เช่น นายหนึ่ง ประดิษฐ์รถอีแต๋นชนิดอเนกประสงค์ได้ และจดทะเบียน สิทธิบัตรไว้ แล้วได้ขายสิทธิบัตรนี้ ให้แก่บริษัทแห่งหนึ่งเป็นเงิน 1,000,000 บาท เงินจำานวนนี้เป็น เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(3) เงินค่าธรรมเนียมในการอนุญาตให้ใช้เครื่องหมายการค้าเป็นเงินได้ พึงประเมินตามมาตรา 40(3) เงินค่าตอบแทนที่ได้รTHONBURI UNIVERSITY ตรเหมืองแร่เป็นเงิน ับจากการโอนสิทธิประทานบั
  • 13. ประเภทของเงินได้พึงประเมิน ประเภทที่ 4 เงิน ได้พ ึง ประเมิน ตาม มาตรา 40(4) เงินได้ประเภทที่ 4 ได้แก่ ดอกเบี้ยและเงินปันผลต่าง ๆ ดังนี้ (ก) ดอกเบี้ยพันธบัตร ดอกเบี้ยเงินฝาก ดอกเบี้ยหุ้นกู้ ดอกเบี้ยตั๋วเงิน ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมไม่วามีหลักประกันหรือไม่ ฯลฯ ่ (ข) เงินปันผล เงินส่วนแบ่งกำาไร หรือประโยชน์อย่างอื่นที่ได้ จากบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล กองทุนรวม หรือสถาบัน ทางการเงินที่มีกฎหมายโดยเฉพาะของประเทศไทยจัดตั้งขึ้นสำาหรับ ให้กยืมเงินเพื่อส่งเสริมการเกษตรกรรม พาณิชยกรรม หรือ ู้ อุตสาหกรรม ฯลฯ (ค) เงินโบนัสที่จ่ายแก่ผู้ถือหุ้น หรือผู้เป็นหุ้นส่วนในบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล (ง) เงินลดทุนของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเฉพาะส่วนที่ จ่ายไม่เกินกว่ากำาไรและเงินที่กันไว้รวมกัน (จ) เงินเพิ่มทุนของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งตั้งจาก กำาไรที่ได้มา (ฉ) ผลประโยชน์ที่ได้จากการที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วน ยชน์ที่ได้จากการผ่อนสินค้า ค่าเช่าซื้อ หรือชำาระราคาสินค้าเกินกว่ากำาหนดถือเป็นเงินได้พึงป นิติบุคคลควบเข้ากัน หรือรับช่วงกัน หรือเลิกกัน ซึ่งตีราคาเป็นเงิน THONBURIนกว่าทุน ได้เกิ UNIVERSITY
  • 14. ประเภทของเงินได้พึงประเมิน ประเภทที่ 5 เงิน ได้พ ึง ประเมิน ตาม มาตรา ป40(5)่ 5 ได้แก่ เงินหรือผลประโยชน์อย่างอื่น เงินได้ ระเภทที เนืองจาก ่ (ก) การให้เช่าทรัพย์สิน (ข) การผิดสัญญาเช่าซือทรัพย์สิน และ ้ (ค) การผิดสัญญาซื้อขายเงินผ่อน ซึ่งผู้ขายได้รับคืน สินค้าที่ซอขายนั้น โดยไม่ต้องคืนเงินหรือผลประโยชน์ทได้ ื้ ี่ รับแล้ว การให้เช่าทรัพย์สนนันถ้าผู้มเงินได้ประเมินเองตำ่า ิ ้ ี ไปเจ้าพนักงานมีอำานาจประเมินใหม่ ตามจำานวนที่ ทรัพย์สินนันสมควรจะให้เช่าได้ตามปกติ ้ การผิดสัญญาเช่าซือหรือซื้อขายเงินผ่อนนันต้องเป็น ้ ้ เงินหรือประโยชน์ทได้รับเนืองจาก “การผิด สัญ ญา ” ถ้า ี่ ่ เป็นค่าเช่าซื้อหรือค่าผ่อนส่งทีได้รับ “ตามสัญ ญา ” ไม่ถือ ่ เป็นเงินได้พึงประเมินตามข้อนี้ กรณีผู้เป็นเจ้าของทีดินทำาสัญญาให้ผู้อื่นปลูกสร้าง ่ อาคารหรือโรงเรียนบนที่ดน ของตน โดยผู้ปลูก THONBURI ิ UNIVERSITY
