SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
NANOTECHNOLOGY 
ผ้าคลุมล่องหน หายตัวได้!? 
ไอสไตน์กล่าวไว้ว่า "จินตนาการสา คัญกว่าความรู้" ความก้าวหน้า 
ทางเทคโนโลยีมักเกิดจากจินตนาการและความใฝ่ฝันในเรื่องต่างๆ 
ความฝันที่อยากจะบินเหมือนนกเป็นแรงบันดาลใจให้เราสร้างเครื่องบิน 
ความฝันที่จะท่องไปในอวกาศ ความฝันที่ย้อนเวลา ฯลฯ
จินตนาการมักนา หน้าความรู้ไปก่อนเสมอ ต้องใช้เวลาสักพัก กว่าที่จะ 
สร้างองค์ความรู้ต่างๆ เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีให้ได้ตามที่จินตนาการไว้ 
โทรศัพท์มือถือปรากฏอยู่ในนิยายวิทยาศาสตร์หลายสิบปี กว่าความรู้ 
ทางวิทยาศาสตร์จะไล่ตามจินตนาการได้ทัน สามารถประดิษฐ์โทรศัพท์มือถือ 
ในชีวิตจริงได้ 
และเมื่อต้นปี 2554 นักวิทยาศาสตร์ได้สร้างสิ่งประดิษฐ์ที่ทา ให้เรา 
ขยับเข้าใกล้ความฝันไปอีกกา้ว ความฝันที่จะล่องหนหายตัวไปอย่างไร้ร่องรอย 
ไม่รู้ว่าด้วยเหตุผลอันใด ดูเหมือนมนุษย์จะอยากล่องหนหายตัวได้เหลือเกิน 
บางทีอาจเป็นเพราะการที่ไม่มีใครมองเห็นเราคงทา ให้รู้สึกเป็นอิสระ 
สามารถทา อะไรก็ได้และเป็นตัวของตัวเองได้อย่างเต็มที่ 
ในนวนิยายและภาพยนตร์จึงมีจินตนาการเกยี่วการล่องหนมากมาย 
ตั้งแต่ผ้าคลุมล่องหนของวิเศษในเรื่องแฮรี่ พอตเตอร์ อุปกรณ์ไฮเทคต่างๆ 
รวมถึงยาล่องหน
จะเป็นไปได้หรือไม่ที่จะทาให้วัตถุล่องหนไปได้จริง ? 
นักฟิสิกส์ทฤษฎีเปิดเผย พิมพ์เขียว สา หรับสร้างผ้าล่องหน เหมือนที่เห็น 
พ่อมดน้อย แฮรี่ พอตเตอร์ สวมใส่ ทว่ามันไม่ใช่ผ้า แต่เป็นวัสดุพิเศษที่เรียกว่า 
“metamaterial” ที่มีคุณสมบัติทางแม่เหล็กไฟฟ้าที่ไม่ธรรมดา. ตามคา อธิบาย 
โดยนักวิจัย ลา แสงที่ตกลงบนวัสดุพิเศษนี้จะเลี้ยวอ้อมและพุ่งออกไปอีกด้าน 
ในทิศทางเดิม กับตอนที่เข้ามา ถึงแม้งานวิจัยนี้จะยังเป็นแค่ทฤษฎี นักวิจัยเชื่อว่า 
วัสดุที่ล่องหนต่อคลื่นวิทยุน่าจะถูกผลิตขึ้นได้ภายใน 5 ปี
วัสดุอันประกอบกันขึ้นด้วยก้านเล็ก ๆ กลุ่มของวงแหวนโลหะ และสิ่งอื่น 
ที่คล้าย ๆ กัน ที่เรียกว่า เมททะแมทีเรียล (metamaterial) ถูกสร้างขึ้นครั้งแรก 
โดย เดวิด สมิธ (David Smith) ซึ่งขณะนี้อยู่ที่มหาวิทยาลัย Duke University 
มลรัฐนอร์ธแคโลไรนา สหรัฐอเมริกา และผู้ร่วมงานของเขาในปี ค.ศ. 2000 
สิ่งที่ทา ให้มันไม่ธรรมดาก็คือการที่มันมีดัชนีหักเหเป็นลบ นั่นหมายถึง 
