SlideShare a Scribd company logo
ประเภทของ
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์สามารถจาแนกได้หลายประเภท ทั้งนี้ ขึ้นอยู่
กับความแตกต่างของขนาดเครื่องความเร็วในการ
ประมวลผล และราคาเป็นข้อพิจารณาหลัก ซึ่ง
โดยทั่วไปนิยมจาแนกประเภทคอมพิวเตอร์เป็น 7ประเภท
ดังนี้ คือ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (
Supercomputer) คอมพิวเตอร์เมนเฟรม
(Mainframe computer) มินิคอมพิวเตอร์
(Minicomputer) คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (Desktop
computer) โน้ตบุ๊คคอมพิวเตอร์
(Notebook computer) คอมพิวเตอร์พกพาขนาดฝ่า
มือ (Hand-held Personal
computer) คอมพิวเตอร์แบบฝัง (Embedded
computer) ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เป็น
คอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพในการทางานสูงสุด จึงมีราคา
แพงมาก ความสามารถในการประมวลผลที่ทาได้ถึงพันล้าน
คาสั่งต่อวินาที ตัวอย่างการใช้งานคอมพิวเตอร์ประเภทนี้
เช่น การพยากรณ์อากาศ การทดสอบทางอวกาศ และ
งานอื่นๆ ที่มีการคานวณที่ซับซอน ปัจจุบันมีการนา
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ไปใช้กับงานออกแบบชิ่นส่วน
รถยนต์ งานวิเคราะห์สิงค้าคงคลัง หรือแม้แต่การออกแบบ
งานด้านศิลปะ หน่วยงานที่มีการใช้ซูเปอร์คอมพิวเตอร์
ได้แก่ องค์การนาซา (NASA) และหน่วยงานธุรกิจขนาด
ใหญ่ เช่น บริษัท General Motorsและ AT&T เป็น
ต้น
2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe
Computer) หรือ คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เป็น
คอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพรองจากซูเปอร์
คอมพิวเตอร์ สามารถรองรับการทางานจากผู้ใช้ได้หลาย
ร้อยคนในเวลาเดียวกัน ประมวลผลด้วยความเร็วสูง มี
หน่วยความจาหลักขนาดใหญ่ ตลอดจนการจัดเก็บข้อมูลได้
เป็นจานวนมาก คอมพิวเตอร์เมนเฟรมนิยมใช้กับองค์กร
ขนาดใหญ่ที่มีการเข้าถึงข้อมูลผู้ใช้จานวนมากในเวลาเดียวกัน
(Multiple Users) เช่น งานธนาคาร การจอง
ตั๋ว เครื่องบิน การลงทะเบียนและการตรวจสอบผลการ
เรียนของนักศึกษาเป็นต้น
3. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) หรือ
คอมพิวเตอร์ขนาดกลาง เป็นคอมพิวเตอร์ที่มี
ประสิทธิภาพในการทางานด้านความเร็วและความสามารถใน
การจัดเก็บข้อมูลน้อยกว่าเมนเฟรม แต่สูงกว่าคอมพิวเตอร์
ตั้งโต๊ะ (Desktop computer) และสามารถรองรับ
การทางานจากผู้ใช้ได้หลายคนในการทางานที่แตกต่างกัน
จากจุดเริ่มต้นในการพัฒนาที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ประเภท
นี้ทางานเฉพาะอย่าง เช่น บริษัทที่ให้บริการ
โทรศัพท์เคลื่อนที่ โรงงานผลิตปูนซีเมนต์ ตลาด
หลักทรัพย์สถานศึกษา รวมทั้งการให้บริการข้อมูลแก้
ลูกค้า เช่น การจองห้องพักของโรงแรม เป็นต้น
4. คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (Desktop
C0mputer) หรือเดสก์ท็อปเป็นคอมพิวเตอร์ส่วน
บุคคล (Personal Computer หรือ PC) ที่มี
ขนาดเล็กเหมาะกับโต๊ะทางานใน
สานักงาน สถานศึกษา และที่บ้าน รูปทรง ของตัวเครื่อง
คอมพิวเตอร์จะมีทั้งแบบวางนอน และแบบแนวตั้งที่เรียกว่า
ทาวเวอร์ (Tower) เพื่อประหยัดเนื้อที่เป็นการวางทั้งบน
โต๊ะและที่พื้น
5. คอมพิวเตอร์
โน้ตบุ๊ค (Notebook Computer) หรือบางครั้ง
เรียกว่า แลปท็อปคอมพิวเตอร์
(Laptop Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มี
ขนาดเล็กกว่าเครื่องพีซีแบบตั้งโต๊ะน้าหนักเบา จึงสามารถ
นาติดตัวไปยังสถานที่ต่างๆ ได้ เครื่องโน้ตบุ๊คมีสมรรถนะ
ในการทางานเทียบเท่าเครื่องพีซีแบบตั้งโต๊ะ และมีแผง
แป้นพิมพ์และจอภาพติดกับตัวเครื่องรวมทั้งมีแบตเตอรี่
ภายในเครื่อง จึงสามารถทางานได้ในช่วงเวลาหนึ่งโดยไม่
ต้องใช้ไฟบ้าน เหมาะกับงานส่วนบุคคลและงานสานักงานที่
จาเป็นต้องออกนอกสถานที่
นอกจากโน้ตบุ๊คคอมพิวเตอร์ที่เห็นและใช้งานกันทั่วไป
แล้ว ยังมีคอมพิวเตอร์พกพาที่เริ่มได้ รับความนิยมมากขึ้น
6. คอมพิวเตอร์ฝ่ามือ (Hand-
held Personal Computer) หรือเครื่องพีซีขนาด
มือถือ หรือเครื่องพีดีเอ
(Personal Digital Assistant-PDA) เป็น
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเท่ากับเครื่องคิดเลขขนาด
เล็ก น้าหนักเบามาก จึงสามารถวางบนฝ่ามือได้โดยมี
สมรรถนะในการทางานเฉพาะกับโปรแกรมสาหรับงานส่วน
บุคคล เช่น การรับส่งอีเมล์ การบันทึกตารางนัดหมาย
และการเข้าถึงข้อมูลบนอินเตอร์เน็ต เครื่อง PDA
(Personal Digital Assistant) บางครั้ง
ก็ เรียกว่า Pen-based Computer เนื่องจากเป็น
คอมพิวเตอร์แบบพกพาที่ใช้ปากกาที่เรียกว่า สไตลัส
(Stylus) เป็นอุปกรณ์ในการบันทึกข้อมูล ในบางครั้ง
7. คอมพิวเตอร์แบบ
ฝัง (Embedded Computer) หรือ
ไมโครคอนโทรลเลอร์ (Micro Controller) เป็น
คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กมากที่ใช้ไมโครโพรเซสเซอร์ชนิดพิเศษ
เพื่อฝัง (Embed) ไว้ในอุปกรณ์ประเภทต่างๆ เช่น บัตร
สมาร์ทการ์ด (Smart Card ) โทรศัพท์มือถือ ตู้เย็น
เตาไมโครเวฟ และรถยนต์ ทั้งนี้เพื่อเพิ่มคุณลักษณะและ
ความสามารถพิเศษบางประการ เช่น การเก็บข้อมูลส่วน
บุคคล การให้บริการด้านบันเทิง การค้นหาข้อมูลบน
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต การควบคุมเรื่องเวลาและ
อุณหภูมิ และการให้ข้อมูลเพื่อช่วยในการเดินทาง เป็น
ต้น
THANKYOU

