SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
เป็นโครงงานประยุกต์ใช้งาน เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการ สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงใน
ชีวิตประจาวัน อาทิเช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่งภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี และ
ซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้
สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพ
สูงขึ้น โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการ
ออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้นๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรือทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับ
ปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้ผู้เรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และ
เครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
ตัวอย่างโครงงาน 1
ชื่อโครงงาน การศึกษา Computer Generated Hologram และ การประยุกต์ใช้งานอย่างง่าย ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย
ไพโรจน์ ศิรินามารัตนะ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ศ.ดร.สมศักดิ์ ปัญญาแก้ว สถาบันการศึกษา นิสิตระดับปริญญาตรีปีที่ 3
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่อ
การถ่ายภาพ hologram ด้วยแสงเลเซอร์ (Laser hologram) คือ การบันทึกรูปแบบการแทรกสอด (Interference pattern)
ของแสง 2 ขบวน คือ แสงที่มาจากวัตถุ (Object beam) กับ แสงอ้างอิง (Reference beam) ลงบนrecording medium โดย
การฉายแสงอ้างอิง ที่ตาแหน่งเดิมกับ recording medium อีกครั้งหนึ่ง ก็จะสามารถเห็นภาพวัตถุเป็นแบบ 3 มิติได้
จากการศึกษาการเกิดภาพ 3 มิติ ด้วยวิธีข้างต้น เกิดจากการที่แสงอ้างอิงผ่าน recording medium โดยอาศัยหลักการแทรก
สอดและเลี้ยวเบนของแสง เมื่อเรารู้ว่าแสงอ้างอิงมีลักษณะอย่างไร และเราต้องการวัตถุ 3 มิติแบบไหน เราก็จะจะ
สามารถคานวณรูปแบบการแทรกสอดบน recording medium, นั้นได้ จากนั้นก็สามารถสร้างรูปแบบการแทรกสอดที่
เราคานวณได้ด้วยวิธี Laser writing หรือ electron Lithography เป็นต้น ซึ่งhologram ที่ได้นี้ถูกเรียกว่า Computer
Generated Hologram (CGH)
การประยุกต์ใช้งาน CGH ที่เห็นได้ชัดก็เช่น การสร้างภาพ 3D holographic Television ซึ่งการคานวณ Interference
pattern และการ lithographyเพื่อให้ได้ภาพ 3D ที่ชัดเจนเป็นสิ่งที่ทายากส่วนที่ง่ายลงมาก็คือการใช้ CGH ในการบังคับ
ลาแสงให้เป็นรูปแบบต่างๆ โดยอาจทาเป็น Lens รวมแสง,กระจายแสงให้เป็นรูปสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม ซึ่งสามารถนา
ประยุกต์ใช้งานเป็น Holographic transmitterใน Optical Wireless LANS Systemหรือการทา Holographic Solar
Concentrator เป็นต้น
ตัวอย่างโครงงาน 2
ชื่อโครงงาน การประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า ชื่อผู้ทาโครงงาน นายสรรเสริญ
ขันทอง,นายชัยวัฒน์ ศิระวัฒนานนท์,นายทรงศักดิ์ แซ่จึง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ธิดารัตน์ ต่อสุข
สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน
1/1/2551 บทคัดย่อ การ ประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า (Shopping Helper using
Barcode with Mobile Application) มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้บริโภคทราบถึงรายละเอียดของสินค้าและค่าใช้จ่ายใน การ