  • 15. ประเภทของเงินได้พึงประเมิน ประเภทที่ 5 เงิน ได้พ ง ประเมิน ตาม ึ มาตรา 40(5) ต่อ อโรงเรือนให้ถือเราราคาทุนทีแท้จริง การคำานวณมูลค่าของอาคารหรื ่ ของอาคารหรือโรงเรือน ดังกล่าว ในวันที่ได้รับกรรมสิทธิ์มา คำานวณมูลค่าตามอัตราร้อยละของ จำานวนปีแห่งอายุการเช่า จำานวนปีแห่งอายุ อัตราร้อยละของ จำานวนปีแห่งอายุ อัตราร้อยละของ ตามตารางดังต่อไปนี้ มูลค่าอาคาร การเช่า การเช่า มูลค่าอาคาร 1 95.0 11 56.9 2 90.2 12 54.0 3 85.7 13 51.3 4 81.4 14 48.8 5 77.4 15 46.4 6 73.5 16 44.0 7 69.8 17 41.8 8 66.3 18 39.7 9 63.0 19 37.7 10 59.9 20 ปีขึ้นไป 35.8 THONBURI UNIVERSITY
  • 16. ประเภทของเงินได้พึงประเมิน ประเภทที่ 5 เงิน ได้พ ง ประเมิน ตาม ึ มาตรา 40(5) ต่อ ตัวอย่าง บริษัทมะลิ จำากัด สร้างอาคารพาณิชย์มูลค่า 20,000,000 บาท บนที่ดินของนางสาวขาว แล้วยกกรรมสิทธิ์อาคารให้นางสาวขาว โดย บริษัทได้รับ กรรมสิทธิ์การเช่า 20 ปี มูลค่าอาคารที่นางสาวขาวจะต้องนำาไปประเมิน ภาษีเป็นจำานวนเท่าไร 100 วิธ ีท ำา มูลค่าอาคารในวันได้กรรมสิทธิ์ 20,000,000 จำานวนปีอายุการเช่า 20 ปี ร้อยละ 35.8 = 20,000,000 x 35.8 = 7,160,000 บาท สรุป คือ เงิน แป๊ะ เจี๊ย ะหรือ เงิน กิน เปล่า ที่ไ ด้ร ับ จากการให้ป ลูก สร้า งอาคารหรือ เนื่อ งจากการ ให้เ ช่า ทรัพ ย์ส ิน จะต้อ งเสีย ภาษีต ามกำา หนดดัง นี้ THONBURI UNIVERSITY (1) เงินได้ดังกล่าวให้นำามาเฉลี่ยเป็นรายปีตามอายุสัญญาเช่า
  • 17. ประเภทของเงินได้พึงประเมิน ประเภทที่ 6 เงิน ได้พ ึง ประเมิน ตาม มาตรา 40(6) เงินได้ประเภทที่ 6 ได้แก่ เงินได้จากวิชาชีพอิสระ เช่น วิชากฎหมาย การประกอบโรคศิลปะ วิศวกรรม สถาปัตยกรรม การบัญชี ประณีตศิลปกรรม หรือวิชาชีพ อิสระอื่นใดทีจะได้มพระราชกฤษฎีกากำาหนดชนิดไว้ ่ ี ผู้ประกอบอาชีพอิสระนีต้องมิใช่ลูกจ้าง พนักงานรับเงิน ้ เดือนของทางราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์กรธุรกิจ เช่น ทนายความรับเงิน เดือนของบริษัท หรือแพทย์ของ องค์กรวิสาหกิจ อาชีพดังกล่าวนี้ไม่ถือว่าเป็นผู้มเงินได้ตาม ี มาตรา 40(6) ผู้ทมเงินได้ ี่ ี ตามมาตรานี้จะต้องเป็นทนายความมีสำานักงานส่วนตัว หรือ THONBURI UNIVERSITY