มันสามารถเบนแสงในทิศทางตรงกันข้ามกับวัสดุธรรมดาทั่วไป นอกจากนี้ 
คุณสมบัติทางแม่เหล็กไฟฟ้าของมันยังสามารถปรับแต่งตามต้องการด้วย 
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างในระดับนาโน 
ตอนนี้ นักวิจัย จอห์น เพนดรี (John Pendry) แห่งมหาวิทยาลัย 
Imperial College ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ซี่งทา งานร่วมกับสมิธ และ 
เดวิด ชูริก (David schurig) แห่งมหาวิทยาลัย Duke University ได้แสดงให้เห็นว่า 
เมททะแมทีเรียล 
สามารถนา แสงเดินทางไปรอบๆช่องโพรงภายในเมททะแมทีเรียลได้ 
ดังนั้นวัตถุใดก็ตามที่วางอยู่ในบริเวณที่เมททะแมทีเรียลห่อหุ้มอยู่นี้ก็จะถูก 
“ซ่อน”ไว้ เพราะแสงไม่สามารถส่องถึงวัตถุนั้นได้ จะเดินทางอ้อมผ่านไปเท่านั้น 
และเมื่อคุณมองไปที่มันจากอีกด้านของทางที่แสงเข้ามา 
ก็จะมองเห็นเหมือนกบัว่าวัตถุไม่ได้อยู่ตรงนั้น 
ด้วยคุณสมบัติพิเศษของเมททะแมทีเรียล ทา ให้มีปรากฏการณ์ที่น่าอัศจรรย์ใจ 
คือมันทา ให้คลื่นแสงเดินทางในลักษณะเหมือน ไหลผ่าน รอบ ๆ วัตถุไปใน
แบบเดียวกับการไหลผ่านของน้า “ในแง่นี้ น้า มีพฤติกรรมที่แตกต่างไปจาก 
แสงสักหน่อย ถ้าคุณวางดินสอในน้า ที่กา ลังเคลื่อนไหลอยู่ 
น้า ก็จะไหลตามธรรมชาติของมันผ่านไปรอบ ๆ ดินสอนั้น และจะกลับมารวมกัน” 
เพนดรีกล่าว “ถ้าคุณมาดูตอนน้า ไหลผ่านดินสอไปแล้ว 
คุณก็จะไม่รู้เลยว่ามีการวางดินสอลงไป เพราะน้า ได้ไหลในลักษณะที่เรียบ ๆ 
เหมือนเดิมแล้ว แต่ แน่นอน แสงไม่ได้มีพฤติกรรมแบบเดียวกบัน้า 
มันจะกระทบกับดินสอและกระเจิงไป ดังนั้นคุณจึงต้องเอาวัสดุพิเศษมาคลุมรอบ ๆ 
ดินสอให้แสงไหลผ่านไปรอบ ๆ เหมือนน้า 
ในแบบที่ลา แสงโค้งผ่านไปอย่างเป็นระเบียบสวยงาม” 
ในการศึกษานี้ ได้วางปัญหาว่า เมื่อมีโพรงอยู่ในวัสดุชนิดหนึ่ง 
แล้วคา นวณด้วยสมการของแม็กซ์เวลล์ (Maxwell’s equations) 
เพื่อหาว่าคุณสมบัติอะไรของวัสดุที่ห่อหุ้มโพรงอยู่นั้นจะทา ให้แสงเบนผ่านไปรอบ 
ๆ โพรง นักวิจัยพบว่า เพื่อให้สิ่งนี้เกิดขึ้น 
จา เป็นจะต้องออกแบบให้วัสดุมีคุณสมบัติพิเศษที่ทา ให้แสงเคลื่อนผ่านในวัสดุนั้นไ 
ด้ช้า (พูดในเชิงสัมพันธ์กัน) ในตา แหน่งที่ไกลจากโพรง 
และเร็วกว่าในตา แหน่งที่ใกล้โพรง (จริง ๆ แล้ว 
แสงอาจจะต้องเคลื่อนผ่านด้วยความเร็วเป็นอนันต์ 
ขณะเดินทางเฉียดพื้นผิวของโพรง 