เลือกซื้อสินค้าในแต่ละครั้ง โดยการพัฒนาระบบใหม่ซึ่งประยุกต์ใช้การอ่านบาร์โค้ด 2 มิติด้วยกล้องจาก
โทรศัพท์เคลื่อนที่ เนื่องจากเดิมสินค้ามีการระบุข้อมูลโดยใช้บาร์โค้ด 1 มิติเท่านั้น ซึ่งปัจจุบันสินค้าแต่ละชนิดมีข้อมูลที่
ใช้ในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า จานวนมากจึงเสนอแนวคิดในการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ด 2 มิติที่สามารถบรรจุ
ข้อมูลได้มากขึ้น และนามาประยุกต์ใช้บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยระบบการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับ
โทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า จะใช้กล้องบนโทรศัพท์เคลื่อนที่อ่านบาร์โค้ด 2 มิติ เพื่อให้สามารถบอก
รายละเอียดของสินค้าเพื่อช่วยในการตัดสินใจเลือกซื้อ สินค้า ตรวจสอบค่าใช้จ่ายของสินค้าทั้งหมดที่เลือกให้อยู่ใน
งบประมาณที่ตั้งไว้ระบบจะทาการแจ้งเตือน เมื่อผู้บริโภคใช้จ่ายสินค้าเกินงบประมาณที่กาหนด ซึ่งระบบจะมีการนา
ข้อมูลชนิดสินค้า รายละเอียดสินค้า ราคาสินค้า จากฐานข้อมูล และผู้บริโภคสามารถนารายละเอียดของสินค้ามา
เปรียบเทียบกันได้ โดยระบบนี้จะแบ่งการทางานออกเป็นส่วน ๆ คือระบบการสร้างรหัสบาร์โค้ดจากข้อมูลรายละเอียด
ของสินค้าของผู้ให้บริการ และระบบการให้บริการโดยแสดงรายละเอียดสินค้า การเลือกซื้อสินค้าบนโทรศัพท์เคลื่อนที่
แจ้งเตือนงบประมาณที่เกินกาหนด ยกเลิกสินค้าที่ไม่ต้องการ และระบบจะตรวจสอบการรวมราคาของสินค้านั้นก่อนที่
จะไปชาระค่าสินค้า เพื่อให้ผู้บริโภคทราบราคารวมของสินค้านั้นตรงกับราคาที่ต้องชาระจริง ซึ่งจะอานวยความสะดวก
ในการจัดสรรเลือกซื้อสินค้าตามงบประมาณของผู้บริโภคได้
ตัวอย่างโครงงาน 3
ชื่อโครงงาน การ ประยุกต์ใช้แบบรูปการเคลื่อนที่ของดาวเปราะในแบบรูปการเคลื่อนที่ของหุ่น ยนต์ The Application
of Brittle Star Locomotion Patterns for Robotic Locomotion โปรแกรมเพื่อประยุกต์การใช้งาน (นักเรียน) ชื่อผู้ทา
โครงงาน นางสาวสุพิชญา สุจริยากุล, นายพิลิปดา เหลืองประเสริฐ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร.สโรช ไทร
เมฆ สถาบันการศึกษา โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ ระดับชั้น มัธยมปลาย หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทา
โครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่อ โปรแกรม นี้ เขียนขึ้นเพื่อใช้ในการศึกษาการเคลื่อนที่ หรือการเคลื่อนไหวของวัตถุที่เรา
สนใจ (ซึ่งในที่นี้เน้นเรื่องหุ่นยนต์) โดยรับข้อมูลจากภาพเคลื่อนไหวที่บันทึกจากกล้องที่อยู่นิ่ง มาวิเคราะห์ถึงข้อมูล
ต่างๆ อันได้แก่ ตาแหน่ง ตาแหน่งของส่วนต่างๆ ความเร็ว การหมุน ซึ่งในขณะนี้โปรแกรมกาลังถูกพัฒนาให้สามารถ
ทางานได้ตามดังที่กล่าวไว้ข้าง ต้น โดยในขณะนี้สามารถตรวจจับความเปลี่ยนแปลงของภาพได้แต่ยังไม่สามารถระบุ
ตาแหน่งที่ชัดเจนได้เนื่องจากสิ่งที่เราสนใจไม่จาเป็นจะมีลักษณะเป็นก้อน อาจมีส่วนแขนยื่นออกมา และมี
มากกว่า 1 ส่วนที่กาลังเคลื่อนที่ เช่น ส่วนหนึ่งเคลื่อนไปด้านหน้า อีกส่วนหนึ่งเคลื่อนไปด้านหลัง เป็นต้น
ตัวอย่างโครงงาน 4
ชื่อโครงงาน การประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า ชื่อผู้ทาโครงงาน นายสรรเสริญ
ขันทอง,นายชัยวัฒน์ ศิระวัฒนานนท์,นายทรงศักดิ์ แซ่จึง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ธิดารัตน์ ต่อสุข
สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน
1/1/2551 บทคัดย่อ การ ประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า (Shopping Helper using
Barcode with Mobile Application) มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้บริโภคทราบถึงรายละเอียดของสินค้าและค่าใช้จ่ายใน การ
เลือกซื้อสินค้าในแต่ละครั้ง โดยการพัฒนาระบบใหม่ซึ่งประยุกต์ใช้การอ่านบาร์โค้ด 2 มิติด้วยกล้องจาก
โทรศัพท์เคลื่อนที่ เนื่องจากเดิมสินค้ามีการระบุข้อมูลโดยใช้บาร์โค้ด 1 มิติเท่านั้น ซึ่งปัจจุบันสินค้าแต่ละชนิดมีข้อมูลที่
ใช้ในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า จานวนมากจึงเสนอแนวคิดในการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ด 2 มิติที่สามารถบรรจุ
ข้อมูลได้มากขึ้น และนามาประยุกต์ใช้บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยระบบการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับ
โทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า จะใช้กล้องบนโทรศัพท์เคลื่อนที่อ่านบาร์โค้ด 2 มิติ เพื่อให้สามารถบอก
รายละเอียดของสินค้าเพื่อช่วยในการตัดสินใจเลือกซื้อ สินค้า ตรวจสอบค่าใช้จ่ายของสินค้าทั้งหมดที่เลือกให้อยู่ใน
งบประมาณที่ตั้งไว้ระบบจะทาการแจ้งเตือน เมื่อผู้บริโภคใช้จ่ายสินค้าเกินงบประมาณที่กาหนด ซึ่งระบบจะมีการนา
ข้อมูลชนิดสินค้า รายละเอียดสินค้า ราคาสินค้า จากฐานข้อมูล และผู้บริโภคสามารถนารายละเอียดของสินค้ามา
เปรียบเทียบกันได้ โดยระบบนี้จะแบ่งการทางานออกเป็นส่วน ๆ คือระบบการสร้างรหัสบาร์โค้ดจากข้อมูลรายละเอียด
ของสินค้าของผู้ให้บริการ และระบบการให้บริการโดยแสดงรายละเอียดสินค้า การเลือกซื้อสินค้าบนโทรศัพท์เคลื่อนที่
แจ้งเตือนงบประมาณที่เกินกาหนด ยกเลิกสินค้าที่ไม่ต้องการ และระบบจะตรวจสอบการรวมราคาของสินค้านั้นก่อนที่
จะไปชาระค่าสินค้า เพื่อให้ผู้บริโภคทราบราคารวมของสินค้านั้นตรงกับราคาที่ต้องชาระจริง ซึ่งจะอานวยความสะดวก
ในการจัดสรรเลือกซื้อสินค้าตามงบประมาณของผู้บริโภคได้
ตัวอย่างโครงงาน 5
ชื่อโครงงาน โปรแกรมประยุกต์พจนานุกรมสาหรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพ ประเภท Mobile Application ชื่อ
ผู้ทาโครงงาน นาย วรพงศ์โรจน์เรืองมาศ , นางสาว ศุภิสรา จันทราภิสิทธิ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร. รัชลิดา ลิปิกรณ์
สถาบันการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน
1/1/2541 บทคัดย่อ โปรแกรม พจนานุกรมสาหรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพนี้ ได้ถูกพัฒนามาจากโปรแกรม
แบบเดิมที่ผู้ใช้ต้องพิมพ์คาศัพท์โดยกดปุ่มตัวเลข เพื่อหาความหมาย เพื่อให้ผู้ใช้สะดวกสบายในการใช้งานเพียงแค่
ถ่ายภาพคาศัพท์ที่ต้องการ รวมถึงระบบการใช้งานที่เข้าใจง่าย และสามารถใช้งานได้จากที่ใดก็ได้ทั้งนี้ยังคงมีรูปแบบ
การพิมพ์คาศัพท์แบบเดิมอยู่
โปรแกรมพจนานุกรมสาหรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนของโปรแกรมบน
โทรศัพท์มือถือ และส่วนเซิร์ฟเวอร์ โดยผู้ใช้สามารถคีย์หรือถ่ายภาพคาศัพท์บนโทรศัพท์มือถือ แล้วส่งคา หรือภาพถ่าย
นั้นผ่านเครือข่าย ไปยังเครื่องเซิร์ฟเวอร์ โดยให้เครื่องเซิร์ฟเวอร์ทาการวิเคราะห์ภาพคาศัพท์ออกมาเป็นตัวอักษร ด้วย
หลักการการประมวลผลภาพ และหาความหมายคาศัพท์นั้นจากฐานข้อมูลคาศัพท์ จากนั้นจึงส่งความหมายของคาศัพท์
กลับมายังโทรศัพท์มือถือ
Credit
http://www.thaigoodview.com/node/17030?page=0%2C7
http://www.slideshare.net/Zikkapoo/ss-13963683
http://www.vcharkarn.com/project/view/689
ขออนุญาตนามาลงเพื่อการศึกษานะคะ

