SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
ใบความรู้ที่ 1.1 เรื่อง สิ่งแวดล้อม
ความหมายของสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม หมายถึง สรรพสิ่งที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติและมนุษย์สร้าง
ขึ้นซึ่งให้ประโยชน์และโทษ เห็นและไม่เห็นด้วยตาเปล่า เป็นรูปธรรมและ
นามธรรม สิ่งเป็นพิษและไม่เป็นพิษ
ประเภทของสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมสามารถจาแนกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้
1. สิ่งที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ เป็นสิ่งที่เกิดและ วิวัฒนาการมาหลาย
พันล้านปี มีความเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา และ สามารถรักษาสมดุลอยู่ได้โดย
ธรรมชาติ เช่น ดิน น้า เเร่ ป่าไม้ สัตว์ มนุษย์ อากาศ แสงแดด มีสีสัน
แตกต่างกัน เช่น สีเขียว สีแดง สีขาว สีดา สิ่งที่เกิดตามธรรมชาติต้องมี
สิ่งแวดล้อมอื่นประกอบเสมอ จะเกิดโดยโดดเดี่ยวไม่ได้ สิ่งที่เกิดตาม
ธรรมชาติสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทดังนี้
1.1 สิ่งมีชีวิต ลักษณะ เเละ สมบัติ เฉพาะตัวของ
สิ่งมีชีวิต เช่น พืช สัตว์ และ มนุษย์ เป็นต้น มีขนาด เล็ก ใหญ่ สูง ต่า
หนัก เบา ดา ขาว แตกต่างกันตามชนิด และ กรรมพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
1.2 สิ่งที่ไม่มีชีวิต เป็นสิ่งที่อาจเห็นหรือไม่สามารถมองเห็นได้ เช่น ดิน น้า ก๊าซ อากาศ ลม ไฟ
ควัน เสียง สี เป็นต้น
2. สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น มนุษย์แต่เดิมเป็นสิ่งที่ เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ แต่มนุษย์สามารถสร้างสิ่งแวดล้อมขึ้นมา
ใหม่ได้ทั้งโดยตั้งใจและไม่ได้ตั้งใจ สามารถมองเห็นได้และไม่สามารถมองเห็นได้ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
2.1 สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น สามารถมองเห็นได้ ได้แก่วัตถุ และสิ่งก่อสร้าง
ต่าง ๆ เช่น ถนน สะพาน รถ เครื่องบิน เรือ เป็นต้น
2.2 สิ่งแวดล้อมทางสังคม เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นด้วยความตั้งใจและไม่ตั้งใจ หรือ เป็นการสร้างเพื่อ
ความเป็นระเบียบของการอยู่ร่วมกัน เช่น ประเพณี ศาสนา กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เป็นต้น
ความสาคัญของสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ
1.เป็นเอกลักษณ์หรือสัญลักษณ์ของท้องถิ่น
2.มีความสัมพันธ์เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ หรือนิทานพื้นบ้าน
3.มีประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้าทางด้านวิทยาศาสตร์ ภูมิศาสตร์ หรือโบราณคดี
4.เป็นโครงสร้างธรรมชาติที่ดี หายาก หรือเป็นทัศนียภาพที่สวยงาม
5.เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์หรือเป็นที่เคารพบูชา
6.เป็นแหล่งกาเนิดสิ่งต่างๆบนโลกนี้
คุณสมบัติของสิ่งแวดล้อม
มาทาความเข้าใจในภาพกว้างก่อนนะครับ ว่า สมบัติเฉพาะของ
สิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้างเพื่อที่จะทาให้เรามีความเข้าใจเพิ่ม ขึ้นเรื่อยๆ ในเรื่องของ
สิ่งแวดล้อม เพราะเรื่องของสิ่งแวดล้อมนั้น เป็นเรื่องที่มองอย่างผิวเผินแล้วเราอาจ
คิดว่า อะไรก็ได้ทั้งนั้น แต่ความจริงแล้วถ้าแยกแยะให้ดี สิ่งแวดล้อมนั้นสามารถมี
ความแตกต่างทางคุณสมบัติเฉพาะตัวของมันเอง ได้หลายอย่าง มาดูกันว่ามี
อะไรบ้าง
1.มีเอกลักษณ์เฉพาะ
2.ไม่อยู่โดดเดี่ยว
3.ต้องการสิ่งอื่นเสมอ
4.มีความเกี่ยวเนื่องกันกับสิ่งอื่นที่หลากหลาย
5.มีความเปราะบาง-ทนทานต่างกันทั้งเวลา อายุ สถานที่
6.อยู่เป็นร่วมกันอย่างผสมกลมกลืนเป็นระบบนิเวศ/ระบบสิ่งแวดล้อมที่มีสมบัติและพฤติกรรมเฉพาะตัว
7.เปลี่ยนแปลงจากสภาพหนึ่งไปสู่สภาพหนึ่งเสมอ
การปรับตัวของสิ่งมีชีวิต
การปรับตัว หมายถึง การที่สิ่งมีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลงหรือการปรับลักษณะของตนเพื่อให้เหมาะสม ที่จะอยู่รอด
และแพร่พันธุ์ได้ในสภาพแวดล้อมนั้นๆการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต เป็นผลมาจากการคัดเลือกโดยธรรมชาติ รูปแบบการปรับตัว
อาจสรุปได้เป็น 3 แบบ คือ
1. การปรับตัวทางรูปร่างลักษณะหรือทางสัณฐาน (Morphological Adaptation) เป็นการปรับลักษณะ
รูปร่างและอวัยวะภายนอกของสิ่งมีชีวิต เช่น ต้นโกงกางที่อยู่ตามป่าชายเลน มีรากค้าจุนช่วยให้ไม่ล้มง่าย ผักกระเฉดมีทุ่นช่วย
ในการลอยตัว
2. การปรับตัวทางสรีระวิทยา (Physiological Adaptation) เป็นการปรับหน้าที่การทางานของอวัยวะ เช่น
นกทะเลมีต่อมขับเกลือ (Nasal Gland) สาหรับขับเกลือส่วนเกินออกนอกร่างกาย สัตว์เลือดอุ่นมีต่อมเหงื่อ สาหรับขับ
เหงื่อระบายความร้อน
3. การปรับตัวทางพฤติกรรม (Behavior Adaptation) เป็นการปรับการดารงชีวิต เช่น การพันหลักของ
ตาลึง หรือ การออกหากินกลางคืน การจาศีลของสัตว์ เพื่อหลบเลี่ยงสิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมปัจจัยทางกายภาพ
(Physical factor)หมายถึง สภาพแวดล้อม ซึ่งไม่มีชีวิต แต่มีอิทธิพล ต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ ปัจจัย
ใดที่ขาดไปแล้วทาให้สิ่งมีชีวิตเหล่านั้นดารงชีวิตอยู่ไม่ได้ เรียกว่า (Limiting factor) เช่น
อุณหภูมิมีอิทธิพลต่อ
- กระบวนการทางสรีรวิทยาของพืชและสัตว์เลือดเย็น
- การอพยพย้ายถิ่นของสัตว์เลือดอุ่น
- การแพร่กระจายของพืชและสัตว์ต่าง ๆ
แสงสว่าง มีอิทธิพลต่อ
- อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
- การหุบบานของดอกไม้ , การออกดอกและติดผลของพืช
- พฤติกรรมการหาอาหารของสัตว์
น้ามีอิทธิพลต่อ
- การแพร่กระจายของพืชและสัตว์
- การดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ฯลฯ

