SlideShare a Scribd company logo
วารสาร​โลหิต​วิทยา​และ​เวชศาสตร​บริการ​โลหิต ป​ที่ 22 ฉบับ​ที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2555
283
หมูเลือดในระบบ Rh มีความสำ�คัญรองจากระบบ ABO เพราะ
สามารถทำ�ใหเกิดภาวะตัวเหลือง ของทารกในครรภและแรกคลอด
(hemolytic disease of fetus and newborn) บันทึกเกาที่สุด
ที่รายงานเรื่องนี้ไวคือในคริสตศตวรรษที่ 1600 พบหญิงคลอด
ทารกแฝดสอง ทารกคนหนึ่งเกิด fatal hydrop อีกคนหนึ่งเสีย
ชีวิตเพราะภาวะตัวเหลือง ในป ค.ศ. 1939 Levine และคณะ
รายงานวามีทารกคลอดออกมาตายเพราะครรภเปนพิษ (erythro-
blastosis fetalis) เนื่องจากแมไดรับการถายเลือดจากพอและมี
ปฏิกิริยาตอตานกับแอนติเจนจากพอ น้ำ�เหลืองจากแมเด็กทำ�
ปฏิกิริยา agglutination กับเม็ดเลือดแดงของพอเด็กและกับ
เม็ดเลือดแดงของผูบริจาคโลหิตรอยละ 80 ที่มีหมูเลือด ABO
เหมือนเธอ ป ค.ศ. 1940 Landsteiner และ Wiener ทดลองฉีด
เลือดของลิง Rhesus เขาไปในกระตาย กระตายสรางแอนติบอดี
ที่เกิดปฏิกิริยากับเม็ดเลือดแดงของผูบริจาคโลหิตรอยละ 80 จึง
เรียกแอนติบอดีนี้วา rabbit anti-Rh โดยเขาใจวาเปนแอนติบอดี
ชนิดเดียวกันกับ anti-Rh ในมนุษย ป ค.ศ. 1942 Fisk และ
Foord ไดทำ�การทดลองเพื่อแสดงใหเห็นวา rabbit anti-Rh เปน
แอนติบอดีคนละชนิดกับ anti-Rh ในมนุษย โดยนำ�เม็ดเลือดแดง
ของทารกแรกเกิดมาตรวจชนิดแอนติเจนดวย anti-Rh จากมนุษย
หลังจากทราบผลวาเปน Rh positive หรือ Rh negative แลวนำ�ไป
ตรวจแอนติเจนอีกครั้งดวย anti-Rh จากกระตาย ปรากฏวาไดผล
positive ทั้งหมด ไมวาเม็ดเลือดแดงนั้นจะใหผลเปน Rh positive
หรือ Rh negative กับแอนติบอดีของมนุษย ป ค.ศ. 1963
Levine และคณะ พิสูจนวา anti-Rh จากกระตายเปนคนละชนิดกับ
anti-Rh จากมนุษย แตยังคงเก็บคำ�วา “Rh” ไวใชกับหมูเลือดระบบ
นี้ สวน anti-Rh จากกระตายเปลี่ยนชื่อใหมเปน anti-LW เพื่อเปน
เกียรติแก Landsteiner และ Wiener1-3
แอนติเจนในระบบ Rh มี
ความเปนแอนติเจนสูงมาก สามารถกระตุนใหระบบภูมิคุมกันของ
ผูรับสรางแอนติบอดีไดดี โดยเฉพาะอยางยิ่งแอนติเจน D มีความ
เปนแอนติเจนสูงมากเปนรองเฉพาะแอนติเจน A และแอนติเจน
B ในระบบ ABO เทานั้น ระบบ Rh มีหมูเลือดที่แตกตางกันคือ
Rh positive และ Rh negative ขึ้นอยูกับวาบนผิวเม็ดเลือด
แดงมี D แอนติเจนหรือไม4
นอกจาก D แลวแอนติเจนที่มีความ
สำ�คัญคือ C, E, c, e, Cw
, Cx
และอื่นๆ แอนติเจนในระบบ Rh
มีประมาณ 200,000 โมเลกุลตอเซลล5
ทำ�งานรวมกับ RHAG (Rh
associated glycoprotein) ทำ�หนาที่เปนโปรตีนโครงสรางของเยื่อ
หุมเซลลเม็ดเลือดแดง (membrane associated polypeptides)
ระบบ Rh เปนระบบที่ใหญ เกิด mutation ไดหลายแบบ เชน
gene deletion, point mutation และ gene insertion เปนตน
มีความหลากหลายของยีนมาก2,4,6-8
ในระบบ Rh มีแอนติเจนเปน
จำ�นวนมากทำ�ใหเกิด phenotype ที่แตกตางกัน9
ทุกวันนี้ความ
เขาใจพันธุศาสตรระดับโมเลกุล (molecular genetics) มีมาก
ขึ้นเพราะความกาวหนาของเทคโนโลยี DNA ตั้งแตป ค.ศ. 2000
เปนตนมา มีงานวิจัยเกี่ยวกับ mutation ของระบบ Rh โดยเฉพาะ
อยางยิ่ง Rh DEL ตีพิมพเผยแพรเปนจำ�นวนมาก ทั้งในยุโรป10-14
จีน13-15
เกาหลี16,17
และญี่ปุนซึ่งเปนผูคนพบ phenotype Rh DEL18,19
RhNull
Phenotype
Null Phenotype คือการเกิด mutation ของยีนที่ควบคุม
การสรางแอนติเจนหมูเลือดระบบใดระบบหนึ่ง ทำ�ใหไมมีแอนติเจน
ของหมูเลือดระบบนั้นบนผิวเม็ดเลือดแดงและบนเนื้อเยื่ออื่นๆ เพราะ
mutation ทำ�ใหยีนไมทำ�งาน พบในหมูเลือดหลายระบบ ในคน
ที่เปน phenotype Rhnull
ไมมีแอนติเจนในระบบ Rh เนื่องจาก
ยีน RHAG (Rh-associated glycoprotein) เกิด mutation
ยีน RHAG อยูบนโครโมโซมคูที่ 6 ตำ�แหนง 6p11-p21.1 ดัง
แสดงในรูปที่ 1 RHAG ไมไดเปนยีนที่สรางแอนติเจนหมูเลือด
แตสราง glycoprotein ที่มีปลายขางหนึ่งเปน N-glycan chain
ทำ�งานรวมกับแอนติเจน D, C, E เปนโครงสรางของเยื่อหุมเซลล
เม็ดเลือดแดง การที่ยีน RHAG mutation ไมสราง RhAG
ทำ�ใหแอนติเจน RhD และ RhCE แสดงออกไมได ทำ�ใหเกิด Rhnull
phenotype ไมมีแอนติเจนในระบบ Rh บนผิวเม็ดเลือดแดง สง
ผลโดยตรงตอรูปรางและความแข็งแรงของเยื่อหุมเซลลเม็ดเลือด
แดง เม็ดเลือดแดงจะมีรูปรางและการทำ�งานที่ผิดปกติ (stomato-
spherocytosis) รวมทั้งจะมีภาวะซีดรวมดวย1,2,5,7
Rh Negative และ Rh DEL Phenotype
แอนติเจน D negative พบมากที่สุดในคนผิวขาวชาวยุโรป
รอยละ 15-17 ของประชากร ในคนผิวดำ�แอฟริกันพื้นเมืองรอยละ
บทความพิเศษ
Mutation in Rh Blood Group System
กัลยา  เกิดแกวงาม
ฝายผลิตน้ำ�ยาแอนติซีรัมและผลิตภัณฑเซลล ศูนยบริการโลหิตแหงชาติสภากาชาดไทย
กัลยา เกิดแกวงาม
J Hematol Transfus Med Vol. 22 No. 4 October-December 2012
284
3-5 ของประชากร แตหาไดยากในคนเอเชีย พบนอยกวารอยละ
0.1 ของประชากร นักประชากรศาสตรพยายามที่จะใชการกระจาย
ตัวของแอนติเจน D negative ทำ�นายตนกำ�เนิดมนุษย อยางไรก็
ตามยังไมมีขอสรุปวาทำ�ไมแอนติเจน D negative จึงพบมากในคน
ผิวขาวชาวยุโรป แอนติเจน D negative เกิดจากการ mutation
ของยีนที่ควบคุมการสรางโปรตีน Rh คือยีน RHD อยูบนแขนสั้น
ของโครโมโซมคูที่ 1 ตำ�แหนง 1p34.1-1p36 ดังแสดงในรูปที่ 1
และรูปที่ 2 โดยอยูชิดติดกันกับยีน RHCE ที่ควบคุมการสราง
โปรตีน C และ E มีความยาวประมาณ 450,000 base pairs
ทั้งสองยีนมี 10 exons และเปน homologous กัน ยีน RHD
มีหนาที่สรางแอนติเจน D ยีน RHCE มีหนาที่สราง แอนติเจน
Cc และแอนติเจน Ee1,7,9,10,20
แอนติเจน D negative สวน
ใหญเกิดจาก deletion mutation มีการขาดของยีน RHD ทั้ง
ยีน โดยขาดตั้งแต Exon 1 ถึงปลาย 3’ ทายสุดของ Exon 10
ทำ�ใหสรางแอนติเจน D ไมได เมื่อทำ� DNA typing จะไมพบยีน
RHD ใน genomes ของคนที่เปน Rh negative แท1,2,20
สวน
ในคนที่ Rh DEL phenotype นั้นเกิดจากการ mutation ของ
ยีน RHD หลายแบบแตกตางกันในแตละเชื้อชาติ และยังคงมียีน
RHD ใน genomes ของคนที่เปน Rh DEL phenotype19
ยีน
RHD จะแสดงออกไดไมเต็มที่ แอนติเจน D บนผิวเม็ดเลือดแดง
Figure 1 Model of topology for RhAG, RhCE and RhD.
