SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
การประหยดพลงงานของ "เครื่องปรับอากาศ"
        ั ั
    เนื่องจากประเทศไทยต้งอยในเขตภมิอากาศที่มีอากาศร้อนช้ืนเกือบ
                              ั ู่        ู
  ตลอดท้ งปี การใช"เครื่องปรับอากาศ"เพื่อทําความเย็นให้เกิดความรู้สึก
           ั           ้
   สบายแก่ผอาศยในบานพก ที่อยในเมืองใหญ่ๆ หรือตามชานเมือง จึง
              ู้ ั          ้ ั    ู่
 ไดรับความนิยมมาก แต่เครื่องปรับอากาศเป็น เครื่องจกรกลที่ใชพลงงาน
    ้                                                 ั         ้ ั
  ไฟฟ้าค่อนขางสูง ผใชจึงตองตระหนกถึงการจ่ายค่าไฟฟ้าที่มาก ข้ ึนดวย
                ้        ู้ ้ ้         ั                           ้
  ดังน้ันการที่จะอนุรักษ์พลังงานไฟฟาของระบบปรับอากาศโดยไม่ทําให้
                                      ้
      เกิดผลเสีย ต่อความสุขสบายของผู้ใช้ และประหยัดค่าใช้จ่าย เพื่อ
 ผลประโยชนต่อผใชเ้ องและตอ ประเทศชาติโดยส่วนรวมน้ น จาเป็นต้ อง
                  ์ ู้          ่                           ั ํ
  ทราบถึงลักษณะการทํางานของเครื่องปรับอากาศ แต่ละชนิด การเลือก
 ชนิดและขนาดของเครื่องให้เหมาะสมกับห้อง ตลอดจนต้องทราบถึง การ
             ติดต้ัง การใช้งาน และการบํารุงรักษาที่ถูกวธีด้วย
                                                        ิ

                                  น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
อปกรณ์ต่างๆ ภายในเครื่องปรับอากาศ
                     ุ
 เครื่องปรับอากาศของบานพกอาศย ประกอบดวยชิ้นส่วนต่างๆ ที่สาคญ 9 อยางดงน้ ี
                     ้ ั ั           ้                   ํ ั     ่ ั
 1. แผงท่อทําความเย็น (Cooling coil)
 2. คอมเพรสเซอร์ (Compressor)
 3. แผงท่อระบายความร้อน (Condenser coil)
 4. พัดลมส่ งลมเย็น (Blower)
 5. พัดลมระบายความร้อน (Condenser fan)
       ่
 6. แผนกรองอากาศ (Air filter)
         ้              ่ ็
 7. หนากากเครื่องที่มีแผนเกลดกระจายลมเยน (Louver)
                                             ็
 8. อุปกรณ์ควบคุมสําหรับการเปิ ด-ปิ ดเครื่ อง ตั้งค่าอุณหภูมิหอง
                                                              ้
 ตั้งความเร็ วของพัดลมส่งลมเย็น ตั้งเวลาการทํางานของเครื่ อง
                                      ่ ั
เป็ นต้น อุปกรณ์ควบคุมนี้อาจติดตั้งอยูที่ตว เครื่ องปรับอากาศเอง
หรื อแยกเป็ นอุปกรณ์ต่างหากเพื่ออํานวยความสะดวกแก่ผใช้ในการ ควบคุมระยะไกล
                                                          ู้
 (Remote control) จากบริ เวณอื่นๆ ภายในห้องปรับอากาศ
 9. อุปกรณ์ป้อนสารทําความเย็น (Metering device)
                                       น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
หลักการทําความเย็นของเครื่องปรับอากาศ
การทําความเย็นของเครื่ องปรับอากาศต้องอาศัยสารทําความเย็น ซึ่ งเป็ นสารที่ไม่ มีกลิ่น สี และ
รส วัฎจักรการทําความเย็นเริ่ มจากผูใช้เครื่ องปรับอากาศ สารทําความเย็น เหลวในปริ มาณ
                                      ้
พอเหมาะจะไหลผ่านอุปกรณ์ป้อนสารทําความเย็นเข้าไปยังแผงท่อทําความ เย็นซึ่ งติดตั้งอยู่
ภายในห้อง พัดลมส่ งลมเย็นจะดูดอากาศร้อนและชื้นภายในห้องผ่านแผ่น กรองอากาศ ซึ่ ง
          ่ ้
ติดตั้งอยูดานหน้าของแผงท่อทําความเย็น เพื่อกรองเอาฝุ่ นละอองขนาดใหญ่ ออกไป จากนั้น
อากาศร้อนชื้นจะคายความร้อนให้แก่สารทําความเย็นภายในแผงท่อทําความ เย็น ทําให้มี
อุณหภูมิและความช้ืนลดลงและถกพดลมส่งลมเยนกลบเขามาสู่หองอีกคร้ ังหน่ ึง โดยผานแผน
                                   ู ั             ็ ั ้            ้                      ่      ่
เกล็ดกระจายลม เพื่อให้ลมเย็นแพร่ ไปสู่ส่วนต่างๆ ของห้องอย่างทัวถึง     ่
สําหรับสารทําความเย็นเหลวภายในแผงท่อทําความเย็น เมื่อได้รับความร้อนจาก อากาศภายใน
ห้องจะระเหยกลายเป็ นไอ และไหลเข้าสู่คอมเพรสเซอร์ ซึ่ งไอที่ได้น้ ีจะถูกส่ ง ต่อไปยังแผงท่อ
                               ่
ระบายความร้อนซึ่ งติดตั้งอยูนอกอาคาร พัดลมระบายความร้อนจะดูดอากาศ ภายนอกมา
ระบายความร้อนออกจากสารทําความเย็น ทําให้ไอสารทําความเย็นกลันตัวกลับ เป็ นของเหลว
                                                                              ่
อีกครั้งหนึ่ง และไหลออกจากแผงท่อระบายความร้อนไปสู่อุปกรณ์ป้อนสารทํา ความเย็น
วนเวียนเป็ นวัฎจกรเช่นน้ ีตลอดเวลา จนกวาอุณหภูมิในหองจะถึงระดบที่เราต้ งไว ้ อุปกรณ์
                   ั                        ่             ้              ั      ั
ควบคุมอุณหภูมิกจะส่งสญญาณใหเ้ ครื่องคอมเพรสเซอร์หยดทางานชวขณะหน่ ึ ง จึงประหยด
                     ็      ั                                  ุ ํ         ั่                   ั
ไฟฟ้ าส่ วนที่ป้อนให้คอมเพรสเซอร์ทางานได้ แต่พดลมส่ งลมเย็นยังคงทําหน้าที่ส่ง ลมให้
                                        ํ           ั
                                               ้ ่
ภายในห้อง จนเมื่อความร้อนจากร่ างกายของผูที่อยูในห้องเริ่ มทําให้คอมเพรสเซอร์ทา งานโดย   ํ
อัดสารทําความเย็นป้ อนเข้าไปในแผงท่อทําความเย็นใหม่
ดังนั้นถ้าเราตั้งอุณหภูมิที่อุปกรณืควบคุมไม่ให้ต่ามากคือ ไม่ให้เย็นจนเกินไป ก็จะ ช่วยประยัด
                                                 ํ
ค่าไฟได้ ซึ่ งตามปกติควรตั้งไว้ที่ 25 ◌ํ C     น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
หลักการทําความเย็นในลักษณ์น้ ี จะต้องทําให้หองที่จะทําการปรับอากาศนั้นอยู่ ในสภาพที่
                                                       ้
เป็ นระบบปิ ดเสมือนเป็ นกล่องใบหนึ่ งคือ ต้องปิ ดประตูและหน้าต่างทุกบานให้มิด ชิดอย่าให้
มีอากาศรั่วเข้าออกได้ เครื่ องปรับอากาศจะทํางานโดยรับความร้อนและความชื้น จากภายใน
ห้องไปปรับจนเย็นถึงอุณหภูมิที่ต้ งไว้ ซึ่ งยังมีผใช้เครื่ องปรับอากาศผิดๆ โดยเปิ ด
                                  ั               ู้
เครื่องปรับอากาศและยงคงเปิดประตูหรือหนาต่างไว ้ ซ่ ึ งทาใหอากาศและความช้ืนจากภาย
                       ั                        ้             ํ ้
นอกห้องไหลเข้ามาภายในห้องตลอดเวลา จึงทําให้คอมเพรสเซอร์ตองทํางานตลอดเวลาเช่น
                                                                      ้
กัน และทําให้หองเย็นไม่ถึงอุณหภูมิที่ต้ งไว้ จึงสิ้ นเปลืองพลังงาน กล่าวโดยสรุ ปก็คือ
                ้                       ั
เครื่องปรับอากาศทําหน้ าที่พาความร้ อนที่เกิดขึนภายในห้ อง ต่ างๆ ของบ้ านพักอาศัยผ่านทาง
                                                     ้
แผงท่อทําความเย็นออกไปทิ้งภายนอกอาคารโดยผ่านทาง แผงท่อระบายความร้อนนั้นเอง
หากการพาความไปทิ้งนี้เกิดขึ้นได้สะดวก ห้องต่างๆ ก็จะ เย็นได้รวดเร็ วและสิ้ นเปลืองไฟฟ้ า
น้อยด้วย