ถึงแม้มันอาจจะขัดกบัสัมพัทธภาพถ้าหากแสงนั้นอยู่ภายในช่วงความถี่ที่แน่นอน)
เมททะแมทีเรียลน่าจะทา ให้ปรากฏการณ์ทางแสงแบบนี้เกิดขึ้นได้ 
เพราะเราสามารถออกแบบให้มันมีดัชนีหักเหที่เปลี่ยนแปลงไปจากจุดหนึ่งไปอีกจุด 
หนึ่งได้ 
ซึ่งนั่นหมายถึงความเร็วของแสงในเมททะแมทีเรียลจะเปลี่ยนแปลงไปจากจุดหนึ่งไ 
ปอีกจุดหนึ่งนั่นเอง 
อุลฟ์ เลออนฮาร์ดท (Ulf Leonhardt) แห่งมหาวิทยาลัย the University of 
St Andrews ในประเทศอังกฤษ 
ซึ่งทา งานอิสระจากกลุ่มของเพนดรีก็ได้ข้อสรุปที่ตรงกัน 
เขาได้บรรยายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นกับแสงนี้ว่าเป็นเหมือน “มิราจ (mirage)” 
(เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดจากการที่มีอากาศร้อนที่แตกต่างกันไปเป็นชั้น ๆ จาก 
ที่พื้นขึ้นไป อันทา ให้แต่ละชั้นมีดัชนีหักเหที่แตกต่างกัน 
เป็นผลให้แสงจากมุมที่พอเหมาะจากบริเวณเหนือพื้นค่อย ๆ 
เบนในลักษณะคล้ายกับสะท้อนเข้าตาของ ผู้สังเกตในอีกจุดหนึ่ง 
อาจเกิดขึ้นได้ในหลาย ๆ แห่ง เช่นในทะเลทราย หรือบริเวณที่พื้นถนนร้อน) 
เขาเน้นว่า “สิ่งที่พยายามทา คือการนา แสงให้เดินทางไปรอบ ๆ วัตถุ 
แต่สิ่งสา คัญก็คือต้องทา ให้เกิดการเบนของแสงไปในลักษณะที่ 
เมื่อแสงพุ่งออกจากวัตถุแล้ว มันมีทิศทางเหมือนเดิมจริง ๆ กับเมื่อตอนเข้ามา 
ทา ให้คุณถูกลวงตาว่าไม่มีอะไรอยู่ตรงนั้นเลย”
ถึงแม้ผลใหม่ที่ได้นี้จะยังเป็นแค่การคา นวณ 
นักวิจัยหวังว่ามันน่าจะเป็นไปได้ที่นักวิจัยคนอื่นจะสร้างเมททะแมทีเรียลที่สามารถ 
ทา ให้มีการเปลี่ยนแปลงความเร็วของแสงที่จุดต่าง ๆ ขณะเคลื่อนผ่านได้ตามต้องการ 
มันน่าจะไม่ยากเพราะนักฟิสิกส์ตอนนี้ก็รู้แล้วว่าจะออกแบบเมททะแมทีเรียลอย่างไร 
ให้มีคุณสมบัติอย่างนั้นสา หรับคลื่นวิทยุ จริง ๆ แล้ว 
อุปกรณ์สา หรับการล่องหนในช่วงสเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าช่วงนี้ 
น่าจะปรากฏสู่สายตาได้ภายในแค่ห้าปี ทีมงานของเพนดรีกล่าว 
อุปกรณ์แบบนั้นอาจจะมีการประยุกต์ใช้ได้หลากหลายทั้งในการทหารและ 
การสื่อสารไร้สาย 
“งานวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าอุปกรณ์ทางแม่เหล็กไฟฟ้าหรือทางทัศนศาสตร์จะสาม 
ารถทา อะไรได้มากมายเพียงใด 
หากคุณปรับเปลี่ยนคุณสมบัติในทางแม่เหล็กไฟฟ้าและทางแสงของวัสดุได้ตามต้อง 