RhAG (Mr
50000) consist of 409 amino acids and is
encoded by RHAG on chromosome 6p11-p21.1. RhCE
and RhD (Mr
30000) are predicted to have a similar
topology and are encoded by RHCE and RHD, which
adjacent on chromosome 1p34-p36.10
Figure 2 Schematic representation of chromosomal arrangement of the RH locus, the RHD and RHCE genes
and the RhD and RhCE polypeptides7
Mutation in Rh Blood Group System
วารสาร​โลหิต​วิทยา​และ​เวชศาสตร​บริการ​โลหิต ป​ที่ 22 ฉบับ​ที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2555
285
จึงมีความแรงออนมาก
การระบุวาเปนหมูเลือด Rh negative ในปจจุบันใชวิธี
antihumanglobulin test ซึ่งเปนวิธีมาตรฐานที่ใชกันเปนสวน
ใหญในเอเชียและแอฟริกา ซึ่งมีขอดอยคือไมสามารถตรวจหมูเลือด
ในกลุม Rh DEL ได เพราะกลุม Rh DEL มีความแรงของแอนติเจน
D ออนมาก คำ�วา DEL ยอมาจาก D elution18
เพราะตรวจพบ
ไดดวยวิธี absorption-elution test ดวย polyclonal anti-D21
Monoclnal anti-D22
จากบริษัทตางๆ หรือวิธี DNA typing เทา
นั้น1,7,20,23
phenotype Rh DEL พบครั้งแรกในประเทศญี่ปุนโดย
Okubo Y. และคณะ ในป ค.ศ. 1984 สังเกตวา D negative บาง
คนที่ทดสอบแลววาไมใช weak D สามารถจับกับ anti-D ได โดย
ทราบจากการทำ� absorption-elution จึงเรียกเม็ดเลือดแดงพวก
นี้เปนการชั่วคราววา Del
แลวทำ�การศึกษา D negative ที่ตรวจ
ดวยวิธี antihumanglobulin test จำ�นวน 2,896 ราย พบวาเปน
Rh DEL 298 ราย คิดเปนรอยละ 10.3 หลังจากนั้นก็สงตัวอยาง
ไปให Gamma Biologicals, Houston, TX. ตรวจก็ไดผลตรง
กัน18
คำ�เรียกที่ใชเรียก phenotype นี้ในงานวิจัยตางๆ มีหลาย
แบบ ไดแก RhDel
, RhDel
, Del
, Del
, Dels และ DEL ปจจุบัน
ใชคำ�วา DEL กลุม Rh DEL ถูกจัดอยูในพวก Rh positive
ชนิด weak D7,24
ในกรณีเปนผูบริจาคโลหิตเพราะสามารถตรวจพบ
แอนติเจน D บนผิวเม็ดเลือดแดงและสามารถกระตุนใหคนไข Rh
negative แท สราง anti-D ขึ้นมาได มีหลายรายงานที่ระบุวาการ
ใหเลือด DEL กระตุนการสราง anti-D ในผูปวย Rh negative แท
รายงานแรกในออสเตรียพบ ผูปวยหญิงอายุ 58 ป Rh negative
(D-C- E- c+e+) ไมเคยรับเลือดมากอน ไมเคยปลูกถายอวัยวะ
มีประวัติตั้งครรภ 1 ครั้งเมื่อ 36 ปกอน ลูกเปน Rh negative
(D-C-E-c+e+) เชนเดียวกับแม ไดรับเลือดจากผูบริจาคโลหิต
ชาวออสเตรียซึ่งตรวจดวยวิธีมาตรฐาน indirect antiglobulin
test เปน Rh negative (D-C+E-c+e+) ผล crossmath เขา
กันได หลังรับเลือดผูปวยสราง anti-D ความแรงคือ titer 1:128
แตไมเกิด hemolytic transfusion reaction ระดับ hemoglobin
ไมเปลี่ยนแปลงเนื่องจากผูปวยสราง anti-D โดยไมทราบสาเหตุ
ดังนั้นจึงตรวจสอบขั้นตอนการใหเลือดทั้งหมดแตก็ไมพบความ
ผิดพลาด นำ�เลือดของผูบริจาคโลหิตไปทำ� DNA typing ดวย
วิธี polymerase chain reaction โดยใช sequence-specific
priming (PCR-SSP) พบวายีน RHD mutation เกิด gene
deletion 4 nucleotides ตำ�แหนง RHD intron 5 (RHD IVS5-
38del4) และการทดสอบดวยเทคนิค adsorption-elution แสดง
วาผูบริจาคโลหิตเปน Rh DEL22
รายงานที่ 2 ในญี่ปุนผูปวยหญิงอายุ 67 ป Rh negative
(D-C- E- c+e+) มีประวัติการสราง anti-D มากอนจากการรับ
เลือด D positive เมื่อ 40 ปที่แลว เขารักษาตัวในโรงพยาบาลครั้ง
หลังตรวจไมพบ anti-D ไดรับเลือด D negative จากผูบริจาค
โลหิต 19 ราย หลังจากรับเลือดทั้งหมด ผูปวยสราง anti-D ความ
แรงคือ titer 1:8 ไมเกิดทั้ง acute หรือ delayed hemolytic
transfusion reaction ระดับของ hemoglobin เพิ่มขึ้น ระดับ
indirect bilirubin และ lactate dehydrogenase ไมเปลี่ยนแปลง
ตอมา อีกสองปผูปวยไดเลือด D negative จากผูบริจาคโลหิต
อีก 40 รายที่ผลการตรวจ crossmatch เขากันได พบวา anti-D
ในผูปวยมีความแรงเพิ่มขึ้นเปน titer 1:128 ไมเกิดทั้ง acute
หรือ delayed hemolytic transfusion reaction ระดับของ
hemoglobin, indirect bilirubin และ lactate dehydrogenase
ไมเปลี่ยนแปลง จึงนำ�เลือดจากผูบริจาคโลหิตทั้ง 59 รายไปทำ� DNA
typing ดวยวิธี Multiplex PCR-SSP พบวามี 2 รายเปน Rh
DEL genotypeRHD(K409K)19
รายงานที่ 3 ในเกาหลีผูปวยชายอายุ 68 ป Rh negative
(D-C- E- c+e+) ไมเคยไดรับการถายเลือดมากอน ไมเคยปลูก
ถายอวัยวะ ผาตัด bypass หลอดเลือดหัวใจ การตรวจกรอง
แอนติบอดีกอนผาตัดไดผลลบไดรับเลือด D negative 2 units
ที่ผล crossmatch เขากันไดระหวางผาตัด หลังผาตัด 5 วัน ระดับ
hemoglobin ต่ำ�มากจึงไดรับ D negative ที่ผล crossmatch
เขากันไดเพิ่มอีก 2 units อีกประมาณ 9 วันตอมา การตรวจกรอง
แอนติบอดีของคนไขไดผลบวก ตรวจแยกชนิดแอนติบอดีได anti-D
ไมพบวาเกิดทั้ง acute หรือ delayed hemolytic transfusion
reaction ระดับของ hemoglobin, indirect bilirubin และ
lactate dehydrogenase ไมเปลี่ยนแปลง เพราะผูปวยสราง
anti-D โดยไมทราบสาเหตุขั้นตอนของการตรวจกอนใหเลือด
ถูกตรวจสอบโดยละเอียด อยางไรก็ตามไมพบความผิดพลาด
จึงนำ�เลือดของผูบริจาคทั้ง 4 รายไปตรวจ RHD gene โดยวิธี
real-time PCR พบวามีผูบริจาคโลหิต 1 ราย เปน Rh DEL
RHD(K409K)16
มีผูสงสัยวาในกรณีที่ผูปวยเปน Rh DEL จะ
สามารถใหเลือด Rh positive ไดหรือไม Chao-Peng Shao
ศึกษาในชาวจีน พบวา Rh DEL สวนใหญจะไมสราง anti-D ดัง
นั้น คนที่เป็น DEL จึงสามารถรับเลือด Rh Positive ไดโดยไมมี
ความเสี่ยง24
อยางไรก็ตามมีผูคัดคานเพราะเคยมีรายงานวา D
variants สามารถสราง anti-D ตอชิ้นสวนของ D แอนติเจนที่
ตัวเองสรางไมได 11
การศึกษา mutation ของยีน RHD ในคนแอฟริกันผิวดำ�พบวา
เกิด mutation ของยีน RHD แบบ gene insertion มี nucleotide
37 base pairs เขาแทรกใน exon 4 ทำ�ให intron 3 และ exon
กัลยา เกิดแกวงาม
J Hematol Transfus Med Vol. 22 No. 4 October-December 2012
286
4 มีความยาวเพิ่มขึ้น กลายเปน RHD pseudogene (RHDψ)
ผลคือเกิด reading frame shift และ stop codon ที่ตำ�แหนง
210 ใน exon ที่ 6 ทำ�ใหไมสามารถ translation เปนแอนติเจน