                                           น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
ขนาดการทําความเย็นและชนิดของเครื่องปรับอากาศ
เครื่ องปรับอากาศที่ใช้ตามบ้านทัวไป มักมีขนาดการทําความเย็น
                                ่
        ่
ระหวาง 9,000- 30,000 บีทีย/ู ชม. (Btu/h) หรื อ 0.75-2.5 ตันความ
                                                             ั
เย็น (1 ตันความเย็น = 12,000 บีทียู /ชม.) เครื่ องที่นิยมใช้กนมี 2
ชนิด คือ
   1. เครื่องแบบแยกส่ วน มีขนาดตั้งแต่ 9,000-30,000 บีทียู/ชม. ตัวเครื่ องแบ่ง เป็ น 2 ส่ วน ส่ วน
   ที่อยูภายในห้องเรี ยกว่า แฟนคอยล์ ยูนิต (Fan coil unit) มีหน้าที่ทาความเย็นพัดลมส่ งลมเย็น
         ่                                                                ํ
   แผ่นกรองอากาศ หน้ากากพร้อมเกล็ดกระจายลมเย็น และอุปกรณ์ ควบคุมอีกส่ วนหนึ่งติดตั้ง
   ภายนอกห้อง เรี ยกว่า คอนเดนซิ่งยูนิต (Condensing unit) ประกอบ ด้วยคอมเพรสเซอร์แผง
   ท่อระบายความร้อนและพัดลมระบายความร้อน เครื่ องทั้ง สองส่ วนเชื่อมต่อกันด้วยท่อสาร
   ทําความเย็น เครื่ องแบบนี้นิยมใช้กนทัวไปสําหรับบ้านเดี่ยวตามหมู่บาน บ้านชานเมือง บ้าน
                                         ั ่                                  ้
   ใน เมืองหรือตึกแถว ซ่ ึ งมีพ้ืนที่เพียงพอสาหรับการติดต้ งคอนเดนซิ่ งยนิต ตัวแฟนคอยล์ยนิต
                                              ํ              ั                  ู                 ู
   โดยมีท้ งแบบติดเพดาน ติดผนัง หรื อแบบตั้งพื้น เครื่ องแบบติดเพดานเหมาะกับห้องที่มี
            ั
   ขนาดใหญ่ หรื อเป็ นห้องสี่ เหลี่ยมผืนผ้าที่ค่อน ข้างยาว หรื อไม่มีพ้ืนที่เพียงพอสําหรับการ
   ติดตั้งบนพื้นห้อง เครื่ องแบบติดผนังเหมาะกับห้องทัวไป ลักษณะห้องค่อนข้างเป็ นสี่ เหลี่ยม
                                                          ่
   จตุรัส
   ส่ วน เครื่ องตั้งพื้นนั้นเหมาะกับห้องขนาดเล็ก เช่น ห้องนอนขนาดเล็กหรื อห้องรับแขกขนาด
   เล็ก                                               น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
2. เครื่องแบบติดหน้ าต่ าง มีขนาด
ตั้งแต่ 9,000-24,000 บีทียู/ชม. เหมาะ
สําหรับอาคารที่เป็ นตึกแถว หรื อ
ทาวนเ์ ฮาส์ซ่ ึ งไม่อาจติดต้งคอนเดน
                            ั
ซิ่ งยนิตไดเ้ พราะไม่มีสถานที่ติด ต้ง
      ู                             ั
หรื อสถานที่น้ นไม่เพียงพอ เช่น
                 ั
ความกว้างของกันสาดแคบเกินไป
เป็ นต้น มักติดที่วง กบช่องแสงเหนือ
บานหน้าต่างห้อง

                                        น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
การเลือกขนาดเครื่องปรับอากาศที่เหมาะสม
ขนาดของเครื่ องปรับอากาศที่ใช้ทาความเย็นให้แก่หองต่างๆ
                                ํ                 ้
ภายในบ้าน โดยเฉลี่ย ความสูงของห้อง โดยทัวไปที่ 2.5-3
                                           ่
เมตร อาจประมาณคร่ าวๆ จากค่าต่อไปนี้
1. ห้องรับแขก ห้องอาหาร ประมาณ 15 ตร.ม./ตันความเย็น
2. ห้องนอนที่เพดานห้องเป็ นหลังคา ประมาณ 20 ตร.ม./ตัน
ความเย็น
3. ห้องนอนที่เพดานห้องเป็ นพื้นของอีกชั้นหนึ่ ง ประมาณ 23
ตร.ม./ตันความเย็น


   การปรับปรุ งอาคารก่ อนการติดตั้งระบบปรับอากาศ
   เพื่อให้เครื่ องปรับอากาศที่ซ้ื อมาสามารถทําความเย็นได้อย่างเต็มที่และประหยัด
   พลงงาน ควรมีการปรับปรุงสิ่งแวดลอมรอบตวบานและหองที่จะติดต้ง ดงน้ ี
        ั                                ้       ั ้            ้             ั ั
   1. หากห้ องที่ทําการปรับอากาศ มีกระจกส่ วนใหญ่หนไปทางทิศตะวันออก ทิศ
                                                       ั
   ตะวนตกหรือทิศใต ้ ควรปลูกต้ นไม้ ใหญ่ บังแดดให้ ผืนกระจก นอกจากนี้ตนไม้ยงทํา
          ั                                                                       ้       ั
   ให้ อากาศนอกอาคารมีอุณหภูมิต่าลง ช่วยลดปริ มาณความร้อนที่ถายเทเข้าสู่หองอีก
                                       ํ                                  ่            ้
   ดวย
     ้                                          น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
2. หากไม่ สามารถปลุกต้ นไม้ ได้ ควรติดตั้งกันสาด ที่ดานนอก
                                                      ้
  อาคารหรื อติดผ้า ม่านหรื อมู่ลี่สีอ่อนที่สามารถปรับมุมใบเกล็ด
  ไวดานหลงกระจกดานทิศตะวนออก ทิศตะวนตกและ ทิศใต ้
      ้้      ั       ้            ั            ั
  เพื่อป้องกนมิใหแสงแดดส่องผานแผนกระจกเขามาในหอง
            ั    ้                   ่  ่         ้       ้




