SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
1 
การจัดทาต้นเทียนพรรษาประเภทแกะสลัก 
ต้นเทียนประเภทแกะสลัก เป็นต้นเทียนสมัยใหม่ ทาเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.2502 โดย นายคาหมา 
แสงงาม ต้นเทียนต้นหนึ่งจะใช้ขี้ผึ้งประมาณ 70-100 กิโลกรัม โดยใช้ขี้ผึ้งดีผสมกับขี้ผึ้งชนิดไม่ดี ในอัตราส่วน 5 ต่อ 1 หลังจากหล่อและกลึงต้นเทียนแล้ว จะเริ่มแกะสลักต้นเทียนด้วยขั้นตอน ดังนี้ 
ออกแบบลายที่จะแกะสลัก โดยการร่างทั้งส่วนฐานลาต้นและยอดเทียน ใช้เครื่องมือแกะสลักซึ่งจะมี การเซาะ เจาะ ขีด และขูด ให้เป็นรูปสามมิติ เหมือนของจริง หรือรูปที่ร่างไว้ตามจินตนาการ แก้ไขส่วนที่ บกพร่องในระหว่างการแกะสลัก อาจมีการผิดพลาดได้ เช่น รูปที่แกะมีขนาดเล็กหรือใหญ่เกินไป หรือ บางส่วนแตกหัก ก็ต้องแก้ไขปรับปรุงให้เรียบร้อย 
ÊӹѡÇԷºÃÔ¡Òà ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÍغÅÃÒª¸Ò¹Õ
2 
วัสดุอุปกรณ์ในการจัดทาต้นเทียนประเภทแกะสลัก 
1. เทียนสีเหลือง หรือสีหมากสุก 
2. แกนที่ทาจากท่อเหล็กหรือไม้ หรือท่อปูน 
3. ปูนพลาสเตอร์ใช้สาหรับปั้นหุ่น 
4. อุปกรณ์ที่ใช้ในการต้นเทียน 
1) ถาดเทเทียนที่ทาจากแผ่นสังกะสีหรือแผ่นเหล็กทาเป็นถาดสี่เหลี่ยม ขอบสูง 1 นิ้ว หรือ มากกว่าก็ได้ 
2) ถังหรือปิ๊บใช้สาหรับต้มเทียน 
3) ถ่านหรือฟืนหรือแก๊สใช้สาหรับต้มเทียน 
4) ผงซักฟอกผสมน้า สาหรับใช้ทาถาดเวลาแกะจะได้ง่ายขึ้น 
ÊӹѡÇԷºÃÔ¡Òà ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÍغÅÃÒª¸Ò¹Õ
3 
ส่วนประกอบของลาต้นต้นเทียน 
1. เทียนสีเหลืองหรือสีหมากสุก 
เทียนสีเหลืองจะมีสีสวยงามในเวลากลางวันแต่จะไม่ชัดเจนเวลาดูตอนกลางคืนเมื่อเทียบกับเทียนสี หมากสุก เพราะสีเข้มจะทาให้แสงเงาของลายชัดเจนมากกว่า การมองจะมีมิติมากกว่า แต่สีเหลืองจะดูสะอาด กว่า 
2. แกน 
ปัจจุบันนี้นิยมทาจากท่อเหล็กเพราะหาได้ง่าย เนื่องจากวัดที่ตั้งอยู่ในเขตเมืองจะไม่มีไม้ไผ่ที่จะนามา ทาแกน หรือต้นไม้ที่มีความตรงนั้นหาได้ยาก จึงหันมาเลือกวัสดุที่หาง่ายตามยุคสมัย และ ท่อเหล็กนั้นมีความ แข็งแรงทนทาน ปลอดภัยในการติดตั้ง 
3. ปูน 
ปูนที่ใช้สาหรับปั้นหุ่น นิยมใช้ปูนพลาสเตอร์มากกว่าปูนซีเมนต์ เพราะจะต้องปั้นให้เสร็จและแห้งใน เวลาอันสั้น และช่างจะได้ทาการติดเทียนและแกะสลักได้ทันที ถ้าหากเป็นปูนชนิดอื่นจะแห้งช้ากว่าและเป็น การเสียเวลา ÊӹѡÇԷºÃÔ¡Òà ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÍغÅÃÒª¸Ò¹Õ
4 
การแกะสลักลาต้นเทียน 
1. เตรียมแกนของลาต้น ซึ่งจะเป็นแกนไม้ หรือเหล็ก และไม่ให้มีรูอากาศเข้าแกนกลาง เพราะเวลาที่ เทเทียนๆ จะเข้าไปอยู่ที่ส่วนกลางของแกน ทาให้สิ้นเปลืองเทียนและเสียเวลา บางครั้งจะทาให้เทียนรั่วลงสู่ พื้น และจะต้องทาใหม่ โดยส่วนมากช่างจะสารวจความเรียบร้อยของแกนก่อนการเทต้น เพื่อความปลอดภัย จึงใช้ปูนพลาสเตอร์ปั้นทับแกน หรือวัสดุอย่างอื่น ปิดรูก่อนการเท 