D ได รอยละ 14 ของคนแอฟริกันผิวดำ� Rh negative เกิดจาก
mutation แบบดังกลาว1,8,9,12
phenotype RHDψ ในคนแอฟริกัน
ผิวดำ�ควรจะถูกจัดอยูในพวก Rh negative แท เพราะถึงจะมียีน
RHD ใน genome ก็ไมพบวาสราง mRNA ที่จะ translation
เปนแอนติเจน D อีกทั้งคนที่มี phenotype RHDψ สามารถสราง
anti-D ได8
mutation อีกแบบหนึ่งที่พบในคนแอฟริกันผิวดำ� คือ
ยีนลูกผสม RHD/CE hybrids (RHD-CE-Ds
) เกิดจากยีน RHCE
ขาดแลวแทรกเขาไปในยีน RHD ที่อยูใกลกัน ที่ปลาย 3’ ของ
exon ที่ 3 ไปถึง exon ที่ 4 ถึง 8 เกิดเปน (C)ces
haplotype
การ mutation แบบนี้จะทำ�ใหเกิดความผิดปกติทั้งแอนติเจน
D, C, E โดยจะไมสามารถสรางแอนติเจน D แตสามารถสราง
แอนติเจน C ไดเล็กนอย phenotype ที่ปรากฎคือ D-Cweak
c+E-
e+VS+V- ยีนลูกผสมนี้จะมี Leu245Val substitution สามารถ
สรางแอนติเจน VS ได แอนติเจน VS มีความสัมพันธโดยตรง
กับการเกิด phenotype weak C รอยละ 3 ของคนแอฟริกันผิว
ดำ� Rh negative เกิดจาก mutation แบบนี้8,9
ในคนเอเชียผิวเหลืองพบประชากรที่เปน Rh negative นอย
กวารอยละ 0.1 ทำ�ใหการศึกษา Rh DEL phenotype ยังอยูใน
วงจำ�กัด ประเทศที่ทำ�งานวิจัยเรื่องนี้แลวคือ ญี่ปุน ใตหวัน เกาหลี
และจีน ประมาณกันวา D negative ที่ตรวจดวยวิธีมาตรฐาน
antihumanglobulin test ในชาวเอเชียนาจะเปน Rh DEL ถึงรอยละ
12.8 ในชาวจีน Rh DEL ที่พบสวนใหญคือ alleles RHD(K407K)
หรือ alleles RHD(1227G>A)9,13
หรือเรียกวา “Asia Type”12
ในใตหวันพบ alleles RHD(delEX9) มากที่สุด9
ในญี่ปุนพบ alleles
RHD(G314V) รอยละ 13.8 ของ Rh negative ทั้งหมด9
ในคน
ผิวขาวพบการ mutation ของยีน RHD หลายแบบที่แตกตางจาก
คนแอฟริกันผิวดำ�และคนเอเซียผิวเหลือง9
mutation ในคนผิวขาว
ชาวยุโรปจะเกิดจากการขาดของยีน RHD ทั้งยีน mutation แบบ
นี้ทำ�ใหเกิด phenotype Rh negative แท จะไมพบยีน RHD ใน
genome ของคนที่มี phenotype เชนนี้ Rh DEL phenotype ใน
คนผิวขาวมีหลายแบบ มีทั้งแบบที่เหมือนกับคนผิวดำ�และเหมือน
กับคนผิวเหลือง แบบที่เหมือนในคนผิวดำ�คือยีนลูกผสม RHD/
CE hybrids (RHD-CE-Ds
) แบบที่เหมือนกับคนผิวเหลืองคือ
alleles RHD (K409K)25
นอกจากนั้นยังพบ mutation ของยีน
RHD ในคนผิวขาวอีกหลายแบบ เชน nonsense mutations
ทำ�ใหเกิด allele RHD(Q41X), deletion mutation ทำ�ใหเกิด
allele RHD(488del4), missense mutation ทำ�ใหเกิด allele RHD
885T, splice-site mutation ทำ�ใหเกิด allele RHD IVS3+1A
และ hybrid gene mutation ทำ�ใหเกิด alleles RHD-CE(2-
9)-D และ RHD-CE(4-7)-D9,20,25
Wagner และคณะ อธิบายวา
Rh DEL นาจะมีอยางนอย 3 alleles ที่เกิดจาก mutation แบบ
single missense (point mutation), splicing-site และ gene
deletion คือ RHD(M295I, 885G>T), RHD(K409K, 1277G>A)
และ RHD(IVS5-38del4)11,19,22
Rh negative สวนใหญเกิดจาก
unequal crossing over ดังแสดงในรูปที่ 37
Partial D และ weak D Phenotype
ดังที่ไดกลาวไวในตอนตนแลววา หมูเลือดในระบบ Rh มีความ
หลากหลายมาก เนื่องมาจากยีน RHD และ RHCE อยูชิดกันมากจึง
ทำ�ใหเกิดการจัดเรียงตัวใหมของยีน (gene tandem arrangement)
ไดบอย เกิดเปน variant alleles ใหมๆ ไดมากมาย การ mutation
ของยีน RHD บางอยาง ทำ�ใหไมสามารถสรางแอนติเจน D ที่
สมบูรณได โดยอาจจะสรางแอนติเจน D ไดไมครบทุก epitope
มีบาง epitope ที่ขาดหายไป7
คนที่เปน Partial D นั้นเกิดจาก
mutation ของยีน RHD และ hybrid ของยีน RHCE ทำ�ใหมี
Figure 3 The Structure of the RH locus (A) and the proposed mechanism of unequal crossing over (B) causing
a RHD negative RH locus (C).7
Mutation in Rh Blood Group System
วารสาร​โลหิต​วิทยา​และ​เวชศาสตร​บริการ​โลหิต ป​ที่ 22 ฉบับ​ที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2555
287
ลักษณะของแอนติเจน D ที่ผิดปกติ คือสามารถสราง anti-D ตอ
epitope ของแอนติเจน D ที่ตัวเองไมมีไดเมื่อถูกกระตุนดวย
แอนติเจน D โมเลกุลที่สมบูรณ รวมทั้งไมเกิดปฏิกิริยา agglutina-
tion กับ monoclonal anti-D บางชนิด ทุกวันนี้มีการจัดจำ�แนก
partial D ออกเปน 3 กลุมใหญๆ ตามการเกิด mutation ไดแก
แบบที่หนึ่ง mutation แบบ hybrid ของยีน RHD/CE เกิดขึ้นเพราะ
ยีน RHD และ RHCE เหมือนกันมาก เกิด gene conversion
มีการขาดของยีนแลวตอกันใหมแบบสุม เกิด alleles ใหมที่เปน
ลูกผสมของยีนทั้งสองมากกวา 20 ชนิด ตัวอยางเชน RHD-CE-D
หรือ RHCE-D-CE เปนตน phenotype ของ partial D ที่พบสวน
ใหญคือ DIII
, DFR, DV
, DIVb
-like, DVI
, DBT และ R0
Har
โดย
แตละ phenotype มีความแรงของแอนติเจนที่แตกตางกัน ดังนั้น
จึงไมคอยเกิดปฏิกิริยากับ monoclonal anti-D บางครั้งยากใน
การตรวจดวยวิธีทาง serology แบบที่สอง missense mutation
มีการศึกษาแลวพบวา phenotype ของ partial D มากกวา 10
แบบ เกิดจาก single missense mutation (point mutation)
ทำ�ใหโปรตีน D ที่อยูดานนอกของเยื่อหุมเซลลมีความผิดปกติ เปน
ผลใหแอนติเจน D ผิดปกติไปดวย แบบที่สาม Dispersed amino
acid substitution เกิดจาก amino acid หลายตัวในแอนติเจน D
หายไปแลวถูกแทนที่ดวย amino acid ตัวอื่นเปนผลใหแอนติเจน
D ผิดปกติ ตัวอยางเชน D category IIIa, D category III type
IV, D category Iva และ DAR partial D ชนิดนี้จะไมพบในคนยุ
โรปแตจะพบบอยมากในคนแอฟริกา ทำ�ใหมีปญหามากในแอฟริกา
เพราะยากที่จะตรวจดวยวิธี serology ที่ใช monoclonal anti-D26
ตามปกติแลวคนที่มีแอนติเจน D ที่สมบูรณ หรือคนที่เปน Rh
positive ปกติ จะมีความหนาแนนของแอนติเจน D บนผิวเม็ด
เลือดแดงอยูระหวาง 15,000 โมเลกุล (R1
r) ถึง 33,000 โมเลกุล
(R2
R2
) ตอเซลล อยางไรก็ตามคนที่เปน Rh positive ชนิด weak
D นั้น จะพบวา มีแอนติเจน D เพียง 70 โมเลกุลถึง 5,200 โมเลกุล
ตอเซลลเทานั้น ในคนผิวขาวพบ phenotype weak D รอยละ
0.2 ถึงรอยละ 1 ในคนผิวเหลือง weak D ที่มีความแรงออนมาก
ก็คือ Rh DEL phenotype นั่นเอง7
งานวิจัยมากมายแสดงใหเห็น
วา คนที่มี phenotype weak D นั้นเกิด missense mutation
ที่ยีน RHD ทำ�ใหโปรตีน D ที่อยูดานในของเยื่อหุมเซลลมีความ
ผิดปกติ สงผลใหแอนติเจน D มีความผิดปกติดวย ซึ่งแตกตาง
จาก missense mutaion ที่เกิดใน partial D เพราะ partial D
เกิดจากความผิดปกติของโปรตีน D ที่อยูดานนอกเยื่อหุมเซลล
ในยุโรป weak D ที่พบสวนใหญเปน type 1 และ type 2 ในป
2002 พบวามี weak D มากกวา 20 ชนิด26
patial D และ weak
D ชนิดตางๆ ดังแสดงในรูปที่ 4
Figure 4 Phylogeny of RHD in humans7
กัลยา เกิดแกวงาม
J Hematol Transfus Med Vol. 22 No. 4 October-December 2012
288
เนื่องจากปัจจุบันนี้ประเทศไทยใช้วิธีมาตรฐาน antihuman-
globulin test เป็นวิธีที่ใช้แยก Rh positive กับ Rh negative
ทำ�ใหไมสามารถแยก Rh DEL ออกมาจากกลุม Rh negative
ได อีกทั้ง Rh DEL ก็สามารถกระตุนให Rh negative แท สราง
anti-D ขึ้นมาได ทำ�ใหเปนปญหากับการใหเลือด ในประเทศของเรา
ยังไมมีการศึกษาวิจัย Rh DEL มากพอ ดังนั้นควรสนับสนุนใหมี
การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับ Rh DEL ในคนไทยใหมากขึ้นยิ่งขึ้น
Referances
1.	Westhoff CM. The Rh blood group system in review: A new face
for the next decade. Transfusion 2004; 44:1663-73.
2.	Avent ND, Reid ME. The Rh blood group system: a review.
Blood 2000;95:375-8.
3.	Scott ML. The complexities of the Rh system. Vox Sang
2004;87(Suppl 1):S58-62.
4.	Hyland CA, Wolter LC, Saul A. Three Unrelated Rh D Gene
Polymorphisms Identified among Blood Donors with Rhesus CCee
(r’r’) Phenotypes. Blood 1994;84:321-4.
5.	Nicolas V, Kim CLV, Gane P, et al. Rh-RhAG/Ankyrin-R, a New
Interaction Site between the Membrane Bilayer and the Red Cell
Skeleton, Is Impaired by Rhnull
-associated Mutation. The Journal
of Biological Chemistry 2003;278:25526-33.
6.	Le Van Kim C, Mouro I, Che’rif-Zahar B, et al. Molecular cloning
and primary structure of the human blood group RhD polypeptide.
Proceeding of the National Academy of Sciences of the United
States of America 1992;89:10925-9.
7.	Rhenen DJV, Löwenberg B, Steegers EAP, et al. Rh Variability
in Multi-Ethnic Perspective Consequences for RH Genotyping.
Proefschrift Martine Tax 2006. Doctoral Thesis. The Netherland
Organization for Health, Research and Development. Sanquin
Blood Bank South West region; 2006.
8.	Rodrigues A, Rios M, Pellegrino Jr J, et al. Presence of the RHD
pseudogene and the hybrid RHD-CE-Ds
gene in Brazilians with
the D-negative phenotype. Brazillian Journal of Medicine and
Biological Research 2002;35:767-73.
9.	Singleton BK, Green CA, Avent ND, et al. The presence of an
RHD pseudogene containing a 37 base pair duplication and a
nonsense mutation in Africans with the Rh D-negative blood
group phenotype. Blood 2000;95:12-8.
10.	 Christiansen M, Sørensen BS, Grunner N. RHD positive among
C/E+ and D- blood donors in Denmark. Transfusion 2010;50:1460-4.
11.	 KÖrmÖczi GF, Gassner C, Shao CP, et al. A comprehensive
analysis of DEL types: partial DEL individuals are prone to anti-D
alloimmunization. Transfusion 2005;45:1561-7.
12.	 Gassner C, Doescher A, Drnovsek TD, et al. Presence of RHD in
serologically D-, C/E+ individuals: a European multicenter study.
Transfusion 2005;45:527-38.
13.	 Xu Q, Grootkerk-Tax MG, Maaskant-van Wijk PA, van der Schoot
CE. Systemic analysis and zygosity determination of the RHD
gene in a D-negative Chinese Han population reveals a novel
D-negative RHD gene. Vox Sang 2005;88:35-40.
14.	 Shao CP, Maas JH, Su YQ, et al. Molecular background of Rh
D-positive, D-negative, Del
and weak D phenotypes in Chinese.
Vox Sang 2002;83:156-61.
15.	 Shao CP, Wang BY, Ye SH, et al. DEL RBC transfusion should
be avoided in particular blood recipients in East Asia due to al-
losensitization and ineffectiveness. Journal of Zhejien University-
SCIENCE B (Biomedicine & Biotechnology) In press. 2012.
16.	 Kim KH, Kim KE, Woo KS, et al. Primary anti-D Immunization
by DEL Red Blood Cells. Korean Journal Laboratory Medicine
2009;29:361-5.
17.	 Kim JY, Kim SY, Kim CA, et al. Molecular characterization of
D- Korean persons: development of a diagnostic strategy. Trans-
fusion 2005;45:345-52.
18.	 Okubo Y, Yamaguchi H, Tomita T, et al. A D variant, Del
?
Transfusion 1984;24:542.
19.	 Yasuda H, Ohto H, Sakuma S, et al. Secondary anti-D immuniza-
tion by Del
red blood cells. Transfusion 2005;45:1581-4.
20.	 Wagner FF, Flegel WA. RHD gene deletion occurred in the
Rhesus box. Blood 2000;95:3662-8.
21.	 Wang YH, Chen JC, Lin KT, et al. Detection of RhDel
in Rh D-
negative person in clinical laboratory. The Journal of Laboratory
and Clinical Medicine 2005;146:321-5.
22.	 Wagner T, KÖrmÖczi GF, Buchta C, et al. Anti-D immunization
by DEL red blood cells. Transfusion 2005;45:520-6.
23.	 Chang JG, Wang JC, Yang TY, et al. Human RhDel
Is Caused by
a Deletion of 1,013 bp Between Intron 8 and 9 Including Exon 9
of RHD Gene. Blood 1998;92:2602-4.
24.	 Shao CP. Transfusion of RhD-Positive Blood in “Asia Type” DEL
Recipients. N Engl J Med 2010;362:472-3.
25.	 Chen JC, Lin TM, Chen YL, Wang YH, Jin YT, Yue CT. RHD
1227A Is an Important Genetics Marker for RhDel
Individuals.
Am J Clin Patho 2004;122:193-8.
26.	 Flegel WA, Wagner FF. Molecular Biology of partial D and weak
D: Implication for Blood Bank Practice. Clin Lab. 2002;48:53-59.
27.	 Wagner FF, Frohmajer A, Flegel WA. RHD positive haplotypes
in D negative Europeans. BMC Genetics 2001;2:1-11.

More Related Content

Featured

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
Marius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
Expeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Pixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
ThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
marketingartwork
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
Skeleton Technologies
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
SpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Lily Ray
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
Rajiv Jayarajah, MAppComm, ACC
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
Christy Abraham Joy
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
Vit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
MindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
RachelPearson36
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

Mutation in Rh blood group system (review)

  • 1. วารสาร​โลหิต​วิทยา​และ​เวชศาสตร​บริการ​โลหิต ป​ที่ 22 ฉบับ​ที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2555 283 หมูเลือดในระบบ Rh มีความสำ�คัญรองจากระบบ ABO เพราะ สามารถทำ�ใหเกิดภาวะตัวเหลือง ของทารกในครรภและแรกคลอด (hemolytic disease of fetus and newborn) บันทึกเกาที่สุด ที่รายงานเรื่องนี้ไวคือในคริสตศตวรรษที่ 1600 พบหญิงคลอด ทารกแฝดสอง ทารกคนหนึ่งเกิด fatal hydrop อีกคนหนึ่งเสีย ชีวิตเพราะภาวะตัวเหลือง ในป ค.ศ. 1939 Levine และคณะ รายงานวามีทารกคลอดออกมาตายเพราะครรภเปนพิษ (erythro- blastosis fetalis) เนื่องจากแมไดรับการถายเลือดจากพอและมี ปฏิกิริยาตอตานกับแอนติเจนจากพอ น้ำ�เหลืองจากแมเด็กทำ� ปฏิกิริยา agglutination กับเม็ดเลือดแดงของพอเด็กและกับ เม็ดเลือดแดงของผูบริจาคโลหิตรอยละ 80 ที่มีหมูเลือด ABO เหมือนเธอ ป ค.ศ. 1940 Landsteiner และ Wiener ทดลองฉีด เลือดของลิง Rhesus เขาไปในกระตาย กระตายสรางแอนติบอดี ที่เกิดปฏิกิริยากับเม็ดเลือดแดงของผูบริจาคโลหิตรอยละ 80 จึง เรียกแอนติบอดีนี้วา rabbit anti-Rh โดยเขาใจวาเปนแอนติบอดี ชนิดเดียวกันกับ anti-Rh ในมนุษย ป ค.ศ. 1942 Fisk และ Foord ไดทำ�การทดลองเพื่อแสดงใหเห็นวา rabbit anti-Rh เปน แอนติบอดีคนละชนิดกับ anti-Rh ในมนุษย โดยนำ�เม็ดเลือดแดง ของทารกแรกเกิดมาตรวจชนิดแอนติเจนดวย anti-Rh จากมนุษย หลังจากทราบผลวาเปน Rh positive หรือ Rh negative แลวนำ�ไป ตรวจแอนติเจนอีกครั้งดวย anti-Rh จากกระตาย ปรากฏวาไดผล positive ทั้งหมด ไมวาเม็ดเลือดแดงนั้นจะใหผลเปน Rh positive หรือ Rh negative กับแอนติบอดีของมนุษย ป ค.ศ. 1963 Levine และคณะ พิสูจนวา anti-Rh จากกระตายเปนคนละชนิดกับ anti-Rh จากมนุษย แตยังคงเก็บคำ�วา “Rh” ไวใชกับหมูเลือดระบบ นี้ สวน anti-Rh จากกระตายเปลี่ยนชื่อใหมเปน anti-LW เพื่อเปน เกียรติแก Landsteiner และ Wiener1-3 แอนติเจนในระบบ Rh มี ความเปนแอนติเจนสูงมาก สามารถกระตุนใหระบบภูมิคุมกันของ ผูรับสรางแอนติบอดีไดดี โดยเฉพาะอยางยิ่งแอนติเจน D มีความ เปนแอนติเจนสูงมากเปนรองเฉพาะแอนติเจน A และแอนติเจน B ในระบบ ABO เทานั้น ระบบ Rh มีหมูเลือดที่แตกตางกันคือ Rh positive และ Rh negative ขึ้นอยูกับวาบนผิวเม็ดเลือด แดงมี D แอนติเจนหรือไม4 นอกจาก D แลวแอนติเจนที่มีความ สำ�คัญคือ C, E, c, e, Cw , Cx และอื่นๆ แอนติเจนในระบบ Rh มีประมาณ 200,000 โมเลกุลตอเซลล5 ทำ�งานรวมกับ RHAG (Rh associated glycoprotein) ทำ�หนาที่เปนโปรตีนโครงสรางของเยื่อ หุมเซลลเม็ดเลือดแดง (membrane associated polypeptides) ระบบ Rh เปนระบบที่ใหญ เกิด mutation ไดหลายแบบ เชน gene deletion, point mutation และ gene insertion เปนตน มีความหลากหลายของยีนมาก2,4,6-8 ในระบบ Rh มีแอนติเจนเปน จำ�นวนมากทำ�ใหเกิด phenotype ที่แตกตางกัน9 ทุกวันนี้ความ เขาใจพันธุศาสตรระดับโมเลกุล (molecular genetics) มีมาก ขึ้นเพราะความกาวหนาของเทคโนโลยี DNA ตั้งแตป ค.ศ. 2000 เปนตนมา มีงานวิจัยเกี่ยวกับ mutation ของระบบ Rh โดยเฉพาะ อยางยิ่ง Rh DEL ตีพิมพเผยแพรเปนจำ�นวนมาก ทั้งในยุโรป10-14 จีน13-15 เกาหลี16,17 และญี่ปุนซึ่งเปนผูคนพบ phenotype Rh DEL18,19 RhNull Phenotype Null Phenotype คือการเกิด mutation ของยีนที่ควบคุม การสรางแอนติเจนหมูเลือดระบบใดระบบหนึ่ง ทำ�ใหไมมีแอนติเจน ของหมูเลือดระบบนั้นบนผิวเม็ดเลือดแดงและบนเนื้อเยื่ออื่นๆ เพราะ mutation ทำ�ใหยีนไมทำ�งาน พบในหมูเลือดหลายระบบ ในคน ที่เปน phenotype Rhnull ไมมีแอนติเจนในระบบ Rh เนื่องจาก ยีน RHAG (Rh-associated glycoprotein) เกิด mutation ยีน RHAG อยูบนโครโมโซมคูที่ 6 ตำ�แหนง 6p11-p21.1 ดัง แสดงในรูปที่ 1 RHAG ไมไดเปนยีนที่สรางแอนติเจนหมูเลือด แตสราง glycoprotein ที่มีปลายขางหนึ่งเปน N-glycan chain ทำ�งานรวมกับแอนติเจน D, C, E เปนโครงสรางของเยื่อหุมเซลล เม็ดเลือดแดง การที่ยีน RHAG mutation ไมสราง RhAG ทำ�ใหแอนติเจน RhD และ RhCE แสดงออกไมได ทำ�ใหเกิด Rhnull phenotype ไมมีแอนติเจนในระบบ Rh บนผิวเม็ดเลือดแดง สง ผลโดยตรงตอรูปรางและความแข็งแรงของเยื่อหุมเซลลเม็ดเลือด แดง เม็ดเลือดแดงจะมีรูปรางและการทำ�งานที่ผิดปกติ (stomato- spherocytosis) รวมทั้งจะมีภาวะซีดรวมดวย1,2,5,7 Rh Negative และ Rh DEL Phenotype แอนติเจน D negative พบมากที่สุดในคนผิวขาวชาวยุโรป รอยละ 15-17 ของประชากร ในคนผิวดำ�แอฟริกันพื้นเมืองรอยละ บทความพิเศษ Mutation in Rh Blood Group System กัลยา เกิดแกวงาม ฝายผลิตน้ำ�ยาแอนติซีรัมและผลิตภัณฑเซลล ศูนยบริการโลหิตแหงชาติสภากาชาดไทย