                    3. เหนือฝ้ าเพดานที่เป็ นหลังคา หากสามารถปูแผ่ นใยแก้ วที่มีความ
                      หนา 1 นิว ชนิดมีแผ่ นฟอยล์ (Aluminum foil) หุมแผ่นใยแก้วไว้
                                ้                                   ้
                      ทั้งหมดเหนือแผ่นฝ้ า จะช่วยลดการ ส่งผ่านรังสีความร้อนจากดวง
                      อาทิตย์ เข้ าสู่ ห้องที่มีการปรับอากาศได้
                                           น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
4. พดลมระบายอากาศของหองอาหาร หองรับแขก หองนงเล่น ที่มีการปรับอากาศ ตองมี
      ั                         ้      ้             ้ ่ั                           ้
  ขนาดไม่เกิน 6 นิ้ว และเปิ ดเฉพาะกรณี ที่จาเป็ นเท่านั้น เช่น เพื่อระบายกลิ่นอาหาร หรื อ
                                           ํ
  ควนบุหรี่ เพื่อป้องกนมิใหมีการดูดเอาอากาศเยนภายในหองทิ้งออกไปมากเกินควร ทา
         ั             ั      ้                  ็           ้                          ํ
  ใหหองไม่เยน และเครื่องปรับอากาศต้องทํางานหนัก ควรสูบบุหรี่นอกห้องปรับอากาศ
        ้ ้      ็
             ั
  เพื่อป้องกนมิใหอากาศภายในหองสกปรก
                     ้             ้
  5. ภายในหองนอนไม่ควรติดต้งพดลมระบายอากาศ หากมีหองน้ าติดกบหองนอน อาจ
               ้                  ั ั                           ้ ํ ั ้
  ติดพัดลมระบายอากาศที่มีขนาดไม่เกิน 6 นิ้วไว้ภายในห้องนํ้าก็ได้ แต่ควรเปิ ดเฉพาะ
  เมื่อมีการใช้หองนํ้าเท่านั้น
                   ้




                                               น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
6. ควรอุดรู รั่วรอบห้ องให้ สนิท เพื่อ
 ป้ องกันมิให้อากาศร้อนภายนอกรั่วซึม
 เข้า สู่หอง หน้าต่างบานเกล็ด ไม่วาจะ
          ้                            ่
 เป็ นบานเกล็ดไม้หรื อเกล็ดกระจก มัก
 มีช่องว่างระหว่างแผ่นเกล็ด มาก ควร
 แก้ไขหรื อเปลี่ยนใหม่

                                      7. ควรทาสี ผนังภายนอกอาคารด้ วยสี
                                      ขาวหรืออ่ อน จะช่วยลดการนําความ
                                      ร้อน ผ่านผนังได้ดี



                                     น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
การเลือกซื้อเครื่องปรับอากาศ
  1. ควรเลือกซ้ื อเครื่องที่มีเครื่องหมายการคาเป็นที่รู้จกทวไป เพราะเป็นเครื่องที่มี
                                              ้          ั ั่
  คุณภาพสามารถเชื่อถือปริ มาณความเย็นและพิจารณาการสิ้ นเปลืองพลังงานไฟฟ้ า
         ั                     ู่
  ของตว เครื่องที่ปรากฏอยในแคตตาลอคผผลิตเป็นสาคญ
                                         ็ ู้             ํ ั
  2. หากเครื่องที่ตองการซ้ื อมีขนาดไม่เกิน 25,000 บีทีย/ู ชม. ควรเลือกเครื่องที่ ผ่าน
                     ้
  การรับรองการใช้ พลังงานไฟฟาหมายเลข 5 ซ่ ึ งแสดงวาเป็นเครื่องที่มี
                                    ้                       ่
  ประสิ ทธิภาพสูง ประหยัดพลังงานไฟฟ้ า โดยมีฉลากปิ ดที่ตวเครื่ องให้เห็นได้
                                                               ั
     ่ ั
  อยางชดเจน
  3. ถาตองการซ้ื อเครื่องปรับอากาศที่มีขนาดใหญ่กว่า 25,000 บีทีย/ู ชม.ใหเ้ ลือก
       ้ ้
  เครื่องที่มีการใชไฟไม่เกิน 1.40 กิโลวตตต่อ 1 ตันความเย็นหรื อมีค่า EER (Energy
                   ้                      ั ์
  Efficiency Ratio) ไม่นอยกวา 8.6 บีทียู ชม./วัตต์ โดยดูจากแคตตาลอคผูผลิต
                         ้ ่                                        ็ ้



                                           น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
การติดตั้งเครื่องปรับอากาศ
การติดต้ังเครื่องปรับอากาศที่ผิดวธี โดยเฉพาะใน
                                 ิ
 เครื่องแบบแยกส่วน นอกจาก จะทาใหเ้ ครื่องทา
                                    ํ        ํ
 ความเยนไดนอยลงแลว สิ้นเปลืองพลังงานไฟฟา
          ็ ้ ้         ้                      ้
 มากขึนอีกด้วย จึงควรให้ความสนใจดังรายละเอียด
        ้
 ต่อไปน้ ี
 1. ควรติดต้ังแฟนคอยล์ยูนิต และคอนเดนซิ่ ง
ยนิตของเครื่ องแบบแยกส่ วนให้ใกล้ กันมากที่สุด จะ
  ู
 ทําให้เครื่ องไม่ตองทํางานหนักในการส่ งสารทํา
                   ้
 ความเย็นให้ไหลไปตามท่อ ทั้งยังลดค่าใช้จ่ายใน
 การเดินท่อและหุมฉนวนตลอดจนลดโอกาสการรั่ว
                     ้
 ของสารทําความเย็น



                                         น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
2. หุ้มท่ อสารทําความเย็นจากคอนเดนเซอรืไปยงแผงท่อทาความเยน (Cooling coil)
                                             ั       ํ        ็
 ของเครื่องแบบแยกส่วนดวยฉนวนที่มีความหนาประมาณ 0.5 นิว หรือตามที่ผผลิต
                            ้                               ้           ู้
 แนะนํา เพื่อป้ องกันมิให้มีสารทําความเย็นภายในท่อแลกเปลี่ยนความร้อนกับ
 อากาศภายนอกตามเส้นท่อ



                                   3. ตําแหน่งติดต้ังคอนเดนซิ่งยูนิต (หรื อ
                                     เครื่ องแบบหน้าต่าง) ควรอยู่ในที่ร่ม ไม่ ถูก
                                     แสงแดดโดยตรง แต่อากาศภายนอกสามารถ
                                     ท่ายเทไดสะดวก ไม่ควรอยในที่อบลม หรือคบ
                                                ้              ู่      ั          ั
                                              ่
                                     แคบ ที่วางโดยรอบเครื่ องต้องเพียงพอตามที่
                                     ผผลิตแนะนา
                                       ู้         ํ


                                      น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
4.ในสถานที่ซ่ ึ งมีการติดตั้งคอนเดนซิ่ งยนิต (หรื อเครื่องแบบหนาต่าง)หลายๆ ชุด
                                         ู                      ้
     ้      ั ่ ้
 ตองระวงอยาใหลมร้อนที่ระบายออกจากเครื่องชุดหน่ ึงเป่าเขาหาเครื่องอีกชุด
                                                              ้
 หน่ ึง ควรใหลมร้อนจากแต่ละเครื่องเป่าออกไดโดยสะดวก
                 ้                                  ้
 5. ในบางสถานที่ซ่ ึ งมีลมพดแรงตลอดเวลาในทิศทางเดียว ควรติดต้งคอนเดน
                              ั                                      ั
 ซิ่ ง ยนิต (หรื อเครื่องแบบหนาต่าง) ใหอากาศร้อนระบายออกจากตวเครื่องอยู่
          ู                      ้         ้                       ั
 ในทิศเดียวกับ กระแสลม อย่าให้ปะทะกับลมธรรมชาติ เพราะจะทําให้เครื่ อง
 ระบายความร้อนได้ลาบาก    ํ
 6. ตาแหน่งติดต้งแฟนคอยลยนิต (หรื อเครื่องแบบหนาตาง) ตองใหลมเยนที่จ่าย
        ํ           ั           ์ู                        ้ ่ ้ ้ ็
 ออกจากตวเครื่องสามารถกระจายไปทวท้ งหอง
             ั                               ่ั ั ้