การอย่างไม่จา กัด” กล่าวโดยเลออนฮาร์ดท “แต่แน่นอนว่าในทางปฏิบัติ 
มันย่อมมีข้อจา กัด งานวิจัยนี้น่าจะ จุดประกายให้มีงานศึกษาใหม่ ๆ 
เกี่ยวกับเมทะแมทีเรียลออกมา” 
ที่น่าสนใจ การคา นวณในงานนี้ได้รับอิทธิพลจากทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป 
ในเรื่องโครงสร้างทางเรขาคณิตของอวกาศที่โค้ง “ในที่นี้
เรามีตัวอย่างว่าแนวคิดของสัมพัทธภาพทั่วไปจะใส่เข้าไปในเรื่องของการออกแบบท 
างทัศนศาสตร์ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และนาโนเทคโนโลยีได้ที่ตรงไหน” 
กล่าวโดยเลออนฮาร์ดท “มันน่าประหลาดใจมั้ยล่ะ” 
ชูริกก็ตื่นเต้นกับผลที่ได้นี้พอ ๆ กัน 
“เรามีกระบวนทัศน์ใหม่ในการออกแบบอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกบัคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไ 
ด้” เขากล่าว “มันแทบจะจินตนาการ ไม่ถูกเลยถึงการประยุกต์ต่อ ๆ 
ไปที่จะแตกหน่อจากงานนี้” 
อนึ่ง ก่อนหน้านี้ทีมนักวิทยาศาสตร์หลาย ๆ 
ทีมได้เสนอแนวคิดสา หรับสร้างอุปกรณ์ล่องหนไปต่างๆ กัน 
อย่างเช่นมีการเสนอในทางทฤษฎีว่าให้ใช้วัสดุที่รู้จักกันในชื่อ ซูเปอร์เลนส์ 
(superlens) ในการหักล้างแสงที่กระเจิงออกจากวัตถุ 
ปัจจุบันวิธีการนี้ยังทา ให้วัตถุล่องหนได้เมื่อมองจากบางมุมมองเท่านั้น 
แต่ในอนาคตเมื่อเทคโนโลยีนี้ถูกพัฒนาจนมีประสิทธิภาพสูงขึ้น มีขนาดเล็กลง 
ตอนนั้นเราอาจจะมีผ้าคลุมล่องหนใช้จริงๆ ก็เป็นได้ 
แต่อย่างไรก็ตามเทคโนโลยีล่องหนแบบนี้ยังมีข้อจา กัดที่สา คัญอีกประการหนึ่ง 
นอกเหนือจากที่กล่าวมา คือ หากเรานา อุปกรณ์ดังกล่าวมาคลุมตัวไว้
เนื่องจากแสงที่ส่องมายังอุปกรณ์จะถูกเลี้ยวเบนออกไปหมด 
ทา ให้แสงส่องมาไม่ถึงตาเรา หมายความว่า ไม่เพียงคนอื่นจะมองไม่เรา 
เราก็จะมองไม่เห็นคนอื่นด้วยเช่นกัน 
วิทยาศาสตร์เปลี่ยนจินตนาการให้กลายเป็นความจริงขึ้นมา ความรู้ค่อยๆ 
ลดช่องว่างระหว่างความใฝ่ฝันกับความจริง 
เทคโนโลยีล่องหนมีแนโน้มว่าจะนา มาใช้จริงได้ ในไม่ช้า 
แต่สิ่งที่สา คัญกว่าคือจะใช้งานอย่างไร 
อะไรจะเกิดขึ้นถ้าคนรู้สึกว่าทา อะไรก็ไม่มีใครเห็น 
จะทา อะไรก็ได้ไม่ต้องรับผิดชอบ เป็นเรื่องที่สังคมจะต้องปรับตัวตามให้ทัน 
และร่วมกันใช้เทคโนโลยีนี้อย่างสร้างสรรค์
บรรณานุกรม 
http://www.vcharkarn.com/varticle/42439 
http://www.rc-plus.net/board/index.php?topic=3054.0
