SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
บทที่ 8
การจัดการอุปกรณ์จัดเก็บ
ข้อมูล
ดิสก์ (Disk)
อุปกรณ์จัดเก็บที่มีใช้งานในปัจจุบันมีมากมายหลายประเภทเช่น
ดิสก์แม่เหล็ก เทปแม่เหล็ก แต่ที่นิยมใช้กันทั่วไป คือ ดิสก์แม่เหล็ก
(Magnetic Disk) ตัวอย่างเช่น ฮาร์ดดิสก์ ฟล๊อปปี้ ดิสก์เป็นต้น
โครงสร้างของดิสก์
การจัดโครงสร้างของดิสก์ มีดังนี้
1. แทร็ก (Track)
เป็นการแบ่งดิสก์ออกเป็นวงหลาย ๆ วง
2. เซกเตอร์ (Sector)
เป็นการแบ่งแทร็กออกเป็นส่วน ๆ
การจัดการเนื้อที่บนดิสก์ (Disk Management)
การจัดการเนื้อที่บนดิสก์เป็นการจัดการว่าเนื้อที่แต่ละส่วนบนดิสก์
นั้นถูกนามาใช้อะไรบ้างซึ่งการจัดการเนื้อที่บนดิสก์สามารถแบ่ง
ออกได้ดังนี้
1. การจัดระเบียบดิสก์(Disk Formatting)
2. บูตบล็อก (Boot Block)
3. บล็อกเสีย (Bad Block)
การจัดเวลาการใช้ดิสก์
หน้าที่อย่างหนึ่งของระบบปฏิบัติการ คือควบคุมการใช้งาน
ฮาร์ดแวร์ให้มีประสิทธิภาพมากที่สุดกรณีการใช้งานดิสก์ให้มี
ประสิทธิภาพนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัย 3 ประการ คือ
1. ระยะเวลาการค้นหา (Seek Time)
ระยะเวลาการค้นหา หมายถึง ระยะเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนหัวอ่าน
ไปยังไซลินเดอร์ที่มีเซกเตอร์ที่ต้องการ ซึ่งระยะเวลานี้สาคัญมาก
ที่สุด
2. ระยะเวลาที่ใช้หมุนดิสก์ (Rotational Latency)
ระยะเวลาที่ใช้หมุนดิสก์หมายถึง ระยะเวลาที่รอคอยการหมุนดิสก์
เพื่อหาเซกเตอร์ที่ต้องการซึ่งควรใช้เวลาน้อยที่สุด
3. ระยะเวลาการโอนย้ายข้อมูล (Transfer Time)
4. ระยะเวลาการโอย้ายข้อมูล หมายถึง ระยะเวลาที่ใช้ในการ
ข้อมูลจากดิสก์หรือ บันทึกข้อมูลลงดิสก์
การจัดการเวลาการใช้ดิสก์หมายถึง การลดระยะเวลาการ
ค้นหา (Seek Time) ของดิกส์ ซึ่งมีหลายวิธี ดังนี้ คือ
1. การจัดการเวลาแบบมาก่อน-ได้ก่อน (First Come-First
Serve Scheduling: FCFS)
2. การจัดการเวลาแบบเวลาในการค้นหาสั้นที่สุดได้ก่อน
(Shortest Seek Time First Scheduling)
3. การจัดการเวลาแบบกวาด (SCAN Scheduling)
4. การจัดการเวลาแบบกวาดเป็นวง (C-SCAN Scheduling)
5. การจัดการเวลา LOOK (LOOK Scheduling)
การจัดการเวลาแบบกวาด
วิธีการจัดการเวลาแบบกวาดจะทาการอ่านข้อมูลไปทางด้านใด
ด้านหนึ่งของตาแหน่งที่หัวอ่านอยู่โดยจะอ่านไปจนทั่วสิ้นสุดขอบเขต
ของดิสก์ด้านนั้น จากนั้นจะอ่านย้อนกลับมายังตาแหน่งที่อยู่ใกล้ถัดมา
จนกระทั่งถึงขั้นสุดท้าย
การจัดการเวลาแบบกวาดเป็นวง
การทางานจะคล้ายแบบกวาด แต่จะต่างกันที่เมื่อหัวอ่านเคลื่อนไป
จนถึงขอบด้านในด้านหนึ่งแล้วหัวอ่านจะเคลื่อนไปยังตาแหน่งเริ่มต้นของ
อีกด้านทันทีเองโดยไม่มีการอ่านข้อมูล จากหัวอ่านจะเริ่มเคลื่อนที่กลับและ
เริ่มอ่านข้อมูล
การจัดการเวลาแบบ (LOOK)
การทางานจะคล้ายกับวิธีกวาดเป็นวง แต่จะไม่เคลื่อนที่หัวอ่าน
ไปจนถึงขอบของดิสก์ แต่เมื่อถึงตาแหน่งข้อมูลที่อยู่สุดท้ายก็จะเลื่อน
หัวอ่านไปยังข้อมูลอีกด้านหนึ่งทันที
การเลือกใช้งานวิธีการจัดเวลาการใช้ดิสก์
* การจัดเวลาการใช้ดิสก์แบบมาก่อน-ได้ก่อน เป็นวิธีที่นิยม
นามาใช้งานโดยทั่วไป เพราะเป็นวิธีที่ง่ายที่สุด
* การจัดการเวลาการใช้ดิสก์แบบกวาดและแบบกวาดเป็นวง
เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพการใช้งานสูงสาหรับระบบคอมพิวเตอร์ที่มี
การอ่านและบันทึกข้อมูลในปริมาณมาก
* ประสิทธิภาพของการจัดการเวลาการใช้ดิสก์แต่ละวิธีขึ้นอยู่
กับปริมาณของข้อมูลและประเภทการเข้าถึงข้อมูล
* ความต้องการในการเข้าถึงข้อมูลในดิสก์ (Request) ขึ้นอยู่กับ
วิธีการจัดโครงสร้างของแฟ้มข้อมูลในดิสก์
โครงสร้างดิสก์แบบ RAID
โครงสร้างดิสก์แบบ RAID (Redundant Array of Independent
Disks) หมายถึง การนาดิสก์หลาย ๆ ตัวมารวมกัน และมีตัวควบคุม
การทางานของดิสก์เหล่านั้น ทาให้ระบบปฏิบัติการมองเห็นดิสก์
เหล่านั้นเป็นดิสก์ตัวเดียว เพื่อเพิ่มความเชื่อถือของระบบในการเก็บ
รักษาข้อมูล ด้วยการบันทึกข้อมูลแบบซ้าซ้อน (Redundancy)
การจัดโครงสร้างของดิสก์แบบ RAID สามารถแบ่งออก
ได้เป็น 7 ระดับ ดังนี้ คือ
1. RAID ระดับ 0 Non-Redundant Striping
2. RAID ระดับ 1 Disk Mirroring
3. RAID ระดับ 2 Memoru-Style Error-
Correcting Codes
4. RAID ระดับ 3 Bit-Interleaved Parity
5. RAID ระดับ 4 Block-Interleaved Parity
6. RAID ระดับ 5 Block-Interleaved Distrbuted Parity
7. RAID ระดับ 6 P + Q Redundancy

More Related Content

More from maysasithon

บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10maysasithon
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9maysasithon
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8maysasithon
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8maysasithon
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7maysasithon
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6maysasithon
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6maysasithon
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5maysasithon
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4maysasithon
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3maysasithon
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2maysasithon
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1maysasithon
 

More from maysasithon (12)

บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

บทที่ 8