  • 18. ประเภทของเงินได้พึงประเมิน ประเภทที่ 7 เงิน ได้พ ง ประเมิน ึ ตามมาตรา 40(7) เงินได้ประเภทที่ 7 ได้แก่ เงินได้จากการรับเหมาต้อง ลงทุนด้วยการจัดหาสัมภาระใน ส่วนสำาคัญตนอกจากเครื่องมือ เช่น รับเหมาก่อสร้างทังของ ้ และทังค่าแรง หากรับเหมา ้ เฉพาะค่าแรงไม่เป็นเงินได้ตามมาตรา 40(7) ผู้รับเหมารับเหมาสร้างตึกในทีดินของนายหนึ่งแล้ว ่ ผู้รับเหมายกกรรมสิทธิ์ในตึกนัน ้ ให้แก่นายหนึงโดยผู้รับเหมาได้รับสิทธิเช่าตึกแถวนั้น สิบปี ่ ต่อมา ผู้รับเหมาได้โอนสิทธิ การเช่าให้แก่ผู้อื่นโดยได้ค่าตอบแทน เงินค่าตอบแทนที่ ผู้รับเหมาได้รับมานัน ้ THONBURI UNIVERSITY
  • 19. ประเภทของเงินได้พึงประเมิน ประเภทที่ 8 เงิน ได้พ ง ประเมิน ึ ตามมาตรา 40(8) เงินได้ประเภทที่ 8 ได้แก่ เงินได้จากการธุรกิจ การ พาณิชย์ การเกษตร การอุตสาหกรรม การขนส่ง การขาย อสังหาริมทรัพย์ หรือการอื่นในนอกจาก ทีระบุไว้ในมาตรา 40(1) ถึง (7) ถือเป็นเงินได้ครอบ ่ จักรวาล คือถ้าไม่เข้าตามประเภทที่ 1 – 7 แล้วต้องเข้าข้อนี้หมด THONBURI UNIVERSITY
  • 20. การหัก ค่า ใช้จ ่า ย ในการคำานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากฎหมายยอมให้หกค่าใช้จ่าย ั ได้ 2 วิธี วิธ แ รก ี ให้หักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมา โดยกำาหนดอัตราค่าใช้จ่ายไว้ ตายตัวเป็น ร้อยละซึ่งแตกต่างกันไปตามประเภทของเงินได้ วิธ ท ี่ส อง ให้หักค่าใช้จ่ายได้ตามความจำาเป็นและสมควร คือให้หักค่า ี ใช้จ่ายไดตามที่ จ่ายจริง แต่ต้องแสดงหลักฐานพิสูจน์ค่าใช้จ่ายได้ นั่นคือ ต้องทำาบัญชีและ มีใบเสร็จรับเงิน THONBURI UNIVERSITY
  • 21. การหัก ค่า ใช้จ ่า ย 1. เงิน ได้พ ึง ประเมิน ตามมาตรา 40(1) และ (2) ได้แก่ เงินได้จากเงินเดือน ค่าจ้าง เงินจากหน้าทีการงาน ่ ค่านายหน้า โบนัส เบี้ยเลี้ยง เบี้ยประชุม บำาเหน็จ บำานาญ ฯลฯ หักค่าใช้จ่าย ได้ดงนี้ ั 1.1 เงิน ได้ท ุก ชนิด ที่จ ่า ยให้ห ลายครั้ง ในรอบปีภ าษี เช่น เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส เป็นต้น ให้ค ่า ใช้จ ่า ยเป็น การเหมาได้ร ้อ ยละ 40 ของ เงิน ได้ แต่ไ ม่เ กิน 60,000 บาท ถ้า สามีแ ละภริย าต่า งฝ่า ยต่า งมีเ งิน ได้ แต่ล ะฝ่า ยหัก ค่า ใช้ จ่า ยของตนได้ร ้อ ยละ 40 แต่ไ ม่เ กิน 60,000 บาท เช่น เดีย วกัน THONBURI UNIVERSITY