More Related Content

What's hot

ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์Pornchai Chamta
 
วรัชยาบทที่1
วรัชยาบทที่1วรัชยาบทที่1
วรัชยาบทที่1
fernleo
 
ลักษณะข้อดีและข้อเสียของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
ลักษณะข้อดีและข้อเสียของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ลักษณะข้อดีและข้อเสียของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
ลักษณะข้อดีและข้อเสียของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
ohmsyeppii
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์satapornmiw
 
Introduction to Computer and Software คอมพิวเตอร์เบื้องต้นและซอฟแวร์ (ภาษาไทย)
Introduction to Computer and Software คอมพิวเตอร์เบื้องต้นและซอฟแวร์ (ภาษาไทย)Introduction to Computer and Software คอมพิวเตอร์เบื้องต้นและซอฟแวร์ (ภาษาไทย)
Introduction to Computer and Software คอมพิวเตอร์เบื้องต้นและซอฟแวร์ (ภาษาไทย)
Mayuree Srikulwong
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นRogozo Joosawa
 
ใบความรู้ที่ 1 คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์krupan
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์Bm Kongpop
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
ศิวนนท์ อินทะเรื่องรุ่ง
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Mac Kakes
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์nattarikaii
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์nattarikaii
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์nattarikaii
 

What's hot (15)

ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
วรัชยาบทที่1
วรัชยาบทที่1วรัชยาบทที่1
วรัชยาบทที่1
 
ลักษณะข้อดีและข้อเสียของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
ลักษณะข้อดีและข้อเสียของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ลักษณะข้อดีและข้อเสียของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
ลักษณะข้อดีและข้อเสียของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
Computer system
Computer systemComputer system
Computer system
 