2. แบบเทเทียน ซึ่งบางทีทาจากสังกะสี หรือแผ่นเหล็กคัดโค้งเชื่อมหรือบัดกรีทาเป็นรูปทรงกลม ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางขึ้นอยู่กับประเภทของต้นเทียน ว่าเป็นต้นเทียนขนาดเล็ก หรือขนาดใหญ่ ส่วนมากจะ ใหญ่กว่า 30 เซนติเมตร เพราะเวลามองจากระยะไกล จะเห็นลายเด่นชัด กว่าขนาดเล็ก โดยเฉพาะในเวลา กลางคืน แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นก็จะขึ้นอยู่กับลายที่แกะว่าลายเล็กหรือลายใหญ่ความสูงของต้นเทียน และความส่อง สว่างของไฟสปอตไลท์ที่จะเพิ่มสีสัน และความสวยงาม 
ÊӹѡÇԷºÃÔ¡Òà ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÍغÅÃÒª¸Ò¹Õ
5 
3. การต้มเทียนสาหรับใช้เทลาต้นและใช้สาหรับปั้นหุ่น เทียนที่จะใช้เทลาต้นส่วนใหญ่ 
แล้วจะใช้เทียนที่มีสีเข้ม ซึ่งเมื่อแกะสลักออกมาแล้วจะทาให้เห็นลายสวยงาม ชัดเจน เทียนที่จะใช้เทลาต้นนั้น จะต้องผสมขี้ผึ้งแท้ (ที่มาจากรังผึ้งแท้ๆ) เพราะจะทาให้เหนียว เวลาแกะสลักจะไม่ทาให้ลายแตกหรือหักง่าย และลายมีความคมมากยิ่งขึ้น สาหรับเทียนที่ใช้สาหรับปั้นหุ่นจะมีส่วนผสมของขี้ผึ้งแท้หรือไม่มีก็ได้ เฉพาะ ในการติดหุ่นนั้น เทียนที่ติดจะยังไม่แห้งดีก็ทาการขูด หรือแกะสลักได้เลย 
ระยะเวลาในการเทลาต้นมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความหนาของเทียน และสังเกตว่าลาต้นเทียนนั้น ใช้ได้หรือไม่โดยดูที่ผิวสัมผัสว่าเย็นหรือยัง และเคาะฟังเสียงแล้วจะมีเสียงดังมากกว่าตอนที่เทใหม่ๆ เนื่องจาก เมื่อเทียนเย็นลงแล้วจะหดตัวและไม่ติดโลหะ ทาให้เกิดช่องว่างระหว่างเทียนกับโลหะ ถ้าเคาะแล้วมีเสียงดัง แสดงว่าใช้ได้ 
การแกะแบบเทลาต้นเทียนจะแกะตามรอยตะเข็บที่เชื่อมหรือบัดกรี และสามารถนาแบบนั้นไปใช้ ประโยชน์อย่างอื่น เช่น ถาดเทเทียน หรือเก็บไว้เป็นแบบเทเทียนในปีต่อ ๆ ไป 
ข้อผิดพลาดในการเทเทียน คือ มีรอยบุบ หรือเบี้ยว มีรูอากาศหรือฟองอากาศเล็ก ๆ เต็มไปหมด มี สาเหตุมาจากหลายประการใด 
1. ลาต้นเบี้ยว ไม่กลม มาจากการตั้งแกนไม่ตรง เส้นผ่าศูนย์กลางของต้นไม่ได้ขนาด และความหนา ของเนื้อเทียนไม่สม่าเสมอ 
2. ตัวบังคับแกนของสังกะสีหรือเหล็กไม่กลม 
3.ไม่ได้วางแผนตาแหน่งที่วางแบบเทลาต้น เนื่องจากการจัดทาต้นเทียนนั้นจะอยู่ในช่วงฤดูฝน ถ้า ตาแหน่งที่วางแบบอยู่ใกล้ชายคา เมื่อเทแล้วเกิดฝนตกเทียนด้านที่อยู่ติดชายคานั้นจะแห้งก่อนเพราะความเย็น จากน้าฝน และอีกด้านยังไม่เซ็ทตัว จึงเป็นสาเหตุที่ทาให้ลาต้นเทียนที่ออกมาไม่สวยงาม ไม่เป็นทรงกลม 