  • 22. การหัก ค่า ใช้จ ่า ย 1.2 เงิน ได้ท ี่น ายจ้า งจ่า ยให้ค รั้ง เดีย วเพราะเหตุอ อกจากงาน และผู้มเงินได้เลือกเสียภาษีโดยไม่นำาไปรวมคำานวณภาษีกับเงินได้อื่น ๆ ให้หักค่าใช้จ่ายตาม ี หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขดังต่อไปนี้ ข้อ 1 เงินได้พงประเมินที่นายจ้างจ่ายให้ครังเดียวเพราะเหตุออกจากงาน ึ ้ ให้หมายถึงเงินดังต่อไปนี้ (1) เงินได้พงประเมินที่คำานวณตามหลักเกณฑ์และวิธีการเช่นเดียวกับการ ึ คำานวณบำาเหน็จตามกฎหมายว่าด้วยบำาเหน็จบำานาญข้าราชการ (2) เงินที่จายกองทุนตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนสำารองเลี้ยงชีพ หรือ กฎหมายว่าด้วยกองทุนบำาเหน็จบำานาญข้าราชการ (กบข.) (3) เงินชดเชยตามกฎหมายแรงงาน (4) เงินได้พงประเมินที่จ่ายให้ครั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงานที่มวิธีการคำานวณต่างไปจาก ึ ี กฎหมายว่าด้วยบำาเหน็จบำานาญข้าราชการ THONBURI UNIVERSITY
  • 23. การหัก ค่า ใช้จ ่า ย 1.2 เงิน ได้ท น ายจ้า งจ่า ยให้ค รัง เดีย วเพราะเหตุอ อกจากงาน (ต่อ) ี่ ้ ข้อ 2 เงินได้พงประเมินตามข้อ 1 ผู้มีเงินได้จะเลือกเสียภาษี ึ แยกจากเงินได้อื่นตามมาตรา 40(5) จะต้องมีเงื่อนไขดังนี้ (1) เงินได้ทจ่ายให้เนื่องจากออกจากงานทีมระยะเวลาทำางานไม่น้อยกว่า ี่ ่ ี 5 ปี (2) ถ้าเป็นเงินได้ตามข้อ 1 ทีมีการจ่ายเงินจากผู้จ่ายรายเดียวกันหลายครั้ง ่ ไม่วาจะแบ่งจ่ายจากเงินประเภทเดียวกันหรือหลายประเภท ให้นำาเงินเฉพาะทีจ่าย ่ ในปีภาษี แรกทีมการจ่ายเงินได้ดังกล่าวมาคำานวณเท่านั้น ่ ี (3) ผูมีเงินได้เลือกเสียภาษีในกรณีนี้ได้เฉพาะกรณีผมีเงินได้ไม่นำาเงินได้ ้ ู้ พึงประเมินดังกล่าวไปรวมคำานวณภาษีตามมาตรา 48(1) และ (2) ไม่ว่าทังหมดหรือ ้ บางส่วน THONBURI UNIVERSITY
  • 24. การหัก ค่า ใช้จ ่า ย 1.2 เงิน ได้ท ี่น ายจ้า งจ่า ยให้ค รั้ง เดีย วเพราะเหตุอ อกจากงาน (ต่อ) ข้อ 3 การคำานวณค่าใช้จ่ายให้ถือหลักเกณฑ์ดังนี้ ก. ในกรณีจ่ายตามกฎหมายว่าด้วยบำาเหน็จบำานาญข้าราชการ นั่นคือ บำาเหน็จเท่ากับเงินเดือนเดือนสุดท้ายคูณด้วยจำานวนปีที่ทำางาน ให้หักค่าใช้จ่ายได้ดังนี้ ค่า ใช้จ ่า ยส่ว นที่ 1 เฉพาะกรณีไดรับบำาเหน็จอย่างเดียวให้หักค่าใช้จ่ายเป็น จำานวนเท่ากับ 7,000 คูณด้วยจำานวนปีที่ทำางาน แต่ไม่เกินบำาเหน็จ แต่ถ้ารับทั้งบำาเหน็จและ บำานาญให้เอา 3,500 คูณจำานวนปีที่ทำางาน ค่า ใช้จ ่า ยส่ว นที่ 2 เมื่อหักค่าใช้จ่ายส่วนที่ 1 แล้วเหลือเท่าใดให้หักค่าใช้จ่ายได้อีกร้อย ละ 50 ของเงินส่วนที่เหลือนัน ้ จำานวนปีที่คำานวณ ให้คิดคำานวณจำานวนปีที่ทำาจริง ๆ ในกรณีของหน่วยงานเอกชน เศษของ ปีถ้าถึง 183 วันให้คดเป็น 1 ปี ถ้าไม่ถึงให้ปัดทิ้ง ิ THONBURI UNIVERSITY
