SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
การใช้งานการใช้งาน
คาสั่ง SQL
SQL เป็นภาษาคอมพิวเตอร์สาหรับทางานกับชุดข้อมูลและ
ความสัมพันธ์ระหว่างชุดข้อมูลต่างๆ โปรแกรมฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ เช่น
Microsoft Office Access จะใช้ SQL ในการทางานกับข้อมูล SQL เป็นภาษาที่
ผู้ใช้สามารถอ่านและทาความเข้าใจได้ไม่ยาก แม้แต่กับผู้ใช้ระดับเริ่มต้น ซึ่งต่าง
จากภาษาคอมพิวเตอร์อื่นๆ SQL เป็นมาตรฐานระดับสากลที่หน่วยงานกาหนด
มาตรฐาน เช่นISO และ ANSI ให้การรับรอง เช่นเดียวกับภาษาคอมพิวเตอร์อื่นๆ
Microsoft Office Access 2007
คาสั่ง SQL พื้นฐาน: SELECT, FROM และ WHERE
คาสั่ง SQL มีรูปแบบทั่วไป ดังนี้
SELECT field_1
FROM table_1
WHERE criterion_1
;
หมายเหตุ
-Access จะไม่สนใจการแบ่งบรรทัดในคาสั่ง SQL อย่างไรก็ตาม ควรใช้ส่วนคาสั่งหนึ่ง
คาสั่งต่อหนึ่งบรรทัด เพื่อช่วยให้ตัวคุณเองและผู้ใช้คนอื่นๆ อ่านคาสั่ง SQL ได้ง่ายขึ้น
-คาสั่ง SELECT ทุกคาสั่งจะลงท้ายด้วยเครื่องหมายอัฒภาค (;) เครื่องหมายอัฒภาคอาจ
ปรากฏอยู่ที่ท้ายส่วนคาสั่งส่วนสุดท้าย หรือที่บรรทัดใหม่ท้ายคาสั่ง SQL ก็ได้
ตัวอย่าง
ลักษณะของคาสั่ง SQL สาหรับแบบสอบถามแบบใช้เลือกข้อมูลอย่างง่ายใน Access
คาสั่ง SQL ในตัวอย่างนี้แปลความได้ว่า "เลือกข้อมูลที่เก็บอยู่ในเขตข้อมูลที่ชื่อ E-mail
Address และ Company จากตารางที่ชื่อ Contacts เฉพาะระเบียนที่มีค่าของเขตข้อมูล City
เป็น Seattle"
สรุปได้ดังนี้
ส่วนคาสั่ง SELECT
ประกอบด้วยตัวดาเนินการ SELECT และตามด้วยตัวระบุ [E-mail Address], Company
ถ้าตัวระบุมีเว้นวรรคหรืออักขระพิเศษ (เช่น "E-mail Address") จะต้องอยู่ในเครื่องหมายวงเล็บ
เหลี่ยม ไม่จาเป็นต้องระบุว่าตารางใดมีเขตข้อมูลนั้นและไม่สามารถระบุเกณฑ์ใดๆในการเลือก
ข้อมูลเข้ามารวมไว้ได้และปรากฏอยู่หน้าส่วนคาสั่ง FROM ในคาสั่ง SELECT เสมอ
ส่วนคาสั่ง FROM
ประกอบด้วยตัวดาเนินการ(FROM) ตามด้วยตัวระบุ (Contacts) คาสั่งนี้ไม่ได้แสดงเขตข้อมูลที่
ถูกเลือก
ส่วนคาสั่ง WHERE
ประกอบด้วยตัวดาเนินการ(WHERE) ตามด้วยนิพจน์ (City="Seattle")
การเรียงลาดับผลลัพธ์: ORDER BY
ใน Access คุณสามารถเรียงลาดับผลลัพธ์แบบสอบถามในแผ่นข้อมูลได้
เช่นเดียวกับใน Microsoft Office Excel รวมทั้งสามารถระบุในแบบสอบถามเกี่ยวกับวิธีที่
คุณต้องการเรียงลาดับผลลัพธ์เมื่อเรียกใช้แบบสอบถามได้ โดยใช้ส่วนคาสั่ง ORDER BY
ถ้าคุณใช้ส่วนคาสั่ง ORDER BY ส่วนคาสั่งนี้จะอยู่เป็นลาดับสุดท้ายในคาสั่ง SQL
หมายเหตุ