NanotechnologyGE105

More Related Content

Featured

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by HubspotMarius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

NanotechnologyGE105

  • 1. NANOTECHNOLOGY ผ้าคลุมล่องหน หายตัวได้!? ไอสไตน์กล่าวไว้ว่า "จินตนาการสา คัญกว่าความรู้" ความก้าวหน้า ทางเทคโนโลยีมักเกิดจากจินตนาการและความใฝ่ฝันในเรื่องต่างๆ ความฝันที่อยากจะบินเหมือนนกเป็นแรงบันดาลใจให้เราสร้างเครื่องบิน ความฝันที่จะท่องไปในอวกาศ ความฝันที่ย้อนเวลา ฯลฯ
  • 2. จินตนาการมักนา หน้าความรู้ไปก่อนเสมอ ต้องใช้เวลาสักพัก กว่าที่จะ สร้างองค์ความรู้ต่างๆ เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีให้ได้ตามที่จินตนาการไว้ โทรศัพท์มือถือปรากฏอยู่ในนิยายวิทยาศาสตร์หลายสิบปี กว่าความรู้ ทางวิทยาศาสตร์จะไล่ตามจินตนาการได้ทัน สามารถประดิษฐ์โทรศัพท์มือถือ ในชีวิตจริงได้ และเมื่อต้นปี 2554 นักวิทยาศาสตร์ได้สร้างสิ่งประดิษฐ์ที่ทา ให้เรา ขยับเข้าใกล้ความฝันไปอีกกา้ว ความฝันที่จะล่องหนหายตัวไปอย่างไร้ร่องรอย ไม่รู้ว่าด้วยเหตุผลอันใด ดูเหมือนมนุษย์จะอยากล่องหนหายตัวได้เหลือเกิน บางทีอาจเป็นเพราะการที่ไม่มีใครมองเห็นเราคงทา ให้รู้สึกเป็นอิสระ สามารถทา อะไรก็ได้และเป็นตัวของตัวเองได้อย่างเต็มที่ ในนวนิยายและภาพยนตร์จึงมีจินตนาการเกยี่วการล่องหนมากมาย ตั้งแต่ผ้าคลุมล่องหนของวิเศษในเรื่องแฮรี่ พอตเตอร์ อุปกรณ์ไฮเทคต่างๆ รวมถึงยาล่องหน
  • 3. จะเป็นไปได้หรือไม่ที่จะทาให้วัตถุล่องหนไปได้จริง ? นักฟิสิกส์ทฤษฎีเปิดเผย พิมพ์เขียว สา หรับสร้างผ้าล่องหน เหมือนที่เห็น พ่อมดน้อย แฮรี่ พอตเตอร์ สวมใส่ ทว่ามันไม่ใช่ผ้า แต่เป็นวัสดุพิเศษที่เรียกว่า “metamaterial” ที่มีคุณสมบัติทางแม่เหล็กไฟฟ้าที่ไม่ธรรมดา. ตามคา อธิบาย โดยนักวิจัย ลา แสงที่ตกลงบนวัสดุพิเศษนี้จะเลี้ยวอ้อมและพุ่งออกไปอีกด้าน ในทิศทางเดิม กับตอนที่เข้ามา ถึงแม้งานวิจัยนี้จะยังเป็นแค่ทฤษฎี นักวิจัยเชื่อว่า วัสดุที่ล่องหนต่อคลื่นวิทยุน่าจะถูกผลิตขึ้นได้ภายใน 5 ปี