                                             น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
การใช้ งานเครื่องปรับอากาศ
  การใช้งานเครื่ องปรับอากาศอย่างถูกต้อง ช่วยให้เครื่ อง
     ํ      ่
    ทางานอยางมีประสิทธิภาพ และประหยดพลงงานไฟฟ้า
                                          ั ั
    สามารถทําโดยวิธีการดังต่อไปนี้



1. ปรับตั้งอุณหภูมของห้ องให้ เหมาะสม หองรับแขก หองนงเล่น และหองอาหาร อาจต้ ง
                     ิ                            ้          ้ ่ั            ้           ั
 อุณหภูมิไม่ให้ต่ากว่า 25 ◌ํ C สาหรับหองนอนน้ นอาจต้ งอุณหภูมิสูงกวาน้ ีได ้ ท้ งน้ ี
                   ํ             ํ             ้        ั       ั              ่       ั
 เพราะร่ างกายมนุษย์ขณะหลับมิได้เคลื่อนไหว อีกทั้งการคายเหงื่อก็ลดลง หากปรับ
 อุณหภูมิ เป็น 26-28 ◌ํ C ก็ไม่ ทําให้ ร้ ู สึกร้ อนเกินไป แต่ จะช่ วยลดการใช้ ไฟฟ้ าได้
 ประมาณร้อยละ 15-20
 2. ปิ ดเครื่องปรับอากาศทุกครั้งที่เลิกใช้ งาน หากสามารถ
 ทราบเวลาที่แน่นอนควรต้ งเวลาการทางานของตวเครื่องไว ้
                            ั                ํ            ั
 ล่วงหนา เพื่อให้เครื่ องหยุดเองโดยอตโนมติ
          ้                               ั         ั

                                                     น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
3. อย่านําสิ่งของไปกีดขวางทางลมเข้าและ
 ลมออกของคอนเดนซิ่งยูนิตจะทาให้ เครื่อง
                                    ํ
 ระบายความร้อนไม่ออก และตองทางาน  ้ ํ
 หนักมากขึ้น
          ่ ํ
 4. อยานารูปภาพหรือสิ่งของไปขวางทางลม
 เขาและลมออกของแฟนคอยลยนิต จะ ทา
    ้                            ์ู        ํ
 ใหหองไม่เยน
      ้ ้           ็
 5. ควรเปิดหลอดไฟและอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ
 ภายในห้องเฉพาะเท่าที่จาเป็ นต่อการ ใช้
                        ํ
 งานเท่าน้ น และปิดทุกคร้ ังเมื่อใชงานเสร็จ
              ั                       ้
 เพราะหลอดไฟและอุปกรณ์ไฟฟ้าบางชนิด
 ขณะ เปิดใชงาน จะมีความร้อนออกมาทา
                  ้                      ํ
 ใหอุณหภมิในหองสูงข้ ึน
       ้        ู     ้

                                               น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
6. หลีกเลี่ยงการนําเครื่องครัว หรือภาชนะที่มีผิวหนาร้อนจด เช่น เตาไฟฟ้า กะทะ
                                                        ้      ั
  ร้อน หม้อต้มนํ้า หม้อต้มสุ ก้ ี เข้ าไปในห้ องที่มีการปรับอากาศ ควรปรุ งอาหารใน
  ครัว แล้วจึงนําเข้ามารับประทานภายในห้อง
  7. ในช่วงเวลาที่ไม่ใชหองหรือก่อนเปิดเครื่องปรับอากาศสัก 2 ชั่วโมง ควรเปิ ด
                         ้ ้
  ประตูหน้ าต่ างทิงไว้เพือให้ อากาศบริสุทธิ์ภายนอกเข้ าไปแทนที่อากาศเก่ าในห้ อง
                   ้       ่
  จะช่วยลดกล่ินต่าง ๆ ใหนอยลงโดยไม่จาเป็นตองเปิดพดลมระบายอากาศซื่งจะทํา
                             ้ ้               ํ      ้      ั
  ให้เครื่ องปรับ อากาศทํางานหนักขึ้น




                                           น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
8. ควรปิ ดประตู หน้ าต่ างให้ สนิทขณะใช้ งาน
เครื่องปรับอากาศ เพื่อป้ องกันมิให้ อากาศร้อนขึ้น
จากภายนอกเข้ามา อันจะทําให้เครื่ องต้องทํางาน
มากขึ้น




9. ไม่ ควรปลูกต้ นไม้ หรือตากผ้ าภายในห้ องที่มีเครื่องปรับอากาศเพราะ
 ความชื้น จากสิ่ งเหล่านี้จะทําให้เครื่ องต้องทํางานหนักขึ้น


                                      น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
การบํารุงรักษาเครื่องปรับอากาศ
การบํารุ งรักษาที่ถกต้องและสมํ่าเสมอ ทําให้เครื่ องปรับอากาศมีอายุใช้งานได้ยาว
                     ู
นาน มีประสิทธิภาพสูง และประหยดพลงงานไฟฟ้าตลอดเวลา ซ่ ึ งควรปฏิบติดงน้ ี
                                      ั ั                                       ั ั
   1. หมันทําความสะอาดแผ่ นกรองอากาศทุก ๆ 2 สั ปดาห์ เพื่อให้เครื่ องสามารถ
            ่
 จ่ายความเย็นได้เต็มที่ตลอดเวลา
   2. หมันทําความสะอาดแผงท่ อทําความเย็นด้วยแปรงนิ่ ม ๆ และนํ้าผสมสบู่เหลว อย่างอ่อนทุก
          ่
   6 เดือน เพื่อให้เครื่ องทําความเย็นได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพอยูเ่ สมอ
   3. ทําความสะอาดพัดลมส่ งลมเย็นด้วยแปรงขนาดเล็ก เพื่อขจัดฝุ่ นละอองที่จบ กันเป็ นแผ่น
                                                                                    ั
   แข็งและติดกันอยูตามซี่ ใบพัดทุก6 เดือน จะทาใหพดลมส่งลมไดเ้ ตมสมรรถนะ ตลอดเวลา
                       ่                          ํ ้ ั                  ็
   4. ทําความสะอาดแผงท่ อระบายความร้ อน โดยการใช้แปรงนิ่ม ๆ และนํ้าฉี ด ล้างทุก ๆ 6 เดือน
   เพื่อให้เครื่ องสามารถนําความร้อนภายในห้องออกไปทิ้งให้แก่อากาศ ภายนอกได้อย่างมี
   ประสิทธิภาพ
   5. หากปรากฏว่าเครื่ องไม่เย็นเพราะสารทําความเย็นรั่ว
ต้ องรีบตรวจหารอยรั่วแล้ ว ทําการแก้ ไขพร้ อมเติมให้ เต็มโดยเร็ว
มิฉะนั้นเครื่ องจะใช้พลังงานไฟฟ้ าโดยไม่ทาให้เกิดความ
                                              ํ
เย็นแต่อย่างไร
   6. ตรวจสอบฉนวนหุมท่อสารทําความเย็นอย่างสมํ่าเสมอ
                           ้
อย่าให้เกิดฉี กขาด                                     น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
http://www.alinehomecare.com/LinkFrMain.htm
http://www.nepo.co.th