ส่วนการเทเทียนสาหรับติดหุ่นนั้นจะไม่ต้องเทให้หนามาก ประมาณ 1 นิ้ว หรือน้อยกว่า จะแตกต่าง จากเทียนที่ใช้สาหรับพอกหรือติดปะซึ่งต้องการความลึกเมื่อแกะสลักแล้วจะทาให้มองดูแล้วมีมิติ 
ÊӹѡÇԷºÃÔ¡Òà ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÍغÅÃÒª¸Ò¹Õ
6 
ขั้นตอนการแกะสลักลาต้นเทียน 
การแกะสลักลาต้นเทียน เริ่มจากการตกแต่งผิวลาต้นให้เรียบ ด้วยการขูดตกแต่ง หรือนาไป กลึงให้กลม แล้วออกแบบลวดลาย ลวดลายที่ออกแบบขึ้นอยู่กับเรื่องราวที่เราจะนาเสนอว่าขบวนรถแห่ของ เราจะเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับอะไร เพราะเรื่องราวที่แกะลาต้นจะต้องสัมพันธ์กันกับเรื่องราวตัวละคนในรถ ขบวนต้นเทียน ตัวละครที่อยู่ในขบวนรถฯ เช่น ลายกินรีเป็นลวดลายที่มีความอ่อนหวาน ลายยักษ์หรือสัตว์ป่า หิมพานต์ ก็จะเป็นลายกระบี่คชะ ซึ่งเป็นลายที่มีความดุในตัวเอง และสามารถดิ้นลายไปตามจินตนาการ 
1. การร่างภาพและลวดลายลงบนลาต้น ช่างที่ยังไม่มีความชานาญพอก็สามารถร่างลายลงบนกระดาษ ไข หรือกระดาษแก้ว แล้วทาการอลกลายลงลนลาต้นเทียน ซึ่งมีข้อเสียคือ จะเกิดรอยต่อด้านหลังซึ่งจะต้องมา แก้ไขจังหวะลายใหม่ ซึ่งจะทาให้ลายที่ได้ไม่ลงตัวทั้งจังหวะและช่องไฟของลวดลาย 
2. การร่างลายลงบนลาต้น เป็นการเขียนลายแบบสดโดยใช้ปากกาเมจิกหรือใช้เหล็กปลายแหลม หรือ ตะปู หรือถ้าหากเป็นช่างที่มีความชานาญจะใช้เกียงแกะสลัก ร่างภาพได้เลย โดยการร่างเบา ๆ ก่อนลงเส้น หนัก และทาการแกะสลัก 
3. เกียงที่ใช้ในการแกะสลักจะมีหลายรูปแบบ หลายขนาด มีทั้งขนาดสั้น ขนาดยาว คม ด้านเดียวหรือ คม สองด้าน ปลายโค้งงอ ปลายใหญ่ ปลายแหลม ปลายเล็กแหลมเรียว แล้วแต่พื้นที่หรือลวดลายที่จะแกะ ส่วนมากช่างจะทาเกียงใช้เอง เพราะสามารถเลือกแบบ รูปทรง ขนาดได้ตามความถนัดและความพอใจ วัสดุที่ ใช้ทาเกียงต้อมีความแข็งแรง ไม่บิดตัวหรือโค้งงอง่าย ไม่เป็นสนิม 
ÊӹѡÇԷºÃÔ¡Òà ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÍغÅÃÒª¸Ò¹Õ
7 
4. เหล็กขูด เป็นอุปกรณ์เสริมอีกอย่างหนึ่ง ใช้ขูดเทียนให้เรียบ เซาะร่องลึกที่มีทั้งหน้ากว้างและหน้า แคบ ขึ้นอยู่กับพื้นที่ที่จะแกะ ช่างบางคนใช้ใบเลื่อยหรือเหล็กแผ่นทั้งเรียบและเป็นคมเลื่อย ใช้ในการขูดพื้นให้ หยาบเหมือนผิวช้างหรือขนสัตว์ 
5. เมื่อร่างภาพเสร็จแล้ว เริ่มแกะจากลายที่มีภาพประกอบก่อนเพราะเป็นส่วนที่นูนสูงก่อนแล้วไล่ไป ตามระดับชั้นของลายหรือช่อลาย แต่ละกลุ่มที่ต้องการความคมชัด โดยเฉพาะกลุ่มลายที่อยู่ด้านข้างของตัวรถ ต้นเทียนซึ่งเป็นจุดที่น่าสนใจและสื่อความหมายได้ชัดเจนมากที่สุด 
ÊӹѡÇԷºÃÔ¡Òà ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÍغÅÃÒª¸Ò¹Õ
8 