ตามค่าเริ่มต้นแล้ว Access จะเรียงลาดับค่าจากน้อยไปหามาก (A-Z หรือน้อย
ที่สุดไปหามากที่สุด) สามารถใช้คาสาคัญ DESC เพื่อเรียงลาดับค่าจากมากไปหาน้อย
แทนได้
ตัวอย่างเช่น สมมติว่าคุณต้องการเรียงลาดับผลลัพธ์ตามค่าของเขตข้อมูล
Company จากมากไปหาน้อยก่อน ในกรณีที่มีระเบียนที่มีค่า Company ซ้ากัน แล้วจึง
เรียงลาดับตามค่าในเขตข้อมูล E-mail Address จากน้อยไปหามาก ส่วนคาสั่ง ORDER BY
จะมีลักษณะดังนี้
ORDER BY Company DESC, [E-mail Address]
การทางานกับข้อมูลสรุป: GROUP BY และ HAVING
ส่วนคาสั่ง GROUP BY จะอยู่ต่อจากคาสั่ง WHERE หรือต่อจากส่วนคาสั่ง
FROM กรณีถ้าไม่มีส่วนคาสั่ง WHERE โดยคาสั่ง GROUP BY นี้จะแสดงเขตข้อมูล
ตามที่ปรากฏในส่วนคาสั่ง SELECT
ตัวอย่างเช่น ถ้าส่วนคาสั่ง SELECT ใช้ฟังก์ชันการรวมกับ [E-mail Address]
แต่ไม่ได้ใช้กับ Company ส่วนคาสั่ง GROUP BY ของคุณจะมีลักษณะดังนี้
GROUP BY Company
บางครั้ง เมื่อต้องการทางานกับข้อมูลสรุป เช่น ยอดขายรวมในหนึ่งเดือน
หรือสินค้าที่มีราคาแพงที่สุดในสินค้าคงคลัง เราสามารถใช้ฟังก์ชันการรวมกับเขต
ข้อมูลในส่วนคาสั่ง SELECT ได้ตัวอย่างเช่น ถ้าต้องการให้แบบสอบถามแสดง
จานวนที่อยู่อีเมลของแต่ละบริษัท ส่วนคาสั่ง SELECT ของคุณอาจมีลักษณะดังนี้
SELECT COUNT([E-mail Address]), Company
ส่วนคาสั่ง HAVING ถ้าต้องการใช้เกณฑ์เพื่อจากัดผลลัพธ์ แต่เขตข้อมูลที่
ต้องการใช้กับเกณฑ์นั้นถูกใช้ในฟังก์ชันการรวมแล้ว จะไม่สามารถใช้คาสั่ง WHERE ได้
แต่สามารถใช้ส่วนคาสั่ง HAVING แทนได้
คาสั่ง HAVING นั้นทางานคล้ายกับส่วนคาสั่ง WHERE แต่ใช้กับข้อมูลการ
รวม ตัวอย่างเช่น สมมติว่าใช้ฟังก์ชัน AVG (ซึ่งจะคานวณหาค่าเฉลี่ย) กับเขตข้อมูลแรก
ในส่วนคาสั่ง SELECT ของคุณ
SELECT COUNT([E-mail Address]), Company
ถ้าต้องการให้แบบสอบถามจากัดผลลัพธ์ตามค่าของฟังก์ชัน COUNT จะไม่
สามารถใช้เกณฑ์กับเขตข้อมูลดังกล่าวในคาสั่ง WHERE ได้แต่สามารถใช้เกณฑ์นั้นใน
ส่วนคาสั่ง HAVING แทนได้
ตัวอย่างเช่น ถ้าต้องการให้แบบสอบถามส่งกลับเพียงแถวที่มีที่อยู่อีเมล์ที่
เกี่ยวข้องกับบริษัทหนึ่งมากกว่าหนึ่งรายการ ส่วนคาสั่ง HAVING อาจมีลักษณะดังนี้
HAVING COUNT([E-mail Address])>1
อ้างอิง
hhttp://slideplayer.in.th/slide/2117690/
ttps://support.office.com
จัดทาโดย
นาย พีระชัย ลอยไสว เลขที่ 11
นาย ศิวกร ไพรวัลย์ เลขที่ 12
นางสาวกัญญาพัชร เจนกิจการ เลขที่ 17
นางสาวจิณณพัต เรือนงาม เลขที่ 30
นางสาวพชรพรรณ กาญจนไตรรัตน์ เลขที่ 31
นางสาวนิชา สนชัย เลขที่ 32