  • 4. วัสดุอันประกอบกันขึ้นด้วยก้านเล็ก ๆ กลุ่มของวงแหวนโลหะ และสิ่งอื่น ที่คล้าย ๆ กัน ที่เรียกว่า เมททะแมทีเรียล (metamaterial) ถูกสร้างขึ้นครั้งแรก โดย เดวิด สมิธ (David Smith) ซึ่งขณะนี้อยู่ที่มหาวิทยาลัย Duke University มลรัฐนอร์ธแคโลไรนา สหรัฐอเมริกา และผู้ร่วมงานของเขาในปี ค.ศ. 2000 สิ่งที่ทา ให้มันไม่ธรรมดาก็คือการที่มันมีดัชนีหักเหเป็นลบ นั่นหมายถึง มันสามารถเบนแสงในทิศทางตรงกันข้ามกับวัสดุธรรมดาทั่วไป นอกจากนี้ คุณสมบัติทางแม่เหล็กไฟฟ้าของมันยังสามารถปรับแต่งตามต้องการด้วย การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างในระดับนาโน ตอนนี้ นักวิจัย จอห์น เพนดรี (John Pendry) แห่งมหาวิทยาลัย Imperial College ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ซี่งทา งานร่วมกับสมิธ และ เดวิด ชูริก (David schurig) แห่งมหาวิทยาลัย Duke University ได้แสดงให้เห็นว่า เมททะแมทีเรียล สามารถนา แสงเดินทางไปรอบๆช่องโพรงภายในเมททะแมทีเรียลได้ ดังนั้นวัตถุใดก็ตามที่วางอยู่ในบริเวณที่เมททะแมทีเรียลห่อหุ้มอยู่นี้ก็จะถูก “ซ่อน”ไว้ เพราะแสงไม่สามารถส่องถึงวัตถุนั้นได้ จะเดินทางอ้อมผ่านไปเท่านั้น และเมื่อคุณมองไปที่มันจากอีกด้านของทางที่แสงเข้ามา ก็จะมองเห็นเหมือนกบัว่าวัตถุไม่ได้อยู่ตรงนั้น ด้วยคุณสมบัติพิเศษของเมททะแมทีเรียล ทา ให้มีปรากฏการณ์ที่น่าอัศจรรย์ใจ คือมันทา ให้คลื่นแสงเดินทางในลักษณะเหมือน ไหลผ่าน รอบ ๆ วัตถุไปใน
  • 5. แบบเดียวกับการไหลผ่านของน้า “ในแง่นี้ น้า มีพฤติกรรมที่แตกต่างไปจาก แสงสักหน่อย ถ้าคุณวางดินสอในน้า ที่กา ลังเคลื่อนไหลอยู่ น้า ก็จะไหลตามธรรมชาติของมันผ่านไปรอบ ๆ ดินสอนั้น และจะกลับมารวมกัน” เพนดรีกล่าว “ถ้าคุณมาดูตอนน้า ไหลผ่านดินสอไปแล้ว คุณก็จะไม่รู้เลยว่ามีการวางดินสอลงไป เพราะน้า ได้ไหลในลักษณะที่เรียบ ๆ เหมือนเดิมแล้ว แต่ แน่นอน แสงไม่ได้มีพฤติกรรมแบบเดียวกบัน้า มันจะกระทบกับดินสอและกระเจิงไป ดังนั้นคุณจึงต้องเอาวัสดุพิเศษมาคลุมรอบ ๆ ดินสอให้แสงไหลผ่านไปรอบ ๆ เหมือนน้า ในแบบที่ลา แสงโค้งผ่านไปอย่างเป็นระเบียบสวยงาม” ในการศึกษานี้ ได้วางปัญหาว่า เมื่อมีโพรงอยู่ในวัสดุชนิดหนึ่ง แล้วคา นวณด้วยสมการของแม็กซ์เวลล์ (Maxwell’s equations) เพื่อหาว่าคุณสมบัติอะไรของวัสดุที่ห่อหุ้มโพรงอยู่นั้นจะทา ให้แสงเบนผ่านไปรอบ ๆ โพรง นักวิจัยพบว่า เพื่อให้สิ่งนี้เกิดขึ้น จา เป็นจะต้องออกแบบให้วัสดุมีคุณสมบัติพิเศษที่ทา ให้แสงเคลื่อนผ่านในวัสดุนั้นไ ด้ช้า (พูดในเชิงสัมพันธ์กัน) ในตา แหน่งที่ไกลจากโพรง และเร็วกว่าในตา แหน่งที่ใกล้โพรง (จริง ๆ แล้ว แสงอาจจะต้องเคลื่อนผ่านด้วยความเร็วเป็นอนันต์ ขณะเดินทางเฉียดพื้นผิวของโพรง ถึงแม้มันอาจจะขัดกบัสัมพัทธภาพถ้าหากแสงนั้นอยู่ภายในช่วงความถี่ที่แน่นอน)