  • 2. กัลยา เกิดแกวงาม J Hematol Transfus Med Vol. 22 No. 4 October-December 2012 284 3-5 ของประชากร แตหาไดยากในคนเอเชีย พบนอยกวารอยละ 0.1 ของประชากร นักประชากรศาสตรพยายามที่จะใชการกระจาย ตัวของแอนติเจน D negative ทำ�นายตนกำ�เนิดมนุษย อยางไรก็ ตามยังไมมีขอสรุปวาทำ�ไมแอนติเจน D negative จึงพบมากในคน ผิวขาวชาวยุโรป แอนติเจน D negative เกิดจากการ mutation ของยีนที่ควบคุมการสรางโปรตีน Rh คือยีน RHD อยูบนแขนสั้น ของโครโมโซมคูที่ 1 ตำ�แหนง 1p34.1-1p36 ดังแสดงในรูปที่ 1 และรูปที่ 2 โดยอยูชิดติดกันกับยีน RHCE ที่ควบคุมการสราง โปรตีน C และ E มีความยาวประมาณ 450,000 base pairs ทั้งสองยีนมี 10 exons และเปน homologous กัน ยีน RHD มีหนาที่สรางแอนติเจน D ยีน RHCE มีหนาที่สราง แอนติเจน Cc และแอนติเจน Ee1,7,9,10,20 แอนติเจน D negative สวน ใหญเกิดจาก deletion mutation มีการขาดของยีน RHD ทั้ง ยีน โดยขาดตั้งแต Exon 1 ถึงปลาย 3’ ทายสุดของ Exon 10 ทำ�ใหสรางแอนติเจน D ไมได เมื่อทำ� DNA typing จะไมพบยีน RHD ใน genomes ของคนที่เปน Rh negative แท1,2,20 สวน ในคนที่ Rh DEL phenotype นั้นเกิดจากการ mutation ของ ยีน RHD หลายแบบแตกตางกันในแตละเชื้อชาติ และยังคงมียีน RHD ใน genomes ของคนที่เปน Rh DEL phenotype19 ยีน RHD จะแสดงออกไดไมเต็มที่ แอนติเจน D บนผิวเม็ดเลือดแดง Figure 1 Model of topology for RhAG, RhCE and RhD. RhAG (Mr 50000) consist of 409 amino acids and is encoded by RHAG on chromosome 6p11-p21.1. RhCE and RhD (Mr 30000) are predicted to have a similar topology and are encoded by RHCE and RHD, which adjacent on chromosome 1p34-p36.10 Figure 2 Schematic representation of chromosomal arrangement of the RH locus, the RHD and RHCE genes and the RhD and RhCE polypeptides7
  • 3. Mutation in Rh Blood Group System วารสาร​โลหิต​วิทยา​และ​เวชศาสตร​บริการ​โลหิต ป​ที่ 22 ฉบับ​ที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2555 285 จึงมีความแรงออนมาก การระบุวาเปนหมูเลือด Rh negative ในปจจุบันใชวิธี antihumanglobulin test ซึ่งเปนวิธีมาตรฐานที่ใชกันเปนสวน ใหญในเอเชียและแอฟริกา ซึ่งมีขอดอยคือไมสามารถตรวจหมูเลือด ในกลุม Rh DEL ได เพราะกลุม Rh DEL มีความแรงของแอนติเจน D ออนมาก คำ�วา DEL ยอมาจาก D elution18 เพราะตรวจพบ ไดดวยวิธี absorption-elution test ดวย polyclonal anti-D21 Monoclnal anti-D22 จากบริษัทตางๆ หรือวิธี DNA typing เทา นั้น1,7,20,23 phenotype Rh DEL พบครั้งแรกในประเทศญี่ปุนโดย Okubo Y. และคณะ ในป ค.ศ. 1984 สังเกตวา D negative บาง คนที่ทดสอบแลววาไมใช weak D สามารถจับกับ anti-D ได โดย ทราบจากการทำ� absorption-elution จึงเรียกเม็ดเลือดแดงพวก นี้เปนการชั่วคราววา Del แลวทำ�การศึกษา D negative ที่ตรวจ ดวยวิธี antihumanglobulin test จำ�นวน 2,896 ราย พบวาเปน Rh DEL 298 ราย คิดเปนรอยละ 10.3 หลังจากนั้นก็สงตัวอยาง ไปให Gamma Biologicals, Houston, TX. ตรวจก็ไดผลตรง กัน18 คำ�เรียกที่ใชเรียก phenotype นี้ในงานวิจัยตางๆ มีหลาย แบบ ไดแก RhDel , RhDel , Del , Del , Dels และ DEL ปจจุบัน ใชคำ�วา DEL กลุม Rh DEL ถูกจัดอยูในพวก Rh positive ชนิด weak D7,24 ในกรณีเปนผูบริจาคโลหิตเพราะสามารถตรวจพบ แอนติเจน D บนผิวเม็ดเลือดแดงและสามารถกระตุนใหคนไข Rh negative แท สราง anti-D ขึ้นมาได มีหลายรายงานที่ระบุวาการ ใหเลือด DEL กระตุนการสราง anti-D ในผูปวย Rh negative แท รายงานแรกในออสเตรียพบ ผูปวยหญิงอายุ 58 ป Rh negative (D-C- E- c+e+) ไมเคยรับเลือดมากอน ไมเคยปลูกถายอวัยวะ มีประวัติตั้งครรภ 1 ครั้งเมื่อ 36 ปกอน ลูกเปน Rh negative (D-C-E-c+e+) เชนเดียวกับแม ไดรับเลือดจากผูบริจาคโลหิต ชาวออสเตรียซึ่งตรวจดวยวิธีมาตรฐาน indirect antiglobulin test เปน Rh negative (D-C+E-c+e+) ผล crossmath เขา กันได หลังรับเลือดผูปวยสราง anti-D ความแรงคือ titer 1:128 แตไมเกิด hemolytic transfusion reaction ระดับ hemoglobin ไมเปลี่ยนแปลงเนื่องจากผูปวยสราง anti-D โดยไมทราบสาเหตุ ดังนั้นจึงตรวจสอบขั้นตอนการใหเลือดทั้งหมดแตก็ไมพบความ ผิดพลาด นำ�เลือดของผูบริจาคโลหิตไปทำ� DNA typing ดวย วิธี polymerase chain reaction โดยใช sequence-specific priming (PCR-SSP) พบวายีน RHD mutation เกิด gene deletion 4 nucleotides ตำ�แหนง RHD intron 5 (RHD IVS5- 38del4) และการทดสอบดวยเทคนิค adsorption-elution แสดง วาผูบริจาคโลหิตเปน Rh DEL22 รายงานที่ 2 ในญี่ปุนผูปวยหญิงอายุ 67 ป Rh negative (D-C- E- c+e+) มีประวัติการสราง anti-D มากอนจากการรับ เลือด D positive เมื่อ 40 ปที่แลว เขารักษาตัวในโรงพยาบาลครั้ง หลังตรวจไมพบ anti-D ไดรับเลือด D negative จากผูบริจาค โลหิต 19 ราย หลังจากรับเลือดทั้งหมด ผูปวยสราง anti-D ความ แรงคือ titer 1:8 ไมเกิดทั้ง acute หรือ delayed hemolytic transfusion reaction ระดับของ hemoglobin เพิ่มขึ้น ระดับ indirect bilirubin และ lactate dehydrogenase ไมเปลี่ยนแปลง ตอมา อีกสองปผูปวยไดเลือด D negative จากผูบริจาคโลหิต อีก 40 รายที่ผลการตรวจ crossmatch เขากันได พบวา anti-D ในผูปวยมีความแรงเพิ่มขึ้นเปน titer 1:128 ไมเกิดทั้ง acute หรือ delayed hemolytic transfusion reaction ระดับของ hemoglobin, indirect bilirubin และ lactate dehydrogenase ไมเปลี่ยนแปลง จึงนำ�เลือดจากผูบริจาคโลหิตทั้ง 59 รายไปทำ� DNA typing ดวยวิธี Multiplex PCR-SSP พบวามี 2 รายเปน Rh DEL genotypeRHD(K409K)19 รายงานที่ 3 ในเกาหลีผูปวยชายอายุ 68 ป Rh negative (D-C- E- c+e+) ไมเคยไดรับการถายเลือดมากอน ไมเคยปลูก ถายอวัยวะ ผาตัด bypass หลอดเลือดหัวใจ การตรวจกรอง แอนติบอดีกอนผาตัดไดผลลบไดรับเลือด D negative 2 units ที่ผล crossmatch เขากันไดระหวางผาตัด หลังผาตัด 5 วัน ระดับ hemoglobin ต่ำ�มากจึงไดรับ D negative ที่ผล crossmatch เขากันไดเพิ่มอีก 2 units อีกประมาณ 9 วันตอมา การตรวจกรอง แอนติบอดีของคนไขไดผลบวก ตรวจแยกชนิดแอนติบอดีได anti-D ไมพบวาเกิดทั้ง acute หรือ delayed hemolytic transfusion reaction ระดับของ hemoglobin, indirect bilirubin และ lactate dehydrogenase ไมเปลี่ยนแปลง เพราะผูปวยสราง anti-D โดยไมทราบสาเหตุขั้นตอนของการตรวจกอนใหเลือด ถูกตรวจสอบโดยละเอียด อยางไรก็ตามไมพบความผิดพลาด จึงนำ�เลือดของผูบริจาคทั้ง 4 รายไปตรวจ RHD gene โดยวิธี real-time PCR พบวามีผูบริจาคโลหิต 1 ราย เปน Rh DEL RHD(K409K)16 มีผูสงสัยวาในกรณีที่ผูปวยเปน Rh DEL จะ สามารถใหเลือด Rh positive ไดหรือไม Chao-Peng Shao ศึกษาในชาวจีน พบวา Rh DEL สวนใหญจะไมสราง anti-D ดัง นั้น คนที่เป็น DEL จึงสามารถรับเลือด Rh Positive ไดโดยไมมี ความเสี่ยง24 อยางไรก็ตามมีผูคัดคานเพราะเคยมีรายงานวา D variants สามารถสราง anti-D ตอชิ้นสวนของ D แอนติเจนที่ ตัวเองสรางไมได 11 การศึกษา mutation ของยีน RHD ในคนแอฟริกันผิวดำ�พบวา เกิด mutation ของยีน RHD แบบ gene insertion มี nucleotide 37 base pairs เขาแทรกใน exon 4 ทำ�ให intron 3 และ exon
