SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
การจัดการเรียนรู้
Learning
ทฤษฎีการจัดการเรียนรู้
Theories of Learning
ธอร์นไดด์ Thorndike สกินเนอร์ Skinnerพาฟลอฟ Pavlov
ทฤษฎีการจัดการเรียนรู้ Theories of Learning
1. ธอร์นไดด์ Thorndike
= การเรียนรู้เป็นการเกิดความสัมพันธ์เชื่อมโยง
(Connection) ระหว่างสิ่งเร้า (Stimulus) กับปฏิกิริยาตอบสนอง
(Response) เรียกว่า การลองผิดลองถูก Trial and Error
= ทาการทอลอง สร้างกรงกล (Puzzle Box) ใช้กับแมว
อายุ 8 เดือน
การลองผิดลองถูก Trial and Error
ผลการทดลองพบว่า
นอกกรง ในกรง
R1 แมววิ่งในกรง
R2 ส่งเสียงดัง
R3 ผลักประตู
R4 ปีนป่ าย
R5 เหยียบแผ่นไม่ประตูเปิด
ปลา
Stimulus
แผนภูมิแสดงความสัมพันธ์สิ่งเร้ากับพฤติกรรมการตอบสนอง
จากการทดลอง ธอร์นไดด์ ได้กาหนดทฤษฎีการเรียนรู้ได้ 3 ประการ
1. กฏแห่งความพร้อม (Law of Readiness)
2. กฎแห่งผล (Law of Effect)
3. กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise)
การลองผิดลองถูก Trial and Error
ธอร์นไดด์ ยังได้กฎย่อย อีก 5 กฎ ดังนี้
1. กฎแห่งการตอบสนองหลายทาง
(Law of Multiple Responses)
2. กฎการตั้งจุดหมาย (Law of set of Attitude)
3. กฎการเลือกตอบสนอง (Law of Partial Activitiy)
4. กฎแห่งการเปรียบเทียบ (Law of Response by Analogy)
5. กฎแห่งการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
(Law of Associative Shifting)
การลองผิดลองถูก Trial and Error
ทฤษฎีการจัดการเรียนรู้ Theories of Learning
2. พาฟลอฟ Pavlov
= ได้ศึกษาการเรียนรู้โดยกาหนดเงื่อนไข (Conditioning)
คือ การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับตอบสนองที่ต้องวาง
เงื่อนไข เรียกว่า ทฤษฎีเงื่อนไขแบบคลาสสิค
= ทาการทดลองกับสุนัข
แผนภูมิแสดงการทดลองทฤษฎีเงื่อนไขแบบคลาสสิค
ก่อนวางเงื่อนไข
เสียงกระดิ่ง ไม่มีน้าลาย
เนื้อ น้าลายไหล
วางเงื่อนไข
เนื้อ
กระดิ่ง
หลังวางเงื่อนไข
เสียงกระดิ่ง น้าลายไหล
น้าลายไหล
จากผลการทดลองของ พาฟลอฟ ทาให้ทราบว่า การเรียนรู้
ส่วนหนึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ถ้าหากมีการกาหนดเงื่อนไข ในการเรียน
อย่างใดอย่างหนึ่ง
พอสรุปเป็นหลักทฤษฎีได้ 4 ประการ
1. การเสริมแรง (Reinforcement)
2. การดับหรือลดพฤติกรรม (Extinction)
3. การสรุปครอบคลุม (Generatization)
4. การจาแนกความแตกต่าง (Discrimination)
ทฤษฎีการจัดการเรียนรู้ Theories of Learning
3. สกินเนอร์ Skinner
= เป็นเจ้าของทฤษฎี เสริมแรง (Reinforcement) การให้
แรงเสริมจากการตอบสนองนั้น สามารถกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรม
นั้นได้อีก ส่วนพฤติกรรมที่ไม่ได้รับการเสริมแรงจะค่อยๆหายไป
ในที่สุด
= ทาการทดลองกับหนู
และนกพิราบ
การกาหนดเวลาของการให้แรงเสริม เพื่อให้เกิดพฤติกรมต่อเนื่อง ดังนี้
ประการที่หนึ่ง ประการที่สอง
สรุป
การเรียนรู้จะเกิดได้ต้องมีขั้นตอน มีกระบวนการ เพื่อให้เกิด
การแก้ปัญหา เกิดการอยากรู้อยากเห็น ซึ่งทั้งหมดถือเป็นเรื่องของ
กระบวนการเรียนรู้
จากความหมายและแนวคิดของนักการศึกษาต่างๆ พอสรุปได้ดังนี้
การเรียนรู้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเป็ นผลมาจาก
ประสบการณ์ที่ค่อนข้างถาวร และเป็ นไปในทางที่สังคมต้องการ จาก
ความหมายของการเรียนรู้ดังกล่าว แสดงให้เห็นว่า การเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อ
ผู้เรียนได้มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ธรรมชาติการเรียนรู้
= เป็นกระบวนการที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้ขึ้นในตัวผู้เรียน
ครอนบัด (Cronbach) ได้อธิบายธรรมชาติการเรียนรู้ไว้ดังนี้
1. จุดมุ่งหมายของผู้เรียน (Goal)
2. ความพร้อม (Readiness)
3. สถานการณ์ (Situation)
4. การแปลความหมาย (Interpretation)
5. ลงมือกระทา (Action)
6. ผลที่ตามมา (Consequence)
7. ปฏิกิริยาต่อความผิดหวัง (Contradic)
องค์ประกอบที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้
1. วุฒิภาวะ (Maturity)
2. ความพร้อม (Readiness)
3. การฝึกฝน (Practice)
4. การเสริมแรง (Reinforcement)
5. การถ่ายโยงความรู้ (Transfer of Learning)
ประเภทและลาดับขั้นการเรียนรู้
1. การเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
2. การเรียนรู้ด้านจิตพิสัย (Affective Domain)
3. การเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย (Psycho motor Domain)
กระบวนการเรียนการสอนตามขั้น M, I, A, P
นักเรียน
การเรียนรู้
ขั้นสนใจปัญหา
ขั้นศึกษาข้อมูล
ขั้นพยายาม
ขั้นสาเร็จผล
ครู
การสอน
ขั้นนาสู่บทเรียน
ให้เนื้อหาความรู้
ให้แบบฝึกหัด
ตรวจผลการฝึกหัด
กระบวนการเรียนการสอน
ผ่านขึ้นเนื้อหาใหม่
ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน
ย้อนกลับ
Feed back
ย้อนกลับ
Feed back
I
P
A
M
การนาหลักการมาประยุกต์ใช้ในการสอน
1. ครูสามารถนาหลักการเรียนรู้ของทฤษฎีนี้มาทาความเข้าใจพฤติกรรม
ของผู้เรียนที่แสดงออกถึงอารมณ์ ความรู้สึกทั้งด้านดีและไม่ดี รวมทั้งเจตคติต่อ
สิ่งแวดล้อมต่างๆ เช่น วิชาที่เรียน กิจกรรม หรือครูผู้สอน
2. ครูควรใช้หลักการเรียนรู้จากทฤษฎีปลูกฝังความรู้สึกและเจตคติที่ดี
ต่อเนื้อหาวิชา กิจกรรมนักเรียน ครูผู้สอนและสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องให้เกิด
ในตัวผู้เรียน
3. ครูสามารถป้องกันความรู้สึกล้มเหลว ผิดหวัง และวิตกกังวลของ
ผู้เรียนได้โดยการส่งเสริมให้กาลังใจในการเรียนและการทากิจกรรม ไม่คาดหวัง
ผลเลิศจากผู้เรียน และหลีกเลี่ยงการใช้อารมณ์หรือลงโทษผู้เรียนอย่างรุนแรงจน
เกิดการวางเงื่อนไขขึ้น
อ้างอิง
สุธาสินี ศรีวิชัย
คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
WWW. Google.com
ผู้จัดทาขอขอบคุณข้อมูลในการสืบค้นจากเว็บไซต์ต่างๆ ทั้งที่ใช้
เขียนอ้างอิงและไม่ได้เขียนอ้างอิงเนื่องจากเป็นการฝึกทาโครงการเรียนแบบ
Project based learning อาจมีข้อบกพร่องในการสืบค้นและค้นหา เพราะเป็น
งานกลุ่ม และเว็บไซต์ต่างๆที่รวบรวมข้อมูลนั้นผู้ทาอาจะจะนามาใช้แต่ไม่ได้
อ้างอิงท่านต้องขออภัยมา ณ โอกาสนี้ด้วยและในการนาข้อมูลมาสร้างPower
point ซึ่งเป็นการจัดทาข้อมูลสาหรับการนาเสนองานในรายวิชา จิตวิทยา
การศึกษา ของ นิสิตประกาศนียบัตรวิชาชีพครูหากมีข้อมูลผิดพลาดประการ
ใดผู้จัดทาก็ขออภัย มา ณ โอกาสนี้
คาขอบคุณ
ทฤษฎีการจัดการเรียนรู้
ทฤษฎีการจัดการเรียนรู้