                          น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
การประหยัดพลังงานของ เครื่องปรับอากาศ

More Related Content

Similar to การประหยัดพลังงานของ เครื่องปรับอากาศ

งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอBoyz Bill
 
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์Chatree MChatree
 
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์Chatree MChatree
 
กลุ่ม1ชั้นม.301
กลุ่ม1ชั้นม.301กลุ่ม1ชั้นม.301
กลุ่ม1ชั้นม.301Nattarika Somkrua
 
Bay39 Air Conditioning_Rev1.pdf
Bay39 Air Conditioning_Rev1.pdfBay39 Air Conditioning_Rev1.pdf
Bay39 Air Conditioning_Rev1.pdfkhamsonez
 

Similar to การประหยัดพลังงานของ เครื่องปรับอากาศ (7)

งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
 
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
 
กลุ่ม1ชั้นม.301
กลุ่ม1ชั้นม.301กลุ่ม1ชั้นม.301
กลุ่ม1ชั้นม.301
 
It news
It  newsIt  news
It news
 
Bay39 Air Conditioning_Rev1.pdf
Bay39 Air Conditioning_Rev1.pdfBay39 Air Conditioning_Rev1.pdf
Bay39 Air Conditioning_Rev1.pdf
 
2
22
2
 

การประหยัดพลังงานของ เครื่องปรับอากาศ

  • 1.
  • 2. การประหยดพลงงานของ "เครื่องปรับอากาศ" ั ั เนื่องจากประเทศไทยต้งอยในเขตภมิอากาศที่มีอากาศร้อนช้ืนเกือบ ั ู่ ู ตลอดท้ งปี การใช"เครื่องปรับอากาศ"เพื่อทําความเย็นให้เกิดความรู้สึก ั ้ สบายแก่ผอาศยในบานพก ที่อยในเมืองใหญ่ๆ หรือตามชานเมือง จึง ู้ ั ้ ั ู่ ไดรับความนิยมมาก แต่เครื่องปรับอากาศเป็น เครื่องจกรกลที่ใชพลงงาน ้ ั ้ ั ไฟฟ้าค่อนขางสูง ผใชจึงตองตระหนกถึงการจ่ายค่าไฟฟ้าที่มาก ข้ ึนดวย ้ ู้ ้ ้ ั ้ ดังน้ันการที่จะอนุรักษ์พลังงานไฟฟาของระบบปรับอากาศโดยไม่ทําให้ ้ เกิดผลเสีย ต่อความสุขสบายของผู้ใช้ และประหยัดค่าใช้จ่าย เพื่อ ผลประโยชนต่อผใชเ้ องและตอ ประเทศชาติโดยส่วนรวมน้ น จาเป็นต้ อง ์ ู้ ่ ั ํ ทราบถึงลักษณะการทํางานของเครื่องปรับอากาศ แต่ละชนิด การเลือก ชนิดและขนาดของเครื่องให้เหมาะสมกับห้อง ตลอดจนต้องทราบถึง การ ติดต้ัง การใช้งาน และการบํารุงรักษาที่ถูกวธีด้วย ิ น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
  • 3. อปกรณ์ต่างๆ ภายในเครื่องปรับอากาศ ุ เครื่องปรับอากาศของบานพกอาศย ประกอบดวยชิ้นส่วนต่างๆ ที่สาคญ 9 อยางดงน้ ี ้ ั ั ้ ํ ั ่ ั 1. แผงท่อทําความเย็น (Cooling coil) 2. คอมเพรสเซอร์ (Compressor) 3. แผงท่อระบายความร้อน (Condenser coil) 4. พัดลมส่ งลมเย็น (Blower) 5. พัดลมระบายความร้อน (Condenser fan) ่ 6. แผนกรองอากาศ (Air filter) ้ ่ ็ 7. หนากากเครื่องที่มีแผนเกลดกระจายลมเยน (Louver) ็ 8. อุปกรณ์ควบคุมสําหรับการเปิ ด-ปิ ดเครื่ อง ตั้งค่าอุณหภูมิหอง ้ ตั้งความเร็ วของพัดลมส่งลมเย็น ตั้งเวลาการทํางานของเครื่ อง ่ ั เป็ นต้น อุปกรณ์ควบคุมนี้อาจติดตั้งอยูที่ตว เครื่ องปรับอากาศเอง หรื อแยกเป็ นอุปกรณ์ต่างหากเพื่ออํานวยความสะดวกแก่ผใช้ในการ ควบคุมระยะไกล ู้ (Remote control) จากบริ เวณอื่นๆ ภายในห้องปรับอากาศ 9. อุปกรณ์ป้อนสารทําความเย็น (Metering device) น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
  • 4. หลักการทําความเย็นของเครื่องปรับอากาศ การทําความเย็นของเครื่ องปรับอากาศต้องอาศัยสารทําความเย็น ซึ่ งเป็ นสารที่ไม่ มีกลิ่น สี และ รส วัฎจักรการทําความเย็นเริ่ มจากผูใช้เครื่ องปรับอากาศ สารทําความเย็น เหลวในปริ มาณ ้ พอเหมาะจะไหลผ่านอุปกรณ์ป้อนสารทําความเย็นเข้าไปยังแผงท่อทําความ เย็นซึ่ งติดตั้งอยู่ ภายในห้อง พัดลมส่ งลมเย็นจะดูดอากาศร้อนและชื้นภายในห้องผ่านแผ่น กรองอากาศ ซึ่ ง ่ ้ ติดตั้งอยูดานหน้าของแผงท่อทําความเย็น เพื่อกรองเอาฝุ่ นละอองขนาดใหญ่ ออกไป จากนั้น อากาศร้อนชื้นจะคายความร้อนให้แก่สารทําความเย็นภายในแผงท่อทําความ เย็น ทําให้มี อุณหภูมิและความช้ืนลดลงและถกพดลมส่งลมเยนกลบเขามาสู่หองอีกคร้ ังหน่ ึง โดยผานแผน ู ั ็ ั ้ ้ ่ ่ เกล็ดกระจายลม เพื่อให้ลมเย็นแพร่ ไปสู่ส่วนต่างๆ ของห้องอย่างทัวถึง ่ สําหรับสารทําความเย็นเหลวภายในแผงท่อทําความเย็น เมื่อได้รับความร้อนจาก อากาศภายใน ห้องจะระเหยกลายเป็ นไอ และไหลเข้าสู่คอมเพรสเซอร์ ซึ่ งไอที่ได้น้ ีจะถูกส่ ง ต่อไปยังแผงท่อ ่ ระบายความร้อนซึ่ งติดตั้งอยูนอกอาคาร พัดลมระบายความร้อนจะดูดอากาศ ภายนอกมา ระบายความร้อนออกจากสารทําความเย็น ทําให้ไอสารทําความเย็นกลันตัวกลับ เป็ นของเหลว ่ อีกครั้งหนึ่ง และไหลออกจากแผงท่อระบายความร้อนไปสู่อุปกรณ์ป้อนสารทํา ความเย็น วนเวียนเป็ นวัฎจกรเช่นน้ ีตลอดเวลา จนกวาอุณหภูมิในหองจะถึงระดบที่เราต้ งไว ้ อุปกรณ์ ั ่ ้ ั ั ควบคุมอุณหภูมิกจะส่งสญญาณใหเ้ ครื่องคอมเพรสเซอร์หยดทางานชวขณะหน่ ึ ง จึงประหยด ็ ั ุ ํ ั่ ั ไฟฟ้ าส่ วนที่ป้อนให้คอมเพรสเซอร์ทางานได้ แต่พดลมส่ งลมเย็นยังคงทําหน้าที่ส่ง ลมให้ ํ ั ้ ่ ภายในห้อง จนเมื่อความร้อนจากร่ างกายของผูที่อยูในห้องเริ่ มทําให้คอมเพรสเซอร์ทา งานโดย ํ อัดสารทําความเย็นป้ อนเข้าไปในแผงท่อทําความเย็นใหม่ ดังนั้นถ้าเราตั้งอุณหภูมิที่อุปกรณืควบคุมไม่ให้ต่ามากคือ ไม่ให้เย็นจนเกินไป ก็จะ ช่วยประยัด ํ ค่าไฟได้ ซึ่ งตามปกติควรตั้งไว้ที่ 25 ◌ํ C น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