  • 25. การหัก ค่า ใช้จ ่า ย ข้อ 3 การคำานวณค่าใช้จ่ายให้ถือหลักเกณฑ์ดงนี้ (ต่อ) ั ข. ในกรณีจ่ายบำาเหน็จไม่เป็นตามกฎหมายบำาเหน็จบำานาญข้าราชการ นั่นคือ บริษัทเอกชนตั้งกฎเกณฑ์ขึ้นเอง ให้หักค่าใช้จ่ายดังนี้ 1. เงินบำาเหน็จที่จะต้องนำามาหักค่าใช้จ่ายได้ตามข้อ ก. เท่ากับเงิน บำาเหน็จที่จะจ่ายให้ แต่ไม่เกินจำานวนเงินได้เต็มเดือนเดือนสุดท้ายคูณ ด้วยจำานวนปีททำางาน 2. เงินได้เต็มเดือนเดือนสุดท้ายทีจะนำามา ี่ ่ คำานวณตามข้อ (1) นั้นจะต้องไม่เกินเงินได้รายเดือนถัวเฉลี่ยของ 12 เดือนสุดท้ายก่อนออกจากงาน บวกด้วยร้อยละ 10 ของเงินเดือนถัว เฉลี่ยนั้น 3. จำานวนปีททำางานตามข้อ (1) จะต้องไม่น้อยกว่า 5 ปี ถ้าน้อยกว่า 5 ี่ ปีจะหักค่าใช้จ่ายตามเกณฑ์นี้ไม่ได้ THONBURI UNIVERSITY
  • 26. การหัก ค่า ใช้จ ่า ย ตัว อย่า งที่ 1 กรณีเ งิน ได้ไ ม่เ ท่า กัน ทุก เดือ น นายกนกชัยได้รับเงินเดือนจากบริษัทตั้งแต่เดือนมกราคมถึงมิถุนายน เดือนล่ะ 12,000 บาท และตั้งแต่เดือนกรกฎาคมถึงธันวาคมเดือนละ 15,000 บาท เขาได้ลาออก จากงานเมื่อ วันที่ 31 ธันวาคม ทำางานมาครบ 10 ปี ได้บำาเหน็จ 150,000 บาท จงคำานวณหาค่า ใช้จ่ายของเงิน บำาเหน็จ วิธ ีท ำา เนื่องจากเงินเดือนทีได้รับแต่ละเดือนไม่เท่ากันตลอดปีจงต้องหาเงินเดือน ่ ถัวเฉลี่ย แล้วจึงนำาไปคำานวณหาค่าใช้จ่ายดังนี้ (1) เงินเดือนถัวเฉลี่ยของ 12 เดือนสุดท้าย = (12,000 x 6) + (15,000 x 6) = 13.500 100 (2) บวกเงินเดือนถัวเฉลี่ยด้วยร้อยละ 10 = 13.500 x 10 = 1,350 = 13,500 + 1,350 = 14,850 THONBURI UNIVERSITY
  • 27. การหัก ค่า ใช้จ ่า ย ตัว อย่า งที่ 2 กรณีเ งิน เดือ นไม่เ ท่า กัน ทุก เดือ น (ต่อ ) (3) แต่เงินเดือนเดือนสุดท้าย = 15,000 ซึงเกินกว่าเงินเดือนถัวเฉลี่ย (14,850) จึงต้องใช้เงินเดือนถัวเฉลี่ยคูณ ่ ด้วยจำานวนปีที่ทำางาน (10 ปี) นำามาเป็นเงินได้ที่ถือเป็นเกณฑ์คำานวณค่าใช้จ่าย (4) จำานวนเงินที่ถอเป็นเกณฑ์คำานวณค่าใช้จ่าย = 14,850 x 10 ื = 148,500 (5) ค่าใช้จ่ายส่วนแรก = 7,000 x 10 = 70,000 (6) คงเหลือ = 148,500 – 70,000 = 78,500 100 (7) ค่าใช้จ่ายส่วนที่ 2 = ร้อยละ 50 ของยอดคงเหลือ = 78,500 x 50 = 39,250 (8) รวมหักค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น = (5) + (7) = 109,250 THONBURI UNIVERSITY
  • 28. การหัก ค่า ใช้จ ่า ย ตัว อย่า งที่ 3 กรณีเ งิน เดือ นเท่า กัน ทุก เดือ น บริษทแห่งหนึ่งได้จ่ายเงินบำาเหน็จบำานาญให้แก่ลูกจ้างซึ่งทำางานมาครบ 20 ปี ั เงินเดือนเดือนสุดท้าย 8,000 บาท บริษทได้จ่ายเงินบำาเหน็จให้ 100,000 บาท และให้บำานาญ ั อีกเดือนละ 4,000 บาทตลอดชีวิต จงคำานวณค่าใช้จ่ายของเงินได้ของลูกจ้างในปีที่ลาออก วิธีทำา คำานวณค่าใช้จ่ายเงินบำาเหน็จ (1) เงินบำาเหน็จที่จะนำามาคำานวณ = 8,000 x 20 = 160,000 (2) บำาเหน็จที่ได้รับจริง 100,000 (ใช้เป็นเกณฑ์ในการคำานวณ) (3) ค่าใช้จ่ายส่วนแรก = 3,500 x 20 = 70,000 (4) ค่าใช้จ่ายส่วนที่ 2 = (100,000 – 70,000) x 50 = 15,000 (5) รวมเงินค่าใช้จ่ายของเงินบำาเหน็จ (3) + (4) = 75,000 (6) คงเหลือ (เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย) = 100,000 – 85,000 = 15,000 100 THONBURI UNIVERSITY
  • 29. การหัก ค่า ใช้จ ่า ย ตัว อย่า งที่ 3 กรณีเ งิน เดือ นเท่า กัน ทุก เดือ น (ต่อ ) วิธ ีท ำา คำานวณค่าใช้จ่ายเงินบำานาญ (7) เงินบำานาญตลอดปี = 4,000 x 12 48,000 (8) หักค่าใช้จ่ายร้อยละ 40 ของเงิน 48,000 = 19,200 (9) คงเหลือ (เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย) = 48,000 – 19,200 = 28,800 (10) รวมหักค่าใช้จ่ายทังสิ้น (5) + (8) ้ = 104,200 THONBURI UNIVERSITY =
  • 30. การหัก ค่า ใช้จ ่า ย 2. เงิน ได้พ ง ประเมิน ตามมาตรา 40(3) ึ ได้แก่ เงิน ได้จ ากค่า กู๊ด วิล ล์ ค่า ลิข สิท ธิ์ ค่า สิท ธิบ ัต ร ค่า เครื่อ งหมายการค้า กฎหมายไม่ย อมให้ห ัก ค่า ใช้จ า ย เว้น แต่เ งิน ได้เ ป็น ค่า ลิข สิท ธิ์ย อมให้ห ัก ่ ได้เ ป็น การเหมา ร้อ ยละ 40 ของค่า ลิข สิท ธิ์ แต่ไ ม่เ กิน 60,000 บาท (มาตรา 42 ตรี) ถ้าสามี และภริยาต่างมี เงินได้ค่าลิขสิทธิ์ และความเป็นสามีภริยามีอยู่ตลอดปีภาษี ให้แต่ละฝ่ายหักค่าใช้ จ่ายได้ ร้อยละ 40 ของค่าลิขสิทธิ์ แต่ไม่เกิน 60,000 บาท 3. เงิน ได้พ ง ประเมิน ตามมาตรา 40(4) ึ ได้แก่ ดอกเบี้ย เงินปันผล เงินโบนัสที่จ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้น กฎหมายไม่ย อมให้ หัก ค่า ใช้จ า ยใด ๆ ่ THONBURI UNIVERSITY
  • 31. การหัก ค่า ใช้จ ่า ย 4. เงิน ได้พ ึง ประเมิน ตามมาตรา 40(5) ได้แก่ ค่าเช่าต่าง ๆ และเงินได้เกี่ยวกับค่าเช่า ให้หักค่าใช้จ่ายได้ตามความจำาเป็น และสมควรหรือหักค่าใช้ได้เป็นการเหมาดังนี้ (พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2502) 4.1 ค่า เช่า      ค่าเช่าบ้าน โรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอื่น ๆ หรือแพ หักได้รอยละ 30 ้ ค่าเช่าที่ดินที่ใช้ในการเกษตรกรรม หักได้รอยละ 20 ้ ค่าเช่าที่ดนที่ม ไ ด้ใ ช้ในการเกษตรกรรม ิ ิ หักได้ร้อยละ 15 ค่าเช่ายานพาหนะ หักได้รอยละ 30 ้ ค่าเช่าทรัพย์สินอื่น ๆ หักได้รอยละ 10 ้ 4.2 กรณีผ ด สัญ ญาเช่า ทรัพ ย์ส ิน ให้ห ก ค่า ใช้จ า ยได้เ ป็น การเหมาร้อ ยละ 20 วิธ เ ดีย ว ิ ั ่ ี 4.3 กรณีก ารผิด สัญ ญาซื้อ ขายเงิน ผ่อ น ซึ่งผู้ขายได้รับทรัพย์สินที่ซื้อขายคืนมาโดยไม่ต้องคืนเงิน หรือประโยชน์ที่ได้รับไว้แล้ว ให้ห ก ค่า ใช้จ ่า ยได้เ ป็น การเหมาร้อ ยละ 20 วิธ เ ดีย ว ั ี 2. เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(4) ได้แก่ ดอกเบี้ย เงินปันผล เงินโบนัสที่จ่ายให้แก่ผถือหุน กฎหมายไม่ยอมให้หักค่าใช้จ่ายใด ๆ ู้ ้ THONBURI UNIVERSITY
  • 32. การหัก ค่า ใช้จ ่า ย 5. เงิน ได้พ ึง ประเมิน ตามมาตรา 40(6) ได้แก่ เงินได้จากวิชาชีพอิสระ ผู้มเงินได้จะเลือกหักค่าใช้ ี จ่ายตามความจำาเป็นและ สมควรหือหักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมาดังนี้ (พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2502) 5.1 เงินได้จากการประกอบโรคศิลปะ หัก ได้ร้อยละ 60 สระ ได้แก่ วิเงิาชีพจากวิชาชีพอิสระอื่น ๆนอกจาก 5.1 วกรรม สถ 5.2 ช นได้ กฎหมาย การประกอบโรคศิลปะ วิศ ารบัญชี ประณีตศิลปกรรม หรือวิชาชีพอื่นตามพระราชกฤษฎีกากำา หักได้ร้อยละ 30 THONBURI UNIVERSITY
  • 33. การหัก ค่า ใช้จ ่า ย 6. เงิน ได้พ ึง ประเมิน ตามมาตรา 40(7) ได้แก่ เงินได้จากการับเหมาซึ่งผู้รับเหมาต้องจัดการ สัมภาระในส่วนทีสำาคัญ ผู้มเงินได้ ่ ี จะเลือกหักค่าใช้จ่ายตามความจำาเป็นและสมควร หรือหักค่าใช้ จ่ายเป็นการเหมาร้อยละ 70 (พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2502) THONBURI UNIVERSITY
  • 34. การหัก ค่า ใช้จ ่า ย 7. เงิน ได้พ ึง ประเมิน ตามมาตรา 40(8) เงินได้จากธุรกิจ การพาณิชย์ การเกษตร การ อุตสาหกรรม การขนส่ง การขาย อสังหาริมทรัพย์ หรือการอื่น ๆ นอกจากทีระบุไว้ใน มาตรา ่ 40(1) ถึง (7) แล้วหักค่าใช้จ่าย ตามความจำาเป็นและสมควร หรือหักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมา ตามอัตราตามพระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2502 THONBURI UNIVERSITY
  • 35. การหัก ค่า ใช้จ ่า ย สรุป การหัก ค่า ใช้จ ่า ย ค่าจ้างแรงงาน ม.40(1)  รวมหักได้ 40% แต่ไม่เกิน 60,000  ค่าทำางานให้หรือจากหน้าที่ ม.40(2)  ค่าลิขสิทธิ์ ค่ากู๊ดวิลล์ และค่าแห่งสิทธิอื่น ๆ ม.40(3)  ให้หักเฉพาะค่าลิขสิทธิ์ 40% แต่ไม่เกิน 60,000  ค่าดอกเบี้ย เงินปันผล ม.40(4)  กฎหมายไม่ยอมให้หกค่าใช้จ่าย ั  ค่าเช่าทรัพย์สิน ม.40(5)  หักได้ 10 – 30% แล้วแต่กรณี  ค่าวิชาชีพอิสระ ม.40(6)  การประกอบโรคศิลปะหัก 60% นอกนั้นหัก 30%  ค่ารับเหมา ม.40(7)  หัก 70%  ธุรกิจ การพาณิชย์ เกษตร อุตสาหกรรมและอื่น ม.40(8)  หัก 40 – 85% แล้วแต่กรณี The End THONBURI UNIVERSITY