6. ลายที่มีความสวยงามอ่อนช้อยในตัวเองคือ ลายที่ถูกต้องตามหลักของลายไทย แต่จังหวัดอุบลราชธานี เป็น จังหวัดชายแดนที่ติดกับประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และเขมร ก็อาจจะมีการซึมซับเอา ลายจากประเทศเหล่านี้เข้ามาบ้าง แต่ก็เป็นเพียงส่วนน้อย เรายังคงเอกลักษณ์ความเป็นไทยอีสาน เหมือนกับ ไทยภาคเหนือและภาคใต้ 
7. ช่างแกะสลักเทียนต้องมีความเชื่อมั่นในตัวเองและมั่นใจในการลงลายแกะสลักเพราะถ้าพลาดก็จะ ทาให้ชิ้นงานนั้นเสียเพราะเทียนนั้นเมื่ออากาศเย็นจะเปราะ แตกหักง่าย แต่ถ้าอากาศร้อนเทียนก็จะละลายหรือ บิดตัว ช่างต้องเอาใจใส่เป็นพิเศษ ซึ่งสิ่งที่สาคัญอีกอย่างหนึ่งในการทางานด้านนี้คืออารมณ์ จะต้องต่อเนื่อง และน้าหนักการลงเกียงจะต้องเท่ากัน 
ÊӹѡÇԷºÃÔ¡Òà ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÍغÅÃÒª¸Ò¹Õ
9 
8. อุณหภูมิเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีส่วนสาคัญในการแกะสลักเทียน ช่างมีความจาเป็นต้องทางานแข่งกับเวลา ฉะนั้น การทางานในช่วงเวลาที่อากาศเย็น หรือช่วงกลางคืนต้องอาศัยเครื่องมือช่วยทาให้เทียนอ่อนตัว ง่ายต่อการแกะ เครื่องมือเหล่านั้น ไม่ว่าจะเป็นสปอตไลท์ เครื่องเป่าความร้อน หรือเตาถ่านมีส่วนสาคัญทาให้งานเสร็จลุล่วง ไปด้วยดี ถ้ามีเศษเทียนแตกหักก็สามารถนามาต้มหลอมใหม่และใช้งานได้ 
9. เมื่อแกะสลักลาต้นเสร็จแล้ว ก็เป็นขั้นตอนการทาหุ่นหรือองค์ประกอบเรื่องราวที่นาเสนอบนรถต้น เทียน ส่วนใหญ่การทาหุ่นจะเริ่มจากทาฐานรองหุ่น มีแกนยึดหุ่น โครงยึดนั้นอาจจะเป็นไม้หรือเหล็กก็ได้แต่ ต้องแข็งแรง เมื่อได้โครงแล้วก็ทาตามข่ายหรือนาใยมะพร้าวมามัดขึ้นรูปหุ่น โดยหุ่นที่ทานั้นจะมีขนาดผอม กว่าของจริง จากนั้นนาใยมะพร้าวผสมกับปูนพลาสเตอร์ปั้น แต่งผิวให้เรียบรอติดเทียน เทียนที่ใช้ติด ใช้วิธีเท เทียนที่ต้มแล้วเทลงในถาดเทียนให้สม่าเสมอ ปล่อยให้เทียนที่เทแล้วนั้นเย็นตัวลงแล้วแกะออกจากถาดเป็น แผ่น ๆ นามาติดเข้ากับหุ่น โดยใช้ความร้อนจากเหล็กที่เผาไฟ หรือหัวแร้งที่เผาไฟหรือเทียนที่ต้มใส่กาน้าร้อน แล้วเทราดลงบนหุ่น และนาเทียนแผ่นที่ได้ติดเข้ากับตัวหุ่น ตกแต่งหุ่นหั้นให้เรียบร้อย และแกะสลัก หรือถ้า ต้องการความนูนก็สามารถพอกและแกะลวดลายให้นูนสวยงาม แค่นี้เราก็จะได้หุ่นที่สวยงามตามที่ต้องการ 
ÊӹѡÇԷºÃÔ¡Òà ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÍغÅÃÒª¸Ò¹Õ
10 
ÊӹѡÇԷºÃÔ¡Òà ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÍغÅÃÒª¸Ò¹Õ
11 
ÊӹѡÇԷºÃÔ¡Òà ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÍغÅÃÒª¸Ò¹Õ
12 
ÊӹѡÇԷºÃÔ¡Òà ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÍغÅÃÒª¸Ò¹Õ
13 
ÊӹѡÇԷºÃÔ¡Òà ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÍغÅÃÒª¸Ò¹Õ