  • 5. หลักการทําความเย็นในลักษณ์น้ ี จะต้องทําให้หองที่จะทําการปรับอากาศนั้นอยู่ ในสภาพที่ ้ เป็ นระบบปิ ดเสมือนเป็ นกล่องใบหนึ่ งคือ ต้องปิ ดประตูและหน้าต่างทุกบานให้มิด ชิดอย่าให้ มีอากาศรั่วเข้าออกได้ เครื่ องปรับอากาศจะทํางานโดยรับความร้อนและความชื้น จากภายใน ห้องไปปรับจนเย็นถึงอุณหภูมิที่ต้ งไว้ ซึ่ งยังมีผใช้เครื่ องปรับอากาศผิดๆ โดยเปิ ด ั ู้ เครื่องปรับอากาศและยงคงเปิดประตูหรือหนาต่างไว ้ ซ่ ึ งทาใหอากาศและความช้ืนจากภาย ั ้ ํ ้ นอกห้องไหลเข้ามาภายในห้องตลอดเวลา จึงทําให้คอมเพรสเซอร์ตองทํางานตลอดเวลาเช่น ้ กัน และทําให้หองเย็นไม่ถึงอุณหภูมิที่ต้ งไว้ จึงสิ้ นเปลืองพลังงาน กล่าวโดยสรุ ปก็คือ ้ ั เครื่องปรับอากาศทําหน้ าที่พาความร้ อนที่เกิดขึนภายในห้ อง ต่ างๆ ของบ้ านพักอาศัยผ่านทาง ้ แผงท่อทําความเย็นออกไปทิ้งภายนอกอาคารโดยผ่านทาง แผงท่อระบายความร้อนนั้นเอง หากการพาความไปทิ้งนี้เกิดขึ้นได้สะดวก ห้องต่างๆ ก็จะ เย็นได้รวดเร็ วและสิ้ นเปลืองไฟฟ้ า น้อยด้วย น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
  • 7. ขนาดการทําความเย็นและชนิดของเครื่องปรับอากาศ เครื่ องปรับอากาศที่ใช้ตามบ้านทัวไป มักมีขนาดการทําความเย็น ่ ่ ระหวาง 9,000- 30,000 บีทีย/ู ชม. (Btu/h) หรื อ 0.75-2.5 ตันความ ั เย็น (1 ตันความเย็น = 12,000 บีทียู /ชม.) เครื่ องที่นิยมใช้กนมี 2 ชนิด คือ 1. เครื่องแบบแยกส่ วน มีขนาดตั้งแต่ 9,000-30,000 บีทียู/ชม. ตัวเครื่ องแบ่ง เป็ น 2 ส่ วน ส่ วน ที่อยูภายในห้องเรี ยกว่า แฟนคอยล์ ยูนิต (Fan coil unit) มีหน้าที่ทาความเย็นพัดลมส่ งลมเย็น ่ ํ แผ่นกรองอากาศ หน้ากากพร้อมเกล็ดกระจายลมเย็น และอุปกรณ์ ควบคุมอีกส่ วนหนึ่งติดตั้ง ภายนอกห้อง เรี ยกว่า คอนเดนซิ่งยูนิต (Condensing unit) ประกอบ ด้วยคอมเพรสเซอร์แผง ท่อระบายความร้อนและพัดลมระบายความร้อน เครื่ องทั้ง สองส่ วนเชื่อมต่อกันด้วยท่อสาร ทําความเย็น เครื่ องแบบนี้นิยมใช้กนทัวไปสําหรับบ้านเดี่ยวตามหมู่บาน บ้านชานเมือง บ้าน ั ่ ้ ใน เมืองหรือตึกแถว ซ่ ึ งมีพ้ืนที่เพียงพอสาหรับการติดต้ งคอนเดนซิ่ งยนิต ตัวแฟนคอยล์ยนิต ํ ั ู ู โดยมีท้ งแบบติดเพดาน ติดผนัง หรื อแบบตั้งพื้น เครื่ องแบบติดเพดานเหมาะกับห้องที่มี ั ขนาดใหญ่ หรื อเป็ นห้องสี่ เหลี่ยมผืนผ้าที่ค่อน ข้างยาว หรื อไม่มีพ้ืนที่เพียงพอสําหรับการ ติดตั้งบนพื้นห้อง เครื่ องแบบติดผนังเหมาะกับห้องทัวไป ลักษณะห้องค่อนข้างเป็ นสี่ เหลี่ยม ่ จตุรัส ส่ วน เครื่ องตั้งพื้นนั้นเหมาะกับห้องขนาดเล็ก เช่น ห้องนอนขนาดเล็กหรื อห้องรับแขกขนาด เล็ก น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
  • 8. 2. เครื่องแบบติดหน้ าต่ าง มีขนาด ตั้งแต่ 9,000-24,000 บีทียู/ชม. เหมาะ สําหรับอาคารที่เป็ นตึกแถว หรื อ ทาวนเ์ ฮาส์ซ่ ึ งไม่อาจติดต้งคอนเดน ั ซิ่ งยนิตไดเ้ พราะไม่มีสถานที่ติด ต้ง ู ั หรื อสถานที่น้ นไม่เพียงพอ เช่น ั ความกว้างของกันสาดแคบเกินไป เป็ นต้น มักติดที่วง กบช่องแสงเหนือ บานหน้าต่างห้อง น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
  • 9. การเลือกขนาดเครื่องปรับอากาศที่เหมาะสม ขนาดของเครื่ องปรับอากาศที่ใช้ทาความเย็นให้แก่หองต่างๆ ํ ้ ภายในบ้าน โดยเฉลี่ย ความสูงของห้อง โดยทัวไปที่ 2.5-3 ่ เมตร อาจประมาณคร่ าวๆ จากค่าต่อไปนี้ 1. ห้องรับแขก ห้องอาหาร ประมาณ 15 ตร.ม./ตันความเย็น 2. ห้องนอนที่เพดานห้องเป็ นหลังคา ประมาณ 20 ตร.ม./ตัน ความเย็น 3. ห้องนอนที่เพดานห้องเป็ นพื้นของอีกชั้นหนึ่ ง ประมาณ 23 ตร.ม./ตันความเย็น การปรับปรุ งอาคารก่ อนการติดตั้งระบบปรับอากาศ เพื่อให้เครื่ องปรับอากาศที่ซ้ื อมาสามารถทําความเย็นได้อย่างเต็มที่และประหยัด พลงงาน ควรมีการปรับปรุงสิ่งแวดลอมรอบตวบานและหองที่จะติดต้ง ดงน้ ี ั ้ ั ้ ้ ั ั 1. หากห้ องที่ทําการปรับอากาศ มีกระจกส่ วนใหญ่หนไปทางทิศตะวันออก ทิศ ั ตะวนตกหรือทิศใต ้ ควรปลูกต้ นไม้ ใหญ่ บังแดดให้ ผืนกระจก นอกจากนี้ตนไม้ยงทํา ั ้ ั ให้ อากาศนอกอาคารมีอุณหภูมิต่าลง ช่วยลดปริ มาณความร้อนที่ถายเทเข้าสู่หองอีก ํ ่ ้ ดวย ้ น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