More Related Content

Similar to ทฤษฎีการจัดการเรียนรู้

Original thorndike
Original thorndikeOriginal thorndike
Original thorndikeya035
 
Original thorndike
Original thorndikeOriginal thorndike
Original thorndikeNew Born
 
อาจารย์ก๊อก
อาจารย์ก๊อกอาจารย์ก๊อก
อาจารย์ก๊อกchuensumon
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ya035
 
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์NusaiMath
 
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์NusaiMath
 
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์NusaiMath
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ya035
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ya035
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_makusoh026
 
ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์sanniah029
 
ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์sanniah029
 
นวัตกรรม 21022015
นวัตกรรม 21022015นวัตกรรม 21022015
นวัตกรรม 21022015juthamat fuangfoo
 
พฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยมพฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยมNattapong Wattanabut
 

Similar to ทฤษฎีการจัดการเรียนรู้ (15)

Original thorndike
Original thorndikeOriginal thorndike
Original thorndike
 
Original thorndike
Original thorndikeOriginal thorndike
Original thorndike
 
Original thorndike
Original thorndikeOriginal thorndike
Original thorndike
 
อาจารย์ก๊อก
อาจารย์ก๊อกอาจารย์ก๊อก
อาจารย์ก๊อก
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
 
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
 
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
 
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
 
ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์
 
ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์
 
นวัตกรรม 21022015
นวัตกรรม 21022015นวัตกรรม 21022015
นวัตกรรม 21022015
 
พฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยมพฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยม
 

ทฤษฎีการจัดการเรียนรู้