More Related Content

Viewers also liked

การบันทึกข้อมูล 43 แฟ้ม แฟ้ม 7 d
การบันทึกข้อมูล 43 แฟ้ม แฟ้ม 7 dการบันทึกข้อมูล 43 แฟ้ม แฟ้ม 7 d
การบันทึกข้อมูล 43 แฟ้ม แฟ้ม 7 dณัชพล สีภูงา
 
ออราเคิล (Oracle) Statspack (ติดตั้งและใช้งานเบื้องต้น)
ออราเคิล (Oracle) Statspack (ติดตั้งและใช้งานเบื้องต้น)ออราเคิล (Oracle) Statspack (ติดตั้งและใช้งานเบื้องต้น)
ออราเคิล (Oracle) Statspack (ติดตั้งและใช้งานเบื้องต้น)N/A
 
PowerPoint การสร้างเว็บ
PowerPoint การสร้างเว็บPowerPoint การสร้างเว็บ
PowerPoint การสร้างเว็บpatiyachat
 
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssการใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssthaweesak mahan
 
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูลLesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูลErrorrrrr
 
การบันทึกข้อมูลใน hostxp/hosxp_pcu ประเภท PP เพื่อส่งออก 50 แฟ้ม
การบันทึกข้อมูลใน hostxp/hosxp_pcu ประเภท PP เพื่อส่งออก 50 แฟ้มการบันทึกข้อมูลใน hostxp/hosxp_pcu ประเภท PP เพื่อส่งออก 50 แฟ้ม
การบันทึกข้อมูลใน hostxp/hosxp_pcu ประเภท PP เพื่อส่งออก 50 แฟ้มร้าน เคโอ สเต็กและกาแฟสด
 
คู่มือSpss
คู่มือSpssคู่มือSpss
คู่มือSpsskuankaaw
 
Apex thaibook 01_draft
Apex thaibook 01_draftApex thaibook 01_draft
Apex thaibook 01_draftN/A
 
การตรวจเช็คฐานข้อมูล Oracle v1 draft
การตรวจเช็คฐานข้อมูล Oracle v1 draftการตรวจเช็คฐานข้อมูล Oracle v1 draft
การตรวจเช็คฐานข้อมูล Oracle v1 draftN/A
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นtechno UCH
 
Connecting Hadoop and Oracle
Connecting Hadoop and OracleConnecting Hadoop and Oracle
Connecting Hadoop and OracleTanel Poder
 
Oracle XML Publisher / BI Publisher
Oracle XML Publisher / BI PublisherOracle XML Publisher / BI Publisher
Oracle XML Publisher / BI PublisherEdi Yanto
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpsskaew393
 

Viewers also liked (20)

การบันทึกข้อมูล 43 แฟ้ม แฟ้ม 7 d
การบันทึกข้อมูล 43 แฟ้ม แฟ้ม 7 dการบันทึกข้อมูล 43 แฟ้ม แฟ้ม 7 d
การบันทึกข้อมูล 43 แฟ้ม แฟ้ม 7 d
 