Introduction to Computer and Software คอมพิวเตอร์เบื้องต้นและซอฟแวร์ (ภาษาไทย)
Introduction to Computer and Software คอมพิวเตอร์เบื้องต้นและซอฟแวร์ (ภาษาไทย)Introduction to Computer and Software คอมพิวเตอร์เบื้องต้นและซอฟแวร์ (ภาษาไทย)
Introduction to Computer and Software คอมพิวเตอร์เบื้องต้นและซอฟแวร์ (ภาษาไทย)
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ใบความรู้ที่ 1 คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 

Similar to 1

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์konkamon
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์กลุ่ม3
ประเภทของคอมพิวเตอร์กลุ่ม3ประเภทของคอมพิวเตอร์กลุ่ม3
ประเภทของคอมพิวเตอร์กลุ่ม3
Smart H Der
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
นะนาท นะคะ
 
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ThaNit YiamRam
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
jintana2
 
คอมพิวเตอร์เบื้อนต้น
คอมพิวเตอร์เบื้อนต้นคอมพิวเตอร์เบื้อนต้น
คอมพิวเตอร์เบื้อนต้น
jintana2
 
ชนิดของคอมพิวเตอร์
ชนิดของคอมพิวเตอร์ชนิดของคอมพิวเตอร์
ชนิดของคอมพิวเตอร์Netnapa Champakham
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์okbeer
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
Jenchoke Tachagomain
 
computer
computercomputer
Week01
Week01Week01
Week01
tree653
 
Week01
Week01Week01
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์deepre
 

Similar to 1 (20)

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
Ch1 com tech
Ch1 com techCh1 com tech
Ch1 com tech
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์กลุ่ม3
ประเภทของคอมพิวเตอร์กลุ่ม3ประเภทของคอมพิวเตอร์กลุ่ม3
ประเภทของคอมพิวเตอร์กลุ่ม3
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
คอมพิวเตอร์เบื้อนต้น
คอมพิวเตอร์เบื้อนต้นคอมพิวเตอร์เบื้อนต้น
คอมพิวเตอร์เบื้อนต้น
 
ชนิดของคอมพิวเตอร์
ชนิดของคอมพิวเตอร์ชนิดของคอมพิวเตอร์
ชนิดของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
computer
computercomputer
computer
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week02
Week02Week02
Week02
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
Week01
Week01Week01
Week01
 