  • 6. เมททะแมทีเรียลน่าจะทา ให้ปรากฏการณ์ทางแสงแบบนี้เกิดขึ้นได้ เพราะเราสามารถออกแบบให้มันมีดัชนีหักเหที่เปลี่ยนแปลงไปจากจุดหนึ่งไปอีกจุด หนึ่งได้ ซึ่งนั่นหมายถึงความเร็วของแสงในเมททะแมทีเรียลจะเปลี่ยนแปลงไปจากจุดหนึ่งไ ปอีกจุดหนึ่งนั่นเอง อุลฟ์ เลออนฮาร์ดท (Ulf Leonhardt) แห่งมหาวิทยาลัย the University of St Andrews ในประเทศอังกฤษ ซึ่งทา งานอิสระจากกลุ่มของเพนดรีก็ได้ข้อสรุปที่ตรงกัน เขาได้บรรยายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นกับแสงนี้ว่าเป็นเหมือน “มิราจ (mirage)” (เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดจากการที่มีอากาศร้อนที่แตกต่างกันไปเป็นชั้น ๆ จาก ที่พื้นขึ้นไป อันทา ให้แต่ละชั้นมีดัชนีหักเหที่แตกต่างกัน เป็นผลให้แสงจากมุมที่พอเหมาะจากบริเวณเหนือพื้นค่อย ๆ เบนในลักษณะคล้ายกับสะท้อนเข้าตาของ ผู้สังเกตในอีกจุดหนึ่ง อาจเกิดขึ้นได้ในหลาย ๆ แห่ง เช่นในทะเลทราย หรือบริเวณที่พื้นถนนร้อน) เขาเน้นว่า “สิ่งที่พยายามทา คือการนา แสงให้เดินทางไปรอบ ๆ วัตถุ แต่สิ่งสา คัญก็คือต้องทา ให้เกิดการเบนของแสงไปในลักษณะที่ เมื่อแสงพุ่งออกจากวัตถุแล้ว มันมีทิศทางเหมือนเดิมจริง ๆ กับเมื่อตอนเข้ามา ทา ให้คุณถูกลวงตาว่าไม่มีอะไรอยู่ตรงนั้นเลย”
  • 7. ถึงแม้ผลใหม่ที่ได้นี้จะยังเป็นแค่การคา นวณ นักวิจัยหวังว่ามันน่าจะเป็นไปได้ที่นักวิจัยคนอื่นจะสร้างเมททะแมทีเรียลที่สามารถ ทา ให้มีการเปลี่ยนแปลงความเร็วของแสงที่จุดต่าง ๆ ขณะเคลื่อนผ่านได้ตามต้องการ มันน่าจะไม่ยากเพราะนักฟิสิกส์ตอนนี้ก็รู้แล้วว่าจะออกแบบเมททะแมทีเรียลอย่างไร ให้มีคุณสมบัติอย่างนั้นสา หรับคลื่นวิทยุ จริง ๆ แล้ว อุปกรณ์สา หรับการล่องหนในช่วงสเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าช่วงนี้ น่าจะปรากฏสู่สายตาได้ภายในแค่ห้าปี ทีมงานของเพนดรีกล่าว อุปกรณ์แบบนั้นอาจจะมีการประยุกต์ใช้ได้หลากหลายทั้งในการทหารและ การสื่อสารไร้สาย “งานวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าอุปกรณ์ทางแม่เหล็กไฟฟ้าหรือทางทัศนศาสตร์จะสาม ารถทา