EbookPictureFormat
EbookPictureFormatEbookPictureFormat
EbookPictureFormat
 
1 system setting&กำหนดรหัสมาตรฐาน
1 system setting&กำหนดรหัสมาตรฐาน1 system setting&กำหนดรหัสมาตรฐาน
1 system setting&กำหนดรหัสมาตรฐาน
 
ออราเคิล (Oracle) Statspack (ติดตั้งและใช้งานเบื้องต้น)
ออราเคิล (Oracle) Statspack (ติดตั้งและใช้งานเบื้องต้น)ออราเคิล (Oracle) Statspack (ติดตั้งและใช้งานเบื้องต้น)
ออราเคิล (Oracle) Statspack (ติดตั้งและใช้งานเบื้องต้น)
 
lesson3 JSP
lesson3 JSPlesson3 JSP
lesson3 JSP
 
PowerPoint การสร้างเว็บ
PowerPoint การสร้างเว็บPowerPoint การสร้างเว็บ
PowerPoint การสร้างเว็บ
 
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssการใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
 
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูลLesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
 
php5new
php5newphp5new
php5new
 
การบันทึกข้อมูลใน hostxp/hosxp_pcu ประเภท PP เพื่อส่งออก 50 แฟ้ม
การบันทึกข้อมูลใน hostxp/hosxp_pcu ประเภท PP เพื่อส่งออก 50 แฟ้มการบันทึกข้อมูลใน hostxp/hosxp_pcu ประเภท PP เพื่อส่งออก 50 แฟ้ม
การบันทึกข้อมูลใน hostxp/hosxp_pcu ประเภท PP เพื่อส่งออก 50 แฟ้ม
 
คู่มือSpss
คู่มือSpssคู่มือSpss
คู่มือSpss
 
Spss jan2010
Spss jan2010Spss jan2010
Spss jan2010
 
Sql ta2
Sql ta2Sql ta2
Sql ta2
 
Apex thaibook 01_draft
Apex thaibook 01_draftApex thaibook 01_draft
Apex thaibook 01_draft
 
การตรวจเช็คฐานข้อมูล Oracle v1 draft
การตรวจเช็คฐานข้อมูล Oracle v1 draftการตรวจเช็คฐานข้อมูล Oracle v1 draft
การตรวจเช็คฐานข้อมูล Oracle v1 draft
 
Database Tuning for e-Learning
Database Tuning for e-LearningDatabase Tuning for e-Learning
Database Tuning for e-Learning
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
 
Connecting Hadoop and Oracle
Connecting Hadoop and OracleConnecting Hadoop and Oracle
Connecting Hadoop and Oracle
 
Oracle XML Publisher / BI Publisher
Oracle XML Publisher / BI PublisherOracle XML Publisher / BI Publisher
Oracle XML Publisher / BI Publisher
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 