More Related Content

What's hot

สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9supap6259
 
ธุรกิจบริการสุขภาพ
ธุรกิจบริการสุขภาพธุรกิจบริการสุขภาพ
ธุรกิจบริการสุขภาพUtai Sukviwatsirikul
 
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานหน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานJanchai Pokmoonphon
 
กิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์เครื่องยิง
กิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์เครื่องยิงกิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์เครื่องยิง
กิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์เครื่องยิงSilpakorn University
 
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยการอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยThana Chirapiwat
 
แร่ธาตุ
แร่ธาตุแร่ธาตุ
แร่ธาตุJiraporn
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานThanawadee Prim
 
ทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานratanapornwichadee
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
ใบงานที่ 3.3 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3.3 เรื่อง เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3.3 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3.3 เรื่อง เค้าโครงของโครงงานThanawut Rattanadon
 
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.37.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3Wareerut Hunter
 
หมีแพนด้า ฟ้า
หมีแพนด้า ฟ้าหมีแพนด้า ฟ้า
หมีแพนด้า ฟ้าSk'b Methasith
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7supap6259
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)Pinutchaya Nakchumroon
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5supap6259
 

What's hot (20)

สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
ธุรกิจบริการสุขภาพ
ธุรกิจบริการสุขภาพธุรกิจบริการสุขภาพ
ธุรกิจบริการสุขภาพ
 
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานหน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
 
กิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์เครื่องยิง
กิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์เครื่องยิงกิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์เครื่องยิง
กิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์เครื่องยิง
 
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยการอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
 
แร่ธาตุ
แร่ธาตุแร่ธาตุ
แร่ธาตุ
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
 
ทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงาน
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติEvolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
 
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
 
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลายการสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
 
ใบงานที่ 3.3 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3.3 เรื่อง เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3.3 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3.3 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
 
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.37.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
 
หมีแพนด้า ฟ้า
หมีแพนด้า ฟ้าหมีแพนด้า ฟ้า
หมีแพนด้า ฟ้า
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
 