อะไรได้มากมายเพียงใด หากคุณปรับเปลี่ยนคุณสมบัติในทางแม่เหล็กไฟฟ้าและทางแสงของวัสดุได้ตามต้อง การอย่างไม่จา กัด” กล่าวโดยเลออนฮาร์ดท “แต่แน่นอนว่าในทางปฏิบัติ มันย่อมมีข้อจา กัด งานวิจัยนี้น่าจะ จุดประกายให้มีงานศึกษาใหม่ ๆ เกี่ยวกับเมทะแมทีเรียลออกมา” ที่น่าสนใจ การคา นวณในงานนี้ได้รับอิทธิพลจากทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป ในเรื่องโครงสร้างทางเรขาคณิตของอวกาศที่โค้ง “ในที่นี้
  • 8. เรามีตัวอย่างว่าแนวคิดของสัมพัทธภาพทั่วไปจะใส่เข้าไปในเรื่องของการออกแบบท างทัศนศาสตร์ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และนาโนเทคโนโลยีได้ที่ตรงไหน” กล่าวโดยเลออนฮาร์ดท “มันน่าประหลาดใจมั้ยล่ะ” ชูริกก็ตื่นเต้นกับผลที่ได้นี้พอ ๆ กัน “เรามีกระบวนทัศน์ใหม่ในการออกแบบอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกบัคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไ ด้” เขากล่าว “มันแทบจะจินตนาการ ไม่ถูกเลยถึงการประยุกต์ต่อ ๆ ไปที่จะแตกหน่อจากงานนี้” อนึ่ง ก่อนหน้านี้ทีมนักวิทยาศาสตร์หลาย ๆ ทีมได้เสนอแนวคิดสา หรับสร้างอุปกรณ์ล่องหนไปต่างๆ กัน อย่างเช่นมีการเสนอในทางทฤษฎีว่าให้ใช้วัสดุที่รู้จักกันในชื่อ ซูเปอร์เลนส์ (superlens) ในการหักล้างแสงที่กระเจิงออกจากวัตถุ ปัจจุบันวิธีการนี้ยังทา ให้วัตถุล่องหนได้เมื่อมองจากบางมุมมองเท่านั้น แต่ในอนาคตเมื่อเทคโนโลยีนี้ถูกพัฒนาจนมีประสิทธิภาพสูงขึ้น มีขนาดเล็กลง ตอนนั้นเราอาจจะมีผ้าคลุมล่องหนใช้จริงๆ ก็เป็นได้ แต่อย่างไรก็ตามเทคโนโลยีล่องหนแบบนี้ยังมีข้อจา กัดที่สา คัญอีกประการหนึ่ง นอกเหนือจากที่กล่าวมา คือ หากเรานา อุปกรณ์ดังกล่าวมาคลุมตัวไว้
  • 9. เนื่องจากแสงที่ส่องมายังอุปกรณ์จะถูกเลี้ยวเบนออกไปหมด ทา ให้แสงส่องมาไม่ถึงตาเรา หมายความว่า ไม่เพียงคนอื่นจะมองไม่เรา เราก็จะมองไม่เห็นคนอื่นด้วยเช่นกัน วิทยาศาสตร์เปลี่ยนจินตนาการให้กลายเป็นความจริงขึ้นมา ความรู้ค่อยๆ ลดช่องว่างระหว่างความใฝ่ฝันกับความจริง เทคโนโลยีล่องหนมีแนโน้มว่าจะนา มาใช้จริงได้ ในไม่ช้า แต่สิ่งที่สา คัญกว่าคือจะใช้งานอย่างไร อะไรจะเกิดขึ้นถ้าคนรู้สึกว่าทา อะไรก็ไม่มีใครเห็น จะทา อะไรก็ได้ไม่ต้องรับผิดชอบ เป็นเรื่องที่สังคมจะต้องปรับตัวตามให้ทัน และร่วมกันใช้เทคโนโลยีนี้อย่างสร้างสรรค์
  • 10.