การใช้งานการใช้งานคำสั่ง Sql

  • 2. SQL เป็นภาษาคอมพิวเตอร์สาหรับทางานกับชุดข้อมูลและ ความสัมพันธ์ระหว่างชุดข้อมูลต่างๆ โปรแกรมฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ เช่น Microsoft Office Access จะใช้ SQL ในการทางานกับข้อมูล SQL เป็นภาษาที่ ผู้ใช้สามารถอ่านและทาความเข้าใจได้ไม่ยาก แม้แต่กับผู้ใช้ระดับเริ่มต้น ซึ่งต่าง จากภาษาคอมพิวเตอร์อื่นๆ SQL เป็นมาตรฐานระดับสากลที่หน่วยงานกาหนด มาตรฐาน เช่นISO และ ANSI ให้การรับรอง เช่นเดียวกับภาษาคอมพิวเตอร์อื่นๆ Microsoft Office Access 2007
  • 3. คาสั่ง SQL พื้นฐาน: SELECT, FROM และ WHERE คาสั่ง SQL มีรูปแบบทั่วไป ดังนี้ SELECT field_1 FROM table_1 WHERE criterion_1 ; หมายเหตุ -Access จะไม่สนใจการแบ่งบรรทัดในคาสั่ง SQL อย่างไรก็ตาม ควรใช้ส่วนคาสั่งหนึ่ง คาสั่งต่อหนึ่งบรรทัด เพื่อช่วยให้ตัวคุณเองและผู้ใช้คนอื่นๆ อ่านคาสั่ง SQL ได้ง่ายขึ้น -คาสั่ง SELECT ทุกคาสั่งจะลงท้ายด้วยเครื่องหมายอัฒภาค (;) เครื่องหมายอัฒภาคอาจ ปรากฏอยู่ที่ท้ายส่วนคาสั่งส่วนสุดท้าย หรือที่บรรทัดใหม่ท้ายคาสั่ง SQL ก็ได้
  • 4. ตัวอย่าง ลักษณะของคาสั่ง SQL สาหรับแบบสอบถามแบบใช้เลือกข้อมูลอย่างง่ายใน Access คาสั่ง SQL ในตัวอย่างนี้แปลความได้ว่า "เลือกข้อมูลที่เก็บอยู่ในเขตข้อมูลที่ชื่อ E-mail Address และ Company จากตารางที่ชื่อ Contacts เฉพาะระเบียนที่มีค่าของเขตข้อมูล City เป็น Seattle"
  • 5. สรุปได้ดังนี้ ส่วนคาสั่ง SELECT ประกอบด้วยตัวดาเนินการ SELECT และตามด้วยตัวระบุ [E-mail Address], Company ถ้าตัวระบุมีเว้นวรรคหรืออักขระพิเศษ (เช่น "E-mail Address") จะต้องอยู่ในเครื่องหมายวงเล็บ เหลี่ยม ไม่จาเป็นต้องระบุว่าตารางใดมีเขตข้อมูลนั้นและไม่สามารถระบุเกณฑ์ใดๆในการเลือก ข้อมูลเข้ามารวมไว้ได้และปรากฏอยู่หน้าส่วนคาสั่ง FROM ในคาสั่ง SELECT เสมอ ส่วนคาสั่ง FROM ประกอบด้วยตัวดาเนินการ(FROM) ตามด้วยตัวระบุ (Contacts) คาสั่งนี้ไม่ได้แสดงเขตข้อมูลที่ ถูกเลือก ส่วนคาสั่ง WHERE ประกอบด้วยตัวดาเนินการ(WHERE) ตามด้วยนิพจน์ (City="Seattle")
  • 6. การเรียงลาดับผลลัพธ์: ORDER BY ใน Access คุณสามารถเรียงลาดับผลลัพธ์แบบสอบถามในแผ่นข้อมูลได้ เช่นเดียวกับใน Microsoft Office Excel รวมทั้งสามารถระบุในแบบสอบถามเกี่ยวกับวิธีที่ คุณต้องการเรียงลาดับผลลัพธ์เมื่อเรียกใช้แบบสอบถามได้ โดยใช้ส่วนคาสั่ง ORDER BY ถ้าคุณใช้ส่วนคาสั่ง ORDER BY ส่วนคาสั่งนี้จะอยู่เป็นลาดับสุดท้ายในคาสั่ง SQL