More Related Content

More from เบญญาภา ตนกลาย

ประมวลรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก
ประมวลรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิกประมวลรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก
ประมวลรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิกเบญญาภา ตนกลาย
 
คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน(ง33101)
คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน(ง33101)คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน(ง33101)
คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน(ง33101)เบญญาภา ตนกลาย
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์กราฟิก ปี 2555
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์กราฟิก ปี 2555แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์กราฟิก ปี 2555
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์กราฟิก ปี 2555เบญญาภา ตนกลาย
 

More from เบญญาภา ตนกลาย (18)

ติวติว
ติวติวติวติว
ติวติว
 
ใบงาน1
ใบงาน1ใบงาน1
ใบงาน1
 
ตัวชี้วัด 1 2
ตัวชี้วัด  1 2ตัวชี้วัด  1 2
ตัวชี้วัด 1 2
 
Pre post
Pre postPre post
Pre post
 
สอบก่อนเรียน
สอบก่อนเรียนสอบก่อนเรียน
สอบก่อนเรียน
 
คำอธิบายรายวิชา ศ22102
คำอธิบายรายวิชา ศ22102คำอธิบายรายวิชา ศ22102
คำอธิบายรายวิชา ศ22102
 
คำอธิบายรายวิชา ง21203
คำอธิบายรายวิชา ง21203คำอธิบายรายวิชา ง21203
คำอธิบายรายวิชา ง21203
 
ประมวลรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก
ประมวลรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิกประมวลรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก
ประมวลรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
คำอธิบายรายวิชา ศ22102
คำอธิบายรายวิชา ศ22102คำอธิบายรายวิชา ศ22102
คำอธิบายรายวิชา ศ22102
 
คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน(ง33101)
คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน(ง33101)คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน(ง33101)
คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน(ง33101)
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์กราฟิก ปี 2555
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์กราฟิก ปี 2555แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์กราฟิก ปี 2555
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์กราฟิก ปี 2555
 
4 2 ส่วนเนื้อหา
4 2 ส่วนเนื้อหา4 2 ส่วนเนื้อหา
4 2 ส่วนเนื้อหา
 
3 2 เนืื้อหา
3 2 เนืื้อหา3 2 เนืื้อหา
3 2 เนืื้อหา
 
เรื่องที่ 2
เรื่องที่ 2เรื่องที่ 2
เรื่องที่ 2
 
เรื่องที่ 1
เรื่องที่ 1เรื่องที่ 1
เรื่องที่ 1
 
ใบความรู้ที่ 3.1
ใบความรู้ที่ 3.1ใบความรู้ที่ 3.1
ใบความรู้ที่ 3.1
 
ใบความรู้ที่ 1.2
ใบความรู้ที่ 1.2ใบความรู้ที่ 1.2
ใบความรู้ที่ 1.2
 
Photoshop cs3
Photoshop cs3Photoshop cs3
Photoshop cs3
 

ใบความรู้ที่ 1.1

  • 1. ใบความรู้ที่ 1.1 เรื่อง สิ่งแวดล้อม ความหมายของสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม หมายถึง สรรพสิ่งที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติและมนุษย์สร้าง ขึ้นซึ่งให้ประโยชน์และโทษ เห็นและไม่เห็นด้วยตาเปล่า เป็นรูปธรรมและ นามธรรม สิ่งเป็นพิษและไม่เป็นพิษ ประเภทของสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมสามารถจาแนกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1. สิ่งที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ เป็นสิ่งที่เกิดและ วิวัฒนาการมาหลาย พันล้านปี มีความเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา และ สามารถรักษาสมดุลอยู่ได้โดย ธรรมชาติ เช่น ดิน น้า เเร่ ป่าไม้ สัตว์ มนุษย์ อากาศ แสงแดด มีสีสัน แตกต่างกัน เช่น สีเขียว สีแดง สีขาว สีดา สิ่งที่เกิดตามธรรมชาติต้องมี สิ่งแวดล้อมอื่นประกอบเสมอ จะเกิดโดยโดดเดี่ยวไม่ได้ สิ่งที่เกิดตาม ธรรมชาติสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทดังนี้ 1.1 สิ่งมีชีวิต ลักษณะ เเละ สมบัติ เฉพาะตัวของ สิ่งมีชีวิต เช่น พืช สัตว์ และ มนุษย์ เป็นต้น มีขนาด เล็ก ใหญ่ สูง ต่า หนัก เบา ดา ขาว แตกต่างกันตามชนิด และ กรรมพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต 1.2 สิ่งที่ไม่มีชีวิต เป็นสิ่งที่อาจเห็นหรือไม่สามารถมองเห็นได้ เช่น ดิน น้า ก๊าซ อากาศ ลม ไฟ ควัน เสียง สี เป็นต้น 2. สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น มนุษย์แต่เดิมเป็นสิ่งที่ เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ แต่มนุษย์สามารถสร้างสิ่งแวดล้อมขึ้นมา ใหม่ได้ทั้งโดยตั้งใจและไม่ได้ตั้งใจ สามารถมองเห็นได้และไม่สามารถมองเห็นได้ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 2.1 สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น สามารถมองเห็นได้ ได้แก่วัตถุ และสิ่งก่อสร้าง ต่าง ๆ เช่น ถนน สะพาน รถ เครื่องบิน เรือ เป็นต้น 2.2 สิ่งแวดล้อมทางสังคม เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นด้วยความตั้งใจและไม่ตั้งใจ หรือ เป็นการสร้างเพื่อ ความเป็นระเบียบของการอยู่ร่วมกัน เช่น ประเพณี ศาสนา กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เป็นต้น ความสาคัญของสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ 1.