  • 10. 2. หากไม่ สามารถปลุกต้ นไม้ ได้ ควรติดตั้งกันสาด ที่ดานนอก ้ อาคารหรื อติดผ้า ม่านหรื อมู่ลี่สีอ่อนที่สามารถปรับมุมใบเกล็ด ไวดานหลงกระจกดานทิศตะวนออก ทิศตะวนตกและ ทิศใต ้ ้้ ั ้ ั ั เพื่อป้องกนมิใหแสงแดดส่องผานแผนกระจกเขามาในหอง ั ้ ่ ่ ้ ้ 3. เหนือฝ้ าเพดานที่เป็ นหลังคา หากสามารถปูแผ่ นใยแก้ วที่มีความ หนา 1 นิว ชนิดมีแผ่ นฟอยล์ (Aluminum foil) หุมแผ่นใยแก้วไว้ ้ ้ ทั้งหมดเหนือแผ่นฝ้ า จะช่วยลดการ ส่งผ่านรังสีความร้อนจากดวง อาทิตย์ เข้ าสู่ ห้องที่มีการปรับอากาศได้ น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
  • 11. 4. พดลมระบายอากาศของหองอาหาร หองรับแขก หองนงเล่น ที่มีการปรับอากาศ ตองมี ั ้ ้ ้ ่ั ้ ขนาดไม่เกิน 6 นิ้ว และเปิ ดเฉพาะกรณี ที่จาเป็ นเท่านั้น เช่น เพื่อระบายกลิ่นอาหาร หรื อ ํ ควนบุหรี่ เพื่อป้องกนมิใหมีการดูดเอาอากาศเยนภายในหองทิ้งออกไปมากเกินควร ทา ั ั ้ ็ ้ ํ ใหหองไม่เยน และเครื่องปรับอากาศต้องทํางานหนัก ควรสูบบุหรี่นอกห้องปรับอากาศ ้ ้ ็ ั เพื่อป้องกนมิใหอากาศภายในหองสกปรก ้ ้ 5. ภายในหองนอนไม่ควรติดต้งพดลมระบายอากาศ หากมีหองน้ าติดกบหองนอน อาจ ้ ั ั ้ ํ ั ้ ติดพัดลมระบายอากาศที่มีขนาดไม่เกิน 6 นิ้วไว้ภายในห้องนํ้าก็ได้ แต่ควรเปิ ดเฉพาะ เมื่อมีการใช้หองนํ้าเท่านั้น ้ น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
  • 12. 6. ควรอุดรู รั่วรอบห้ องให้ สนิท เพื่อ ป้ องกันมิให้อากาศร้อนภายนอกรั่วซึม เข้า สู่หอง หน้าต่างบานเกล็ด ไม่วาจะ ้ ่ เป็ นบานเกล็ดไม้หรื อเกล็ดกระจก มัก มีช่องว่างระหว่างแผ่นเกล็ด มาก ควร แก้ไขหรื อเปลี่ยนใหม่ 7. ควรทาสี ผนังภายนอกอาคารด้ วยสี ขาวหรืออ่ อน จะช่วยลดการนําความ ร้อน ผ่านผนังได้ดี น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
  • 13. การเลือกซื้อเครื่องปรับอากาศ 1. ควรเลือกซ้ื อเครื่องที่มีเครื่องหมายการคาเป็นที่รู้จกทวไป เพราะเป็นเครื่องที่มี ้ ั ั่ คุณภาพสามารถเชื่อถือปริ มาณความเย็นและพิจารณาการสิ้ นเปลืองพลังงานไฟฟ้ า ั ู่ ของตว เครื่องที่ปรากฏอยในแคตตาลอคผผลิตเป็นสาคญ ็ ู้ ํ ั 2. หากเครื่องที่ตองการซ้ื อมีขนาดไม่เกิน 25,000 บีทีย/ู ชม. ควรเลือกเครื่องที่ ผ่าน ้ การรับรองการใช้ พลังงานไฟฟาหมายเลข 5 ซ่ ึ งแสดงวาเป็นเครื่องที่มี ้ ่ ประสิ ทธิภาพสูง ประหยัดพลังงานไฟฟ้ า โดยมีฉลากปิ ดที่ตวเครื่ องให้เห็นได้ ั ่ ั อยางชดเจน 3. ถาตองการซ้ื อเครื่องปรับอากาศที่มีขนาดใหญ่กว่า 25,000 บีทีย/ู ชม.ใหเ้ ลือก ้ ้ เครื่องที่มีการใชไฟไม่เกิน 1.40 กิโลวตตต่อ 1 ตันความเย็นหรื อมีค่า EER (Energy ้ ั ์ Efficiency Ratio) ไม่นอยกวา 8.6 บีทียู ชม./วัตต์ โดยดูจากแคตตาลอคผูผลิต ้ ่ ็ ้ น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
  • 14. การติดตั้งเครื่องปรับอากาศ การติดต้ังเครื่องปรับอากาศที่ผิดวธี โดยเฉพาะใน ิ เครื่องแบบแยกส่วน นอกจาก จะทาใหเ้ ครื่องทา ํ ํ ความเยนไดนอยลงแลว สิ้นเปลืองพลังงานไฟฟา ็ ้ ้ ้ ้ มากขึนอีกด้วย จึงควรให้ความสนใจดังรายละเอียด ้ ต่อไปน้ ี 1. ควรติดต้ังแฟนคอยล์ยูนิต และคอนเดนซิ่ ง ยนิตของเครื่ องแบบแยกส่ วนให้ใกล้ กันมากที่สุด จะ ู ทําให้เครื่ องไม่ตองทํางานหนักในการส่ งสารทํา ้ ความเย็นให้ไหลไปตามท่อ ทั้งยังลดค่าใช้จ่ายใน การเดินท่อและหุมฉนวนตลอดจนลดโอกาสการรั่ว ้ ของสารทําความเย็น น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
  • 15. 2. หุ้มท่ อสารทําความเย็นจากคอนเดนเซอรืไปยงแผงท่อทาความเยน (Cooling coil) ั ํ ็ ของเครื่องแบบแยกส่วนดวยฉนวนที่มีความหนาประมาณ 0.5 นิว หรือตามที่ผผลิต ้ ้ ู้ แนะนํา เพื่อป้ องกันมิให้มีสารทําความเย็นภายในท่อแลกเปลี่ยนความร้อนกับ อากาศภายนอกตามเส้นท่อ 3. ตําแหน่งติดต้ังคอนเดนซิ่งยูนิต (หรื อ เครื่ องแบบหน้าต่าง) ควรอยู่ในที่ร่ม ไม่ ถูก แสงแดดโดยตรง แต่อากาศภายนอกสามารถ ท่ายเทไดสะดวก ไม่ควรอยในที่อบลม หรือคบ ้ ู่ ั ั ่ แคบ ที่วางโดยรอบเครื่ องต้องเพียงพอตามที่ ผผลิตแนะนา ู้ ํ น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