  • 7. หมายเหตุ ตามค่าเริ่มต้นแล้ว Access จะเรียงลาดับค่าจากน้อยไปหามาก (A-Z หรือน้อย ที่สุดไปหามากที่สุด) สามารถใช้คาสาคัญ DESC เพื่อเรียงลาดับค่าจากมากไปหาน้อย แทนได้ ตัวอย่างเช่น สมมติว่าคุณต้องการเรียงลาดับผลลัพธ์ตามค่าของเขตข้อมูล Company จากมากไปหาน้อยก่อน ในกรณีที่มีระเบียนที่มีค่า Company ซ้ากัน แล้วจึง เรียงลาดับตามค่าในเขตข้อมูล E-mail Address จากน้อยไปหามาก ส่วนคาสั่ง ORDER BY จะมีลักษณะดังนี้ ORDER BY Company DESC, [E-mail Address]
  • 8. การทางานกับข้อมูลสรุป: GROUP BY และ HAVING ส่วนคาสั่ง GROUP BY จะอยู่ต่อจากคาสั่ง WHERE หรือต่อจากส่วนคาสั่ง FROM กรณีถ้าไม่มีส่วนคาสั่ง WHERE โดยคาสั่ง GROUP BY นี้จะแสดงเขตข้อมูล ตามที่ปรากฏในส่วนคาสั่ง SELECT ตัวอย่างเช่น ถ้าส่วนคาสั่ง SELECT ใช้ฟังก์ชันการรวมกับ [E-mail Address] แต่ไม่ได้ใช้กับ Company ส่วนคาสั่ง GROUP BY ของคุณจะมีลักษณะดังนี้ GROUP BY Company บางครั้ง เมื่อต้องการทางานกับข้อมูลสรุป เช่น ยอดขายรวมในหนึ่งเดือน หรือสินค้าที่มีราคาแพงที่สุดในสินค้าคงคลัง เราสามารถใช้ฟังก์ชันการรวมกับเขต ข้อมูลในส่วนคาสั่ง SELECT ได้ตัวอย่างเช่น ถ้าต้องการให้แบบสอบถามแสดง จานวนที่อยู่อีเมลของแต่ละบริษัท ส่วนคาสั่ง SELECT ของคุณอาจมีลักษณะดังนี้ SELECT COUNT([E-mail Address]), Company
  • 9. ส่วนคาสั่ง HAVING ถ้าต้องการใช้เกณฑ์เพื่อจากัดผลลัพธ์ แต่เขตข้อมูลที่ ต้องการใช้กับเกณฑ์นั้นถูกใช้ในฟังก์ชันการรวมแล้ว จะไม่สามารถใช้คาสั่ง WHERE ได้ แต่สามารถใช้ส่วนคาสั่ง HAVING แทนได้ คาสั่ง HAVING นั้นทางานคล้ายกับส่วนคาสั่ง WHERE แต่ใช้กับข้อมูลการ รวม ตัวอย่างเช่น สมมติว่าใช้ฟังก์ชัน AVG (ซึ่งจะคานวณหาค่าเฉลี่ย) กับเขตข้อมูลแรก ในส่วนคาสั่ง SELECT ของคุณ SELECT COUNT([E-mail Address]), Company ถ้าต้องการให้แบบสอบถามจากัดผลลัพธ์ตามค่าของฟังก์ชัน COUNT จะไม่ สามารถใช้เกณฑ์กับเขตข้อมูลดังกล่าวในคาสั่ง WHERE ได้แต่สามารถใช้เกณฑ์นั้นใน ส่วนคาสั่ง HAVING แทนได้ ตัวอย่างเช่น ถ้าต้องการให้แบบสอบถามส่งกลับเพียงแถวที่มีที่อยู่อีเมล์ที่ เกี่ยวข้องกับบริษัทหนึ่งมากกว่าหนึ่งรายการ ส่วนคาสั่ง HAVING อาจมีลักษณะดังนี้ HAVING COUNT([E-mail Address])>1
  • 10.
  • 12. จัดทาโดย นาย พีระชัย ลอยไสว เลขที่ 11 นาย ศิวกร ไพรวัลย์ เลขที่ 12 นางสาวกัญญาพัชร เจนกิจการ เลขที่ 17 นางสาวจิณณพัต เรือนงาม เลขที่ 30 นางสาวพชรพรรณ กาญจนไตรรัตน์ เลขที่ 31 นางสาวนิชา สนชัย เลขที่ 32