  • 4. กัลยา เกิดแกวงาม J Hematol Transfus Med Vol. 22 No. 4 October-December 2012 286 4 มีความยาวเพิ่มขึ้น กลายเปน RHD pseudogene (RHDψ) ผลคือเกิด reading frame shift และ stop codon ที่ตำ�แหนง 210 ใน exon ที่ 6 ทำ�ใหไมสามารถ translation เปนแอนติเจน D ได รอยละ 14 ของคนแอฟริกันผิวดำ� Rh negative เกิดจาก mutation แบบดังกลาว1,8,9,12 phenotype RHDψ ในคนแอฟริกัน ผิวดำ�ควรจะถูกจัดอยูในพวก Rh negative แท เพราะถึงจะมียีน RHD ใน genome ก็ไมพบวาสราง mRNA ที่จะ translation เปนแอนติเจน D อีกทั้งคนที่มี phenotype RHDψ สามารถสราง anti-D ได8 mutation อีกแบบหนึ่งที่พบในคนแอฟริกันผิวดำ� คือ ยีนลูกผสม RHD/CE hybrids (RHD-CE-Ds ) เกิดจากยีน RHCE ขาดแลวแทรกเขาไปในยีน RHD ที่อยูใกลกัน ที่ปลาย 3’ ของ exon ที่ 3 ไปถึง exon ที่ 4 ถึง 8 เกิดเปน (C)ces haplotype การ mutation แบบนี้จะทำ�ใหเกิดความผิดปกติทั้งแอนติเจน D, C, E โดยจะไมสามารถสรางแอนติเจน D แตสามารถสราง แอนติเจน C ไดเล็กนอย phenotype ที่ปรากฎคือ D-Cweak c+E- e+VS+V- ยีนลูกผสมนี้จะมี Leu245Val substitution สามารถ สรางแอนติเจน VS ได แอนติเจน VS มีความสัมพันธโดยตรง กับการเกิด phenotype weak C รอยละ 3 ของคนแอฟริกันผิว ดำ� Rh negative เกิดจาก mutation แบบนี้8,9 ในคนเอเชียผิวเหลืองพบประชากรที่เปน Rh negative นอย กวารอยละ 0.1 ทำ�ใหการศึกษา Rh DEL phenotype ยังอยูใน วงจำ�กัด ประเทศที่ทำ�งานวิจัยเรื่องนี้แลวคือ ญี่ปุน ใตหวัน เกาหลี และจีน ประมาณกันวา D negative ที่ตรวจดวยวิธีมาตรฐาน antihumanglobulin test ในชาวเอเชียนาจะเปน Rh DEL ถึงรอยละ 12.8 ในชาวจีน Rh DEL ที่พบสวนใหญคือ alleles RHD(K407K) หรือ alleles RHD(1227G>A)9,13 หรือเรียกวา “Asia Type”12 ในใตหวันพบ alleles RHD(delEX9) มากที่สุด9 ในญี่ปุนพบ alleles RHD(G314V) รอยละ 13.8 ของ Rh negative ทั้งหมด9 ในคน ผิวขาวพบการ mutation ของยีน RHD หลายแบบที่แตกตางจาก คนแอฟริกันผิวดำ�และคนเอเซียผิวเหลือง9 mutation ในคนผิวขาว ชาวยุโรปจะเกิดจากการขาดของยีน RHD ทั้งยีน mutation แบบ นี้ทำ�ใหเกิด phenotype Rh negative แท จะไมพบยีน RHD ใน genome ของคนที่มี phenotype เชนนี้ Rh DEL phenotype ใน คนผิวขาวมีหลายแบบ มีทั้งแบบที่เหมือนกับคนผิวดำ�และเหมือน กับคนผิวเหลือง แบบที่เหมือนในคนผิวดำ�คือยีนลูกผสม RHD/ CE hybrids (RHD-CE-Ds ) แบบที่เหมือนกับคนผิวเหลืองคือ alleles RHD (K409K)25 นอกจากนั้นยังพบ mutation ของยีน RHD ในคนผิวขาวอีกหลายแบบ เชน nonsense mutations ทำ�ใหเกิด allele RHD(Q41X), deletion mutation ทำ�ใหเกิด allele RHD(488del4), missense mutation ทำ�ใหเกิด allele RHD 885T, splice-site mutation ทำ�ใหเกิด allele RHD IVS3+1A และ hybrid gene mutation ทำ�ใหเกิด alleles RHD-CE(2- 9)-D และ RHD-CE(4-7)-D9,20,25 Wagner และคณะ อธิบายวา Rh DEL นาจะมีอยางนอย 3 alleles ที่เกิดจาก mutation แบบ single missense (point mutation), splicing-site และ gene deletion คือ RHD(M295I, 885G>T), RHD(K409K, 1277G>A) และ RHD(IVS5-38del4)11,19,22 Rh negative สวนใหญเกิดจาก unequal crossing over ดังแสดงในรูปที่ 37 Partial D และ weak D Phenotype ดังที่ไดกลาวไวในตอนตนแลววา หมูเลือดในระบบ Rh มีความ หลากหลายมาก เนื่องมาจากยีน RHD และ RHCE อยูชิดกันมากจึง ทำ�ใหเกิดการจัดเรียงตัวใหมของยีน (gene tandem arrangement) ไดบอย เกิดเปน variant alleles ใหมๆ ไดมากมาย การ mutation ของยีน RHD บางอยาง ทำ�ใหไมสามารถสรางแอนติเจน D ที่ สมบูรณได โดยอาจจะสรางแอนติเจน D ไดไมครบทุก epitope มีบาง epitope ที่ขาดหายไป7 คนที่เปน Partial D นั้นเกิดจาก mutation ของยีน RHD และ hybrid ของยีน RHCE ทำ�ใหมี Figure 3 The Structure of the RH locus (A) and the proposed mechanism of unequal crossing over (B) causing a RHD negative RH locus (C).7
  • 5. Mutation in Rh Blood Group System วารสาร​โลหิต​วิทยา​และ​เวชศาสตร​บริการ​โลหิต ป​ที่ 22 ฉบับ​ที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2555 287 ลักษณะของแอนติเจน D ที่ผิดปกติ คือสามารถสราง anti-D ตอ epitope ของแอนติเจน D ที่ตัวเองไมมีไดเมื่อถูกกระตุนดวย แอนติเจน D โมเลกุลที่สมบูรณ รวมทั้งไมเกิดปฏิกิริยา agglutina- tion กับ monoclonal anti-D บางชนิด ทุกวันนี้มีการจัดจำ�แนก partial D ออกเปน 3 กลุมใหญๆ ตามการเกิด mutation ไดแก แบบที่หนึ่ง mutation แบบ hybrid ของยีน RHD/CE เกิดขึ้นเพราะ ยีน RHD และ RHCE เหมือนกันมาก เกิด gene conversion มีการขาดของยีนแลวตอกันใหมแบบสุม เกิด alleles ใหมที่เปน ลูกผสมของยีนทั้งสองมากกวา 20 ชนิด ตัวอยางเชน RHD-CE-D หรือ RHCE-D-CE เปนตน phenotype ของ partial D ที่พบสวน ใหญคือ DIII , DFR, DV , DIVb -like, DVI , DBT และ R0 Har โดย แตละ phenotype มีความแรงของแอนติเจนที่แตกตางกัน ดังนั้น จึงไมคอยเกิดปฏิกิริยากับ monoclonal anti-D บางครั้งยากใน การตรวจดวยวิธีทาง serology แบบที่สอง missense mutation มีการศึกษาแลวพบวา phenotype ของ partial D มากกวา 10 แบบ เกิดจาก single missense mutation (point mutation) ทำ�ใหโปรตีน D ที่อยูดานนอกของเยื่อหุมเซลลมีความผิดปกติ เปน ผลใหแอนติเจน D ผิดปกติไปดวย แบบที่สาม Dispersed amino acid substitution เกิดจาก amino acid หลายตัวในแอนติเจน D หายไปแลวถูกแทนที่ดวย amino acid ตัวอื่นเปนผลใหแอนติเจน D ผิดปกติ ตัวอยางเชน D category IIIa, D category III type IV, D category Iva และ DAR partial D ชนิดนี้จะไมพบในคนยุ โรปแตจะพบบอยมากในคนแอฟริกา ทำ�ใหมีปญหามากในแอฟริกา เพราะยากที่จะตรวจดวยวิธี serology ที่ใช monoclonal anti-D26 ตามปกติแลวคนที่มีแอนติเจน D ที่สมบูรณ หรือคนที่เปน Rh positive ปกติ จะมีความหนาแนนของแอนติเจน D บนผิวเม็ด เลือดแดงอยูระหวาง 15,000 โมเลกุล (R1 r) ถึง 33,000 โมเลกุล (R2 R2 ) ตอเซลล อยางไรก็ตามคนที่เปน Rh positive ชนิด weak D นั้น จะพบวา มีแอนติเจน D เพียง 70 โมเลกุลถึง 5,200 โมเลกุล ตอเซลลเทานั้น ในคนผิวขาวพบ phenotype weak D รอยละ 0.2 ถึงรอยละ 1 ในคนผิวเหลือง weak D ที่มีความแรงออนมาก ก็คือ Rh DEL phenotype นั่นเอง7 งานวิจัยมากมายแสดงใหเห็น วา คนที่มี phenotype weak D นั้นเกิด missense mutation ที่ยีน RHD ทำ�ใหโปรตีน D ที่อยูดานในของเยื่อหุมเซลลมีความ ผิดปกติ สงผลใหแอนติเจน D มีความผิดปกติดวย ซึ่งแตกตาง จาก missense mutaion ที่เกิดใน partial D เพราะ partial D เกิดจากความผิดปกติของโปรตีน D ที่อยูดานนอกเยื่อหุมเซลล ในยุโรป weak D ที่พบสวนใหญเปน type 1 และ type 2 ในป 2002 พบวามี weak D มากกวา 20 ชนิด26 patial D และ weak D ชนิดตางๆ ดังแสดงในรูปที่ 4 Figure 4 Phylogeny of RHD in humans7