แกะสลักเทียน

  • 1. 1 การจัดทาต้นเทียนพรรษาประเภทแกะสลัก ต้นเทียนประเภทแกะสลัก เป็นต้นเทียนสมัยใหม่ ทาเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.2502 โดย นายคาหมา แสงงาม ต้นเทียนต้นหนึ่งจะใช้ขี้ผึ้งประมาณ 70-100 กิโลกรัม โดยใช้ขี้ผึ้งดีผสมกับขี้ผึ้งชนิดไม่ดี ในอัตราส่วน 5 ต่อ 1 หลังจากหล่อและกลึงต้นเทียนแล้ว จะเริ่มแกะสลักต้นเทียนด้วยขั้นตอน ดังนี้ ออกแบบลายที่จะแกะสลัก โดยการร่างทั้งส่วนฐานลาต้นและยอดเทียน ใช้เครื่องมือแกะสลักซึ่งจะมี การเซาะ เจาะ ขีด และขูด ให้เป็นรูปสามมิติ เหมือนของจริง หรือรูปที่ร่างไว้ตามจินตนาการ แก้ไขส่วนที่ บกพร่องในระหว่างการแกะสลัก อาจมีการผิดพลาดได้ เช่น รูปที่แกะมีขนาดเล็กหรือใหญ่เกินไป หรือ บางส่วนแตกหัก ก็ต้องแก้ไขปรับปรุงให้เรียบร้อย ÊӹѡÇԷºÃÔ¡Òà ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÍغÅÃÒª¸Ò¹Õ
  • 2. 2 วัสดุอุปกรณ์ในการจัดทาต้นเทียนประเภทแกะสลัก 1. เทียนสีเหลือง หรือสีหมากสุก 2. แกนที่ทาจากท่อเหล็กหรือไม้ หรือท่อปูน 3. ปูนพลาสเตอร์ใช้สาหรับปั้นหุ่น 4. อุปกรณ์ที่ใช้ในการต้นเทียน 1) ถาดเทเทียนที่ทาจากแผ่นสังกะสีหรือแผ่นเหล็กทาเป็นถาดสี่เหลี่ยม ขอบสูง 1 นิ้ว หรือ มากกว่าก็ได้ 2) ถังหรือปิ๊บใช้สาหรับต้มเทียน 3) ถ่านหรือฟืนหรือแก๊สใช้สาหรับต้มเทียน 4) ผงซักฟอกผสมน้า สาหรับใช้ทาถาดเวลาแกะจะได้ง่ายขึ้น ÊӹѡÇԷºÃÔ¡Òà ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÍغÅÃÒª¸Ò¹Õ
  • 3. 3 ส่วนประกอบของลาต้นต้นเทียน 1. เทียนสีเหลืองหรือสีหมากสุก เทียนสีเหลืองจะมีสีสวยงามในเวลากลางวันแต่จะไม่ชัดเจนเวลาดูตอนกลางคืนเมื่อเทียบกับเทียนสี หมากสุก เพราะสีเข้มจะทาให้แสงเงาของลายชัดเจนมากกว่า การมองจะมีมิติมากกว่า แต่สีเหลืองจะดูสะอาด กว่า 2. แกน ปัจจุบันนี้นิยมทาจากท่อเหล็กเพราะหาได้ง่าย เนื่องจากวัดที่ตั้งอยู่ในเขตเมืองจะไม่มีไม้ไผ่ที่จะนามา ทาแกน หรือต้นไม้ที่มีความตรงนั้นหาได้ยาก จึงหันมาเลือกวัสดุที่หาง่ายตามยุคสมัย และ ท่อเหล็กนั้นมีความ แข็งแรงทนทาน ปลอดภัยในการติดตั้ง 3. ปูน ปูนที่ใช้สาหรับปั้นหุ่น นิยมใช้ปูนพลาสเตอร์มากกว่าปูนซีเมนต์ เพราะจะต้องปั้นให้เสร็จและแห้งใน เวลาอันสั้น และช่างจะได้ทาการติดเทียนและแกะสลักได้ทันที ถ้าหากเป็นปูนชนิดอื่นจะแห้งช้ากว่าและเป็น การเสียเวลา ÊӹѡÇԷºÃÔ¡Òà ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÍغÅÃÒª¸Ò¹Õ
  • 4. 4 การแกะสลักลาต้นเทียน 1. เตรียมแกนของลาต้น ซึ่งจะเป็นแกนไม้ หรือเหล็ก และไม่ให้มีรูอากาศเข้าแกนกลาง เพราะเวลาที่ เทเทียนๆ จะเข้าไปอยู่ที่ส่วนกลางของแกน ทาให้สิ้นเปลืองเทียนและเสียเวลา บางครั้งจะทาให้เทียนรั่วลงสู่ พื้น และจะต้องทาใหม่ โดยส่วนมากช่างจะสารวจความเรียบร้อยของแกนก่อนการเทต้น เพื่อความปลอดภัย จึงใช้ปูนพลาสเตอร์ปั้นทับแกน หรือวัสดุอย่างอื่น ปิดรูก่อนการเท 2. แบบเทเทียน ซึ่งบางทีทาจากสังกะสี หรือแผ่นเหล็กคัดโค้งเชื่อมหรือบัดกรีทาเป็นรูปทรงกลม ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางขึ้นอยู่กับประเภทของต้นเทียน ว่าเป็นต้นเทียนขนาดเล็ก หรือขนาดใหญ่ ส่วนมากจะ ใหญ่กว่า 30 เซนติเมตร เพราะเวลามองจากระยะไกล จะเห็นลายเด่นชัด กว่าขนาดเล็ก โดยเฉพาะในเวลา กลางคืน แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นก็จะขึ้นอยู่กับลายที่แกะว่าลายเล็กหรือลายใหญ่ความสูงของต้นเทียน และความส่อง สว่างของไฟสปอตไลท์ที่จะเพิ่มสีสัน และความสวยงาม ÊӹѡÇԷºÃÔ¡Òà ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÍغÅÃÒª¸Ò¹Õ