เป็นเอกลักษณ์หรือสัญลักษณ์ของท้องถิ่น 2.มีความสัมพันธ์เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ หรือนิทานพื้นบ้าน 3.มีประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้าทางด้านวิทยาศาสตร์ ภูมิศาสตร์ หรือโบราณคดี 4.เป็นโครงสร้างธรรมชาติที่ดี หายาก หรือเป็นทัศนียภาพที่สวยงาม 5.เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์หรือเป็นที่เคารพบูชา 6.เป็นแหล่งกาเนิดสิ่งต่างๆบนโลกนี้
  • 2. คุณสมบัติของสิ่งแวดล้อม มาทาความเข้าใจในภาพกว้างก่อนนะครับ ว่า สมบัติเฉพาะของ สิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้างเพื่อที่จะทาให้เรามีความเข้าใจเพิ่ม ขึ้นเรื่อยๆ ในเรื่องของ สิ่งแวดล้อม เพราะเรื่องของสิ่งแวดล้อมนั้น เป็นเรื่องที่มองอย่างผิวเผินแล้วเราอาจ คิดว่า อะไรก็ได้ทั้งนั้น แต่ความจริงแล้วถ้าแยกแยะให้ดี สิ่งแวดล้อมนั้นสามารถมี ความแตกต่างทางคุณสมบัติเฉพาะตัวของมันเอง ได้หลายอย่าง มาดูกันว่ามี อะไรบ้าง 1.มีเอกลักษณ์เฉพาะ 2.ไม่อยู่โดดเดี่ยว 3.ต้องการสิ่งอื่นเสมอ 4.มีความเกี่ยวเนื่องกันกับสิ่งอื่นที่หลากหลาย 5.มีความเปราะบาง-ทนทานต่างกันทั้งเวลา อายุ สถานที่ 6.อยู่เป็นร่วมกันอย่างผสมกลมกลืนเป็นระบบนิเวศ/ระบบสิ่งแวดล้อมที่มีสมบัติและพฤติกรรมเฉพาะตัว 7.เปลี่ยนแปลงจากสภาพหนึ่งไปสู่สภาพหนึ่งเสมอ การปรับตัวของสิ่งมีชีวิต การปรับตัว หมายถึง การที่สิ่งมีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลงหรือการปรับลักษณะของตนเพื่อให้เหมาะสม ที่จะอยู่รอด และแพร่พันธุ์ได้ในสภาพแวดล้อมนั้นๆการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต เป็นผลมาจากการคัดเลือกโดยธรรมชาติ รูปแบบการปรับตัว อาจสรุปได้เป็น 3 แบบ คือ 1. การปรับตัวทางรูปร่างลักษณะหรือทางสัณฐาน (Morphological Adaptation) เป็นการปรับลักษณะ รูปร่างและอวัยวะภายนอกของสิ่งมีชีวิต เช่น ต้นโกงกางที่อยู่ตามป่าชายเลน มีรากค้าจุนช่วยให้ไม่ล้มง่าย ผักกระเฉดมีทุ่นช่วย ในการลอยตัว 2. การปรับตัวทางสรีระวิทยา (Physiological Adaptation) เป็นการปรับหน้าที่การทางานของอวัยวะ เช่น นกทะเลมีต่อมขับเกลือ (Nasal Gland) สาหรับขับเกลือส่วนเกินออกนอกร่างกาย สัตว์เลือดอุ่นมีต่อมเหงื่อ สาหรับขับ เหงื่อระบายความร้อน 3. การปรับตัวทางพฤติกรรม (Behavior Adaptation) เป็นการปรับการดารงชีวิต เช่น การพันหลักของ ตาลึง หรือ การออกหากินกลางคืน การจาศีลของสัตว์ เพื่อหลบเลี่ยงสิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมปัจจัยทางกายภาพ (Physical factor)หมายถึง สภาพแวดล้อม ซึ่งไม่มีชีวิต แต่มีอิทธิพล ต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ ปัจจัย ใดที่ขาดไปแล้วทาให้สิ่งมีชีวิตเหล่านั้นดารงชีวิตอยู่ไม่ได้ เรียกว่า (Limiting factor) เช่น อุณหภูมิมีอิทธิพลต่อ - กระบวนการทางสรีรวิทยาของพืชและสัตว์เลือดเย็น
  • 3. - การอพยพย้ายถิ่นของสัตว์เลือดอุ่น - การแพร่กระจายของพืชและสัตว์ต่าง ๆ แสงสว่าง มีอิทธิพลต่อ - อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช - การหุบบานของดอกไม้ , การออกดอกและติดผลของพืช - พฤติกรรมการหาอาหารของสัตว์ น้ามีอิทธิพลต่อ - การแพร่กระจายของพืชและสัตว์ - การดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ฯลฯ