1

  • 2. คอมพิวเตอร์สามารถจาแนกได้หลายประเภท ทั้งนี้ ขึ้นอยู่ กับความแตกต่างของขนาดเครื่องความเร็วในการ ประมวลผล และราคาเป็นข้อพิจารณาหลัก ซึ่ง โดยทั่วไปนิยมจาแนกประเภทคอมพิวเตอร์เป็น 7ประเภท ดังนี้ คือ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ( Supercomputer) คอมพิวเตอร์เมนเฟรม (Mainframe computer) มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (Desktop computer) โน้ตบุ๊คคอมพิวเตอร์ (Notebook computer) คอมพิวเตอร์พกพาขนาดฝ่า มือ (Hand-held Personal computer) คอมพิวเตอร์แบบฝัง (Embedded computer) ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
  • 3. 1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เป็น คอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพในการทางานสูงสุด จึงมีราคา แพงมาก ความสามารถในการประมวลผลที่ทาได้ถึงพันล้าน คาสั่งต่อวินาที ตัวอย่างการใช้งานคอมพิวเตอร์ประเภทนี้ เช่น การพยากรณ์อากาศ การทดสอบทางอวกาศ และ งานอื่นๆ ที่มีการคานวณที่ซับซอน ปัจจุบันมีการนา ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ไปใช้กับงานออกแบบชิ่นส่วน รถยนต์ งานวิเคราะห์สิงค้าคงคลัง หรือแม้แต่การออกแบบ งานด้านศิลปะ หน่วยงานที่มีการใช้ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ได้แก่ องค์การนาซา (NASA) และหน่วยงานธุรกิจขนาด ใหญ่ เช่น บริษัท General Motorsและ AT&T เป็น ต้น
  • 4. 2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) หรือ คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เป็น คอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพรองจากซูเปอร์ คอมพิวเตอร์ สามารถรองรับการทางานจากผู้ใช้ได้หลาย ร้อยคนในเวลาเดียวกัน ประมวลผลด้วยความเร็วสูง มี หน่วยความจาหลักขนาดใหญ่ ตลอดจนการจัดเก็บข้อมูลได้ เป็นจานวนมาก คอมพิวเตอร์เมนเฟรมนิยมใช้กับองค์กร ขนาดใหญ่ที่มีการเข้าถึงข้อมูลผู้ใช้จานวนมากในเวลาเดียวกัน (Multiple Users) เช่น งานธนาคาร การจอง ตั๋ว เครื่องบิน การลงทะเบียนและการตรวจสอบผลการ เรียนของนักศึกษาเป็นต้น
  • 5. 3. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) หรือ คอมพิวเตอร์ขนาดกลาง เป็นคอมพิวเตอร์ที่มี ประสิทธิภาพในการทางานด้านความเร็วและความสามารถใน การจัดเก็บข้อมูลน้อยกว่าเมนเฟรม แต่สูงกว่าคอมพิวเตอร์ ตั้งโต๊ะ (Desktop computer) และสามารถรองรับ การทางานจากผู้ใช้ได้หลายคนในการทางานที่แตกต่างกัน จากจุดเริ่มต้นในการพัฒนาที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ประเภท นี้ทางานเฉพาะอย่าง เช่น บริษัทที่ให้บริการ โทรศัพท์เคลื่อนที่ โรงงานผลิตปูนซีเมนต์ ตลาด หลักทรัพย์สถานศึกษา รวมทั้งการให้บริการข้อมูลแก้ ลูกค้า เช่น การจองห้องพักของโรงแรม เป็นต้น
  • 6. 4. คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (Desktop C0mputer) หรือเดสก์ท็อปเป็นคอมพิวเตอร์ส่วน บุคคล (Personal Computer หรือ PC) ที่มี ขนาดเล็กเหมาะกับโต๊ะทางานใน สานักงาน สถานศึกษา และที่บ้าน รูปทรง ของตัวเครื่อง คอมพิวเตอร์จะมีทั้งแบบวางนอน และแบบแนวตั้งที่เรียกว่า ทาวเวอร์ (Tower) เพื่อประหยัดเนื้อที่เป็นการวางทั้งบน โต๊ะและที่พื้น
  • 7. 5. คอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊ค (Notebook Computer) หรือบางครั้ง เรียกว่า แลปท็อปคอมพิวเตอร์ (Laptop Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มี ขนาดเล็กกว่าเครื่องพีซีแบบตั้งโต๊ะน้าหนักเบา จึงสามารถ นาติดตัวไปยังสถานที่ต่างๆ ได้ เครื่องโน้ตบุ๊คมีสมรรถนะ ในการทางานเทียบเท่าเครื่องพีซีแบบตั้งโต๊ะ และมีแผง แป้นพิมพ์และจอภาพติดกับตัวเครื่องรวมทั้งมีแบตเตอรี่ ภายในเครื่อง จึงสามารถทางานได้ในช่วงเวลาหนึ่งโดยไม่ ต้องใช้ไฟบ้าน เหมาะกับงานส่วนบุคคลและงานสานักงานที่ จาเป็นต้องออกนอกสถานที่ นอกจากโน้ตบุ๊คคอมพิวเตอร์ที่เห็นและใช้งานกันทั่วไป แล้ว ยังมีคอมพิวเตอร์พกพาที่เริ่มได้ รับความนิยมมากขึ้น
  • 8. 6. คอมพิวเตอร์ฝ่ามือ (Hand- held Personal Computer) หรือเครื่องพีซีขนาด มือถือ หรือเครื่องพีดีเอ (Personal Digital Assistant-PDA) เป็น เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเท่ากับเครื่องคิดเลขขนาด เล็ก น้าหนักเบามาก จึงสามารถวางบนฝ่ามือได้โดยมี สมรรถนะในการทางานเฉพาะกับโปรแกรมสาหรับงานส่วน บุคคล เช่น การรับส่งอีเมล์ การบันทึกตารางนัดหมาย และการเข้าถึงข้อมูลบนอินเตอร์เน็ต เครื่อง PDA (Personal Digital Assistant) บางครั้ง ก็ เรียกว่า Pen-based Computer เนื่องจากเป็น คอมพิวเตอร์แบบพกพาที่ใช้ปากกาที่เรียกว่า สไตลัส (Stylus) เป็นอุปกรณ์ในการบันทึกข้อมูล ในบางครั้ง
  • 9. 7. คอมพิวเตอร์แบบ ฝัง (Embedded Computer) หรือ ไมโครคอนโทรลเลอร์ (Micro Controller) เป็น คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กมากที่ใช้ไมโครโพรเซสเซอร์ชนิดพิเศษ เพื่อฝัง (Embed) ไว้ในอุปกรณ์ประเภทต่างๆ เช่น บัตร สมาร์ทการ์ด (Smart Card ) โทรศัพท์มือถือ ตู้เย็น เตาไมโครเวฟ และรถยนต์ ทั้งนี้เพื่อเพิ่มคุณลักษณะและ ความสามารถพิเศษบางประการ เช่น การเก็บข้อมูลส่วน บุคคล การให้บริการด้านบันเทิง การค้นหาข้อมูลบน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต การควบคุมเรื่องเวลาและ อุณหภูมิ และการให้ข้อมูลเพื่อช่วยในการเดินทาง เป็น ต้น