  • 5. 5 3. การต้มเทียนสาหรับใช้เทลาต้นและใช้สาหรับปั้นหุ่น เทียนที่จะใช้เทลาต้นส่วนใหญ่ แล้วจะใช้เทียนที่มีสีเข้ม ซึ่งเมื่อแกะสลักออกมาแล้วจะทาให้เห็นลายสวยงาม ชัดเจน เทียนที่จะใช้เทลาต้นนั้น จะต้องผสมขี้ผึ้งแท้ (ที่มาจากรังผึ้งแท้ๆ) เพราะจะทาให้เหนียว เวลาแกะสลักจะไม่ทาให้ลายแตกหรือหักง่าย และลายมีความคมมากยิ่งขึ้น สาหรับเทียนที่ใช้สาหรับปั้นหุ่นจะมีส่วนผสมของขี้ผึ้งแท้หรือไม่มีก็ได้ เฉพาะ ในการติดหุ่นนั้น เทียนที่ติดจะยังไม่แห้งดีก็ทาการขูด หรือแกะสลักได้เลย ระยะเวลาในการเทลาต้นมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความหนาของเทียน และสังเกตว่าลาต้นเทียนนั้น ใช้ได้หรือไม่โดยดูที่ผิวสัมผัสว่าเย็นหรือยัง และเคาะฟังเสียงแล้วจะมีเสียงดังมากกว่าตอนที่เทใหม่ๆ เนื่องจาก เมื่อเทียนเย็นลงแล้วจะหดตัวและไม่ติดโลหะ ทาให้เกิดช่องว่างระหว่างเทียนกับโลหะ ถ้าเคาะแล้วมีเสียงดัง แสดงว่าใช้ได้ การแกะแบบเทลาต้นเทียนจะแกะตามรอยตะเข็บที่เชื่อมหรือบัดกรี และสามารถนาแบบนั้นไปใช้ ประโยชน์อย่างอื่น เช่น ถาดเทเทียน หรือเก็บไว้เป็นแบบเทเทียนในปีต่อ ๆ ไป ข้อผิดพลาดในการเทเทียน คือ มีรอยบุบ หรือเบี้ยว มีรูอากาศหรือฟองอากาศเล็ก ๆ เต็มไปหมด มี สาเหตุมาจากหลายประการใด 1. ลาต้นเบี้ยว ไม่กลม มาจากการตั้งแกนไม่ตรง เส้นผ่าศูนย์กลางของต้นไม่ได้ขนาด และความหนา ของเนื้อเทียนไม่สม่าเสมอ 2. ตัวบังคับแกนของสังกะสีหรือเหล็กไม่กลม 3.ไม่ได้วางแผนตาแหน่งที่วางแบบเทลาต้น เนื่องจากการจัดทาต้นเทียนนั้นจะอยู่ในช่วงฤดูฝน ถ้า ตาแหน่งที่วางแบบอยู่ใกล้ชายคา เมื่อเทแล้วเกิดฝนตกเทียนด้านที่อยู่ติดชายคานั้นจะแห้งก่อนเพราะความเย็น จากน้าฝน และอีกด้านยังไม่เซ็ทตัว จึงเป็นสาเหตุที่ทาให้ลาต้นเทียนที่ออกมาไม่สวยงาม ไม่เป็นทรงกลม ส่วนการเทเทียนสาหรับติดหุ่นนั้นจะไม่ต้องเทให้หนามาก ประมาณ 1 นิ้ว หรือน้อยกว่า จะแตกต่าง จากเทียนที่ใช้สาหรับพอกหรือติดปะซึ่งต้องการความลึกเมื่อแกะสลักแล้วจะทาให้มองดูแล้วมีมิติ ÊӹѡÇԷºÃÔ¡Òà ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÍغÅÃÒª¸Ò¹Õ
  • 6. 6 ขั้นตอนการแกะสลักลาต้นเทียน การแกะสลักลาต้นเทียน เริ่มจากการตกแต่งผิวลาต้นให้เรียบ ด้วยการขูดตกแต่ง หรือนาไป กลึงให้กลม แล้วออกแบบลวดลาย ลวดลายที่ออกแบบขึ้นอยู่กับเรื่องราวที่เราจะนาเสนอว่าขบวนรถแห่ของ เราจะเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับอะไร เพราะเรื่องราวที่แกะลาต้นจะต้องสัมพันธ์กันกับเรื่องราวตัวละคนในรถ ขบวนต้นเทียน ตัวละครที่อยู่ในขบวนรถฯ เช่น ลายกินรีเป็นลวดลายที่มีความอ่อนหวาน ลายยักษ์หรือสัตว์ป่า หิมพานต์ ก็จะเป็นลายกระบี่คชะ ซึ่งเป็นลายที่มีความดุในตัวเอง และสามารถดิ้นลายไปตามจินตนาการ 1. การร่างภาพและลวดลายลงบนลาต้น ช่างที่ยังไม่มีความชานาญพอก็สามารถร่างลายลงบนกระดาษ ไข หรือกระดาษแก้ว แล้วทาการอลกลายลงลนลาต้นเทียน ซึ่งมีข้อเสียคือ จะเกิดรอยต่อด้านหลังซึ่งจะต้องมา แก้ไขจังหวะลายใหม่ ซึ่งจะทาให้ลายที่ได้ไม่ลงตัวทั้งจังหวะและช่องไฟของลวดลาย 2. การร่างลายลงบนลาต้น เป็นการเขียนลายแบบสดโดยใช้ปากกาเมจิกหรือใช้เหล็กปลายแหลม หรือ ตะปู หรือถ้าหากเป็นช่างที่มีความชานาญจะใช้เกียงแกะสลัก ร่างภาพได้เลย โดยการร่างเบา ๆ ก่อนลงเส้น หนัก และทาการแกะสลัก 3. เกียงที่ใช้ในการแกะสลักจะมีหลายรูปแบบ หลายขนาด มีทั้งขนาดสั้น ขนาดยาว คม ด้านเดียวหรือ คม สองด้าน ปลายโค้งงอ ปลายใหญ่ ปลายแหลม ปลายเล็กแหลมเรียว แล้วแต่พื้นที่หรือลวดลายที่จะแกะ ส่วนมากช่างจะทาเกียงใช้เอง เพราะสามารถเลือกแบบ รูปทรง ขนาดได้ตามความถนัดและความพอใจ วัสดุที่ ใช้ทาเกียงต้อมีความแข็งแรง ไม่บิดตัวหรือโค้งงอง่าย ไม่เป็นสนิม ÊӹѡÇԷºÃÔ¡Òà ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÍغÅÃÒª¸Ò¹Õ