  • 6. กัลยา เกิดแกวงาม J Hematol Transfus Med Vol. 22 No. 4 October-December 2012 288 เนื่องจากปัจจุบันนี้ประเทศไทยใช้วิธีมาตรฐาน antihuman- globulin test เป็นวิธีที่ใช้แยก Rh positive กับ Rh negative ทำ�ใหไมสามารถแยก Rh DEL ออกมาจากกลุม Rh negative ได อีกทั้ง Rh DEL ก็สามารถกระตุนให Rh negative แท สราง anti-D ขึ้นมาได ทำ�ใหเปนปญหากับการใหเลือด ในประเทศของเรา ยังไมมีการศึกษาวิจัย Rh DEL มากพอ ดังนั้นควรสนับสนุนใหมี การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับ Rh DEL ในคนไทยใหมากขึ้นยิ่งขึ้น Referances 1. Westhoff CM. The Rh blood group system in review: A new face for the next decade. Transfusion 2004; 44:1663-73. 2. Avent ND, Reid ME. The Rh blood group system: a review. Blood 2000;95:375-8. 3. Scott ML. The complexities of the Rh system. Vox Sang 2004;87(Suppl 1):S58-62. 4. Hyland CA, Wolter LC, Saul A. Three Unrelated Rh D Gene Polymorphisms Identified among Blood Donors with Rhesus CCee (r’r’) Phenotypes. Blood 1994;84:321-4. 5. Nicolas V, Kim CLV, Gane P, et al. Rh-RhAG/Ankyrin-R, a New Interaction Site between the Membrane Bilayer and the Red Cell Skeleton, Is Impaired by Rhnull -associated Mutation. The Journal of Biological Chemistry 2003;278:25526-33. 6. Le Van Kim C, Mouro I, Che’rif-Zahar B, et al. Molecular cloning and primary structure of the human blood group RhD polypeptide. Proceeding of the National Academy of Sciences of the United States of America 1992;89:10925-9. 7. Rhenen DJV, Löwenberg B, Steegers EAP, et al. Rh Variability in Multi-Ethnic Perspective Consequences for RH Genotyping. Proefschrift Martine Tax 2006. Doctoral Thesis. The Netherland Organization for Health, Research and Development. Sanquin Blood Bank South West region; 2006. 8. Rodrigues A, Rios M, Pellegrino Jr J, et al. Presence of the RHD pseudogene and the hybrid RHD-CE-Ds gene in Brazilians with the D-negative phenotype. Brazillian Journal of Medicine and Biological Research 2002;35:767-73. 9. Singleton BK, Green CA, Avent ND, et al. The presence of an RHD pseudogene containing a 37 base pair duplication and a nonsense mutation in Africans with the Rh D-negative blood group phenotype. Blood 2000;95:12-8. 10. Christiansen M, Sørensen BS, Grunner N. RHD positive among C/E+ and D- blood donors in Denmark. Transfusion 2010;50:1460-4. 11. KÖrmÖczi GF, Gassner C, Shao CP, et al. A comprehensive analysis of DEL types: partial DEL individuals are prone to anti-D alloimmunization. Transfusion 2005;45:1561-7. 12. Gassner C, Doescher A, Drnovsek TD, et al. Presence of RHD in serologically D-, C/E+ individuals: a European multicenter study. Transfusion 2005;45:527-38. 13. Xu Q, Grootkerk-Tax MG, Maaskant-van Wijk PA, van der Schoot CE. Systemic analysis and zygosity determination of the RHD gene in a D-negative Chinese Han population reveals a novel D-negative RHD gene. Vox Sang 2005;88:35-40. 14. Shao CP, Maas JH, Su YQ, et al. Molecular background of Rh D-positive, D-negative, Del and weak D phenotypes in Chinese. Vox Sang 2002;83:156-61. 15. Shao CP, Wang BY, Ye SH, et al. DEL RBC transfusion should be avoided in particular blood recipients in East Asia due to al- losensitization and ineffectiveness. Journal of Zhejien University- SCIENCE B (Biomedicine & Biotechnology) In press. 2012. 16. Kim KH, Kim KE, Woo KS, et al. Primary anti-D Immunization by DEL Red Blood Cells. Korean Journal Laboratory Medicine 2009;29:361-5. 17. Kim JY, Kim SY, Kim CA, et al. Molecular characterization of D- Korean persons: development of a diagnostic strategy. Trans- fusion 2005;45:345-52. 18. Okubo Y, Yamaguchi H, Tomita T, et al. A D variant, Del ? Transfusion 1984;24:542. 19. Yasuda H, Ohto H, Sakuma S, et al. Secondary anti-D immuniza- tion by Del red blood cells. Transfusion 2005;45:1581-4. 20. Wagner FF, Flegel WA. RHD gene deletion occurred in the Rhesus box. Blood 2000;95:3662-8. 21. Wang YH, Chen JC, Lin KT, et al. Detection of RhDel in Rh D- negative person in clinical laboratory. The Journal of Laboratory and Clinical Medicine 2005;146:321-5. 22. Wagner T, KÖrmÖczi GF, Buchta C, et al. Anti-D immunization by DEL red blood cells. Transfusion 2005;45:520-6. 23. Chang JG, Wang JC, Yang TY, et al. Human RhDel Is Caused by a Deletion of 1,013 bp Between Intron 8 and 9 Including Exon 9 of RHD Gene. Blood 1998;92:2602-4. 24. Shao CP. Transfusion of RhD-Positive Blood in “Asia Type” DEL Recipients. N Engl J Med 2010;362:472-3. 25. Chen JC, Lin TM, Chen YL, Wang YH, Jin YT, Yue CT. RHD 1227A Is an Important Genetics Marker for RhDel Individuals. Am J Clin Patho 2004;122:193-8. 26. Flegel WA, Wagner FF. Molecular Biology of partial D and weak D: Implication for Blood Bank Practice. Clin Lab. 2002;48:53-59. 27. Wagner FF, Frohmajer A, Flegel WA. RHD positive haplotypes in D negative Europeans. BMC Genetics 2001;2:1-11.