  • 16. 4.ในสถานที่ซ่ ึ งมีการติดตั้งคอนเดนซิ่ งยนิต (หรื อเครื่องแบบหนาต่าง)หลายๆ ชุด ู ้ ้ ั ่ ้ ตองระวงอยาใหลมร้อนที่ระบายออกจากเครื่องชุดหน่ ึงเป่าเขาหาเครื่องอีกชุด ้ หน่ ึง ควรใหลมร้อนจากแต่ละเครื่องเป่าออกไดโดยสะดวก ้ ้ 5. ในบางสถานที่ซ่ ึ งมีลมพดแรงตลอดเวลาในทิศทางเดียว ควรติดต้งคอนเดน ั ั ซิ่ ง ยนิต (หรื อเครื่องแบบหนาต่าง) ใหอากาศร้อนระบายออกจากตวเครื่องอยู่ ู ้ ้ ั ในทิศเดียวกับ กระแสลม อย่าให้ปะทะกับลมธรรมชาติ เพราะจะทําให้เครื่ อง ระบายความร้อนได้ลาบาก ํ 6. ตาแหน่งติดต้งแฟนคอยลยนิต (หรื อเครื่องแบบหนาตาง) ตองใหลมเยนที่จ่าย ํ ั ์ู ้ ่ ้ ้ ็ ออกจากตวเครื่องสามารถกระจายไปทวท้ งหอง ั ่ั ั ้ น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
  • 17. การใช้ งานเครื่องปรับอากาศ การใช้งานเครื่ องปรับอากาศอย่างถูกต้อง ช่วยให้เครื่ อง ํ ่ ทางานอยางมีประสิทธิภาพ และประหยดพลงงานไฟฟ้า ั ั สามารถทําโดยวิธีการดังต่อไปนี้ 1. ปรับตั้งอุณหภูมของห้ องให้ เหมาะสม หองรับแขก หองนงเล่น และหองอาหาร อาจต้ ง ิ ้ ้ ่ั ้ ั อุณหภูมิไม่ให้ต่ากว่า 25 ◌ํ C สาหรับหองนอนน้ นอาจต้ งอุณหภูมิสูงกวาน้ ีได ้ ท้ งน้ ี ํ ํ ้ ั ั ่ ั เพราะร่ างกายมนุษย์ขณะหลับมิได้เคลื่อนไหว อีกทั้งการคายเหงื่อก็ลดลง หากปรับ อุณหภูมิ เป็น 26-28 ◌ํ C ก็ไม่ ทําให้ ร้ ู สึกร้ อนเกินไป แต่ จะช่ วยลดการใช้ ไฟฟ้ าได้ ประมาณร้อยละ 15-20 2. ปิ ดเครื่องปรับอากาศทุกครั้งที่เลิกใช้ งาน หากสามารถ ทราบเวลาที่แน่นอนควรต้ งเวลาการทางานของตวเครื่องไว ้ ั ํ ั ล่วงหนา เพื่อให้เครื่ องหยุดเองโดยอตโนมติ ้ ั ั น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
  • 18. 3. อย่านําสิ่งของไปกีดขวางทางลมเข้าและ ลมออกของคอนเดนซิ่งยูนิตจะทาให้ เครื่อง ํ ระบายความร้อนไม่ออก และตองทางาน ้ ํ หนักมากขึ้น ่ ํ 4. อยานารูปภาพหรือสิ่งของไปขวางทางลม เขาและลมออกของแฟนคอยลยนิต จะ ทา ้ ์ู ํ ใหหองไม่เยน ้ ้ ็ 5. ควรเปิดหลอดไฟและอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ ภายในห้องเฉพาะเท่าที่จาเป็ นต่อการ ใช้ ํ งานเท่าน้ น และปิดทุกคร้ ังเมื่อใชงานเสร็จ ั ้ เพราะหลอดไฟและอุปกรณ์ไฟฟ้าบางชนิด ขณะ เปิดใชงาน จะมีความร้อนออกมาทา ้ ํ ใหอุณหภมิในหองสูงข้ ึน ้ ู ้ น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
  • 19. 6. หลีกเลี่ยงการนําเครื่องครัว หรือภาชนะที่มีผิวหนาร้อนจด เช่น เตาไฟฟ้า กะทะ ้ ั ร้อน หม้อต้มนํ้า หม้อต้มสุ ก้ ี เข้ าไปในห้ องที่มีการปรับอากาศ ควรปรุ งอาหารใน ครัว แล้วจึงนําเข้ามารับประทานภายในห้อง 7. ในช่วงเวลาที่ไม่ใชหองหรือก่อนเปิดเครื่องปรับอากาศสัก 2 ชั่วโมง ควรเปิ ด ้ ้ ประตูหน้ าต่ างทิงไว้เพือให้ อากาศบริสุทธิ์ภายนอกเข้ าไปแทนที่อากาศเก่ าในห้ อง ้ ่ จะช่วยลดกล่ินต่าง ๆ ใหนอยลงโดยไม่จาเป็นตองเปิดพดลมระบายอากาศซื่งจะทํา ้ ้ ํ ้ ั ให้เครื่ องปรับ อากาศทํางานหนักขึ้น น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
  • 20. 8. ควรปิ ดประตู หน้ าต่ างให้ สนิทขณะใช้ งาน เครื่องปรับอากาศ เพื่อป้ องกันมิให้ อากาศร้อนขึ้น จากภายนอกเข้ามา อันจะทําให้เครื่ องต้องทํางาน มากขึ้น 9. ไม่ ควรปลูกต้ นไม้ หรือตากผ้ าภายในห้ องที่มีเครื่องปรับอากาศเพราะ ความชื้น จากสิ่ งเหล่านี้จะทําให้เครื่ องต้องทํางานหนักขึ้น น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
  • 21. การบํารุงรักษาเครื่องปรับอากาศ การบํารุ งรักษาที่ถกต้องและสมํ่าเสมอ ทําให้เครื่ องปรับอากาศมีอายุใช้งานได้ยาว ู นาน มีประสิทธิภาพสูง และประหยดพลงงานไฟฟ้าตลอดเวลา ซ่ ึ งควรปฏิบติดงน้ ี ั ั ั ั 1. หมันทําความสะอาดแผ่ นกรองอากาศทุก ๆ 2 สั ปดาห์ เพื่อให้เครื่ องสามารถ ่ จ่ายความเย็นได้เต็มที่ตลอดเวลา 2. หมันทําความสะอาดแผงท่ อทําความเย็นด้วยแปรงนิ่ ม ๆ และนํ้าผสมสบู่เหลว อย่างอ่อนทุก ่ 6 เดือน เพื่อให้เครื่ องทําความเย็นได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพอยูเ่ สมอ 3. ทําความสะอาดพัดลมส่ งลมเย็นด้วยแปรงขนาดเล็ก เพื่อขจัดฝุ่ นละอองที่จบ กันเป็ นแผ่น ั แข็งและติดกันอยูตามซี่ ใบพัดทุก6 เดือน จะทาใหพดลมส่งลมไดเ้ ตมสมรรถนะ ตลอดเวลา ่ ํ ้ ั ็ 4. ทําความสะอาดแผงท่ อระบายความร้ อน โดยการใช้แปรงนิ่ม ๆ และนํ้าฉี ด ล้างทุก ๆ 6 เดือน เพื่อให้เครื่ องสามารถนําความร้อนภายในห้องออกไปทิ้งให้แก่อากาศ ภายนอกได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 5. หากปรากฏว่าเครื่ องไม่เย็นเพราะสารทําความเย็นรั่ว ต้ องรีบตรวจหารอยรั่วแล้ ว ทําการแก้ ไขพร้ อมเติมให้ เต็มโดยเร็ว มิฉะนั้นเครื่ องจะใช้พลังงานไฟฟ้ าโดยไม่ทาให้เกิดความ ํ เย็นแต่อย่างไร 6. ตรวจสอบฉนวนหุมท่อสารทําความเย็นอย่างสมํ่าเสมอ ้ อย่าให้เกิดฉี กขาด น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093
  • 22. http://www.alinehomecare.com/LinkFrMain.htm http://www.nepo.co.th น.ส.มณีรัตน์ ห่อทรัพย์ สาขา AUD รหัสนิสิต 52011111093