  • 7. 7 4. เหล็กขูด เป็นอุปกรณ์เสริมอีกอย่างหนึ่ง ใช้ขูดเทียนให้เรียบ เซาะร่องลึกที่มีทั้งหน้ากว้างและหน้า แคบ ขึ้นอยู่กับพื้นที่ที่จะแกะ ช่างบางคนใช้ใบเลื่อยหรือเหล็กแผ่นทั้งเรียบและเป็นคมเลื่อย ใช้ในการขูดพื้นให้ หยาบเหมือนผิวช้างหรือขนสัตว์ 5. เมื่อร่างภาพเสร็จแล้ว เริ่มแกะจากลายที่มีภาพประกอบก่อนเพราะเป็นส่วนที่นูนสูงก่อนแล้วไล่ไป ตามระดับชั้นของลายหรือช่อลาย แต่ละกลุ่มที่ต้องการความคมชัด โดยเฉพาะกลุ่มลายที่อยู่ด้านข้างของตัวรถ ต้นเทียนซึ่งเป็นจุดที่น่าสนใจและสื่อความหมายได้ชัดเจนมากที่สุด ÊӹѡÇԷºÃÔ¡Òà ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÍغÅÃÒª¸Ò¹Õ
  • 8. 8 6. ลายที่มีความสวยงามอ่อนช้อยในตัวเองคือ ลายที่ถูกต้องตามหลักของลายไทย แต่จังหวัดอุบลราชธานี เป็น จังหวัดชายแดนที่ติดกับประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และเขมร ก็อาจจะมีการซึมซับเอา ลายจากประเทศเหล่านี้เข้ามาบ้าง แต่ก็เป็นเพียงส่วนน้อย เรายังคงเอกลักษณ์ความเป็นไทยอีสาน เหมือนกับ ไทยภาคเหนือและภาคใต้ 7. ช่างแกะสลักเทียนต้องมีความเชื่อมั่นในตัวเองและมั่นใจในการลงลายแกะสลักเพราะถ้าพลาดก็จะ ทาให้ชิ้นงานนั้นเสียเพราะเทียนนั้นเมื่ออากาศเย็นจะเปราะ แตกหักง่าย แต่ถ้าอากาศร้อนเทียนก็จะละลายหรือ บิดตัว ช่างต้องเอาใจใส่เป็นพิเศษ ซึ่งสิ่งที่สาคัญอีกอย่างหนึ่งในการทางานด้านนี้คืออารมณ์ จะต้องต่อเนื่อง และน้าหนักการลงเกียงจะต้องเท่ากัน ÊӹѡÇԷºÃÔ¡Òà ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÍغÅÃÒª¸Ò¹Õ
  • 9. 9 8. อุณหภูมิเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีส่วนสาคัญในการแกะสลักเทียน ช่างมีความจาเป็นต้องทางานแข่งกับเวลา ฉะนั้น การทางานในช่วงเวลาที่อากาศเย็น หรือช่วงกลางคืนต้องอาศัยเครื่องมือช่วยทาให้เทียนอ่อนตัว ง่ายต่อการแกะ เครื่องมือเหล่านั้น ไม่ว่าจะเป็นสปอตไลท์ เครื่องเป่าความร้อน หรือเตาถ่านมีส่วนสาคัญทาให้งานเสร็จลุล่วง ไปด้วยดี ถ้ามีเศษเทียนแตกหักก็สามารถนามาต้มหลอมใหม่และใช้งานได้ 9. เมื่อแกะสลักลาต้นเสร็จแล้ว ก็เป็นขั้นตอนการทาหุ่นหรือองค์ประกอบเรื่องราวที่นาเสนอบนรถต้น เทียน ส่วนใหญ่การทาหุ่นจะเริ่มจากทาฐานรองหุ่น มีแกนยึดหุ่น โครงยึดนั้นอาจจะเป็นไม้หรือเหล็กก็ได้แต่ ต้องแข็งแรง เมื่อได้โครงแล้วก็ทาตามข่ายหรือนาใยมะพร้าวมามัดขึ้นรูปหุ่น โดยหุ่นที่ทานั้นจะมีขนาดผอม กว่าของจริง จากนั้นนาใยมะพร้าวผสมกับปูนพลาสเตอร์ปั้น แต่งผิวให้เรียบรอติดเทียน เทียนที่ใช้ติด ใช้วิธีเท เทียนที่ต้มแล้วเทลงในถาดเทียนให้สม่าเสมอ ปล่อยให้เทียนที่เทแล้วนั้นเย็นตัวลงแล้วแกะออกจากถาดเป็น แผ่น ๆ นามาติดเข้ากับหุ่น โดยใช้ความร้อนจากเหล็กที่เผาไฟ หรือหัวแร้งที่เผาไฟหรือเทียนที่ต้มใส่กาน้าร้อน แล้วเทราดลงบนหุ่น และนาเทียนแผ่นที่ได้ติดเข้ากับตัวหุ่น ตกแต่งหุ่นหั้นให้เรียบร้อย และแกะสลัก หรือถ้า ต้องการความนูนก็สามารถพอกและแกะลวดลายให้นูนสวยงาม แค่นี้เราก็จะได้หุ่นที่สวยงามตามที่ต้องการ ÊӹѡÇԷºÃÔ¡Òà ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÍغÅÃÒª¸Ò¹Õ