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (10)

RESORT SÃO PEDRO - GUARUJÁ - BORG
RESORT SÃO PEDRO - GUARUJÁ - BORGRESORT SÃO PEDRO - GUARUJÁ - BORG
RESORT SÃO PEDRO - GUARUJÁ - BORG
 
Quadros Interactivos
Quadros InteractivosQuadros Interactivos
Quadros Interactivos
 
Evaluación de desempeño
Evaluación de desempeñoEvaluación de desempeño
Evaluación de desempeño
 
Por que as empresas falham?
Por que as empresas falham?Por que as empresas falham?
Por que as empresas falham?
 
Convocatoria de prensa 50final sombras de gay (4)
Convocatoria de prensa 50final sombras de gay (4)Convocatoria de prensa 50final sombras de gay (4)
Convocatoria de prensa 50final sombras de gay (4)
 
Excel word- verknüpfung
Excel  word- verknüpfungExcel  word- verknüpfung
Excel word- verknüpfung
 
Trabajo de algoritmia
Trabajo de algoritmiaTrabajo de algoritmia
Trabajo de algoritmia
 
Erik erikson
Erik eriksonErik erikson
Erik erikson
 
Six sigma
Six sigmaSix sigma
Six sigma
 
Qué son los valores actividad compu
Qué son los valores  actividad compuQué son los valores  actividad compu
Qué son los valores actividad compu
 

Similar to งานK7 (1)

การประยุกต์ใช้งาน
การประยุกต์ใช้งานการประยุกต์ใช้งาน
การประยุกต์ใช้งานdgnjamez
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7Kubgife Yrc
 
ใบงานที่ 7 นะจ้ะ
ใบงานที่ 7 นะจ้ะใบงานที่ 7 นะจ้ะ
ใบงานที่ 7 นะจ้ะKoNg KoNgpop
 
ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7Chanon Saiatit
 
ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7Phakphoom
 
ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7muk Mook
 
ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7muk Mook
 
ใบงานท 7 โครงงานประเภท การประย_กต_ใช_งาน
ใบงานท   7  โครงงานประเภท การประย_กต_ใช_งานใบงานท   7  โครงงานประเภท การประย_กต_ใช_งาน
ใบงานท 7 โครงงานประเภท การประย_กต_ใช_งานChet Pasteurized
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทไทด์ ป่วง แพ่ง
 
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานFilm'film Kachamad
 
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานFilm'film Kachamad
 
ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8minimalistknont
 
ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8Nontt' Panich
 
ใบงานที่7
ใบงานที่7ใบงานที่7
ใบงานที่7Nontt' Panich
 
ใบงานที่7
ใบงานที่7ใบงานที่7
ใบงานที่7minimalistknont
 

Similar to งานK7 (1) (20)

การประยุกต์ใช้งาน
การประยุกต์ใช้งานการประยุกต์ใช้งาน
การประยุกต์ใช้งาน
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
ใบงานที่ 7 นะจ้ะ
ใบงานที่ 7 นะจ้ะใบงานที่ 7 นะจ้ะ
ใบงานที่ 7 นะจ้ะ
 
1234 new
1234 new1234 new
1234 new
 
ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7
 
ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7
 
ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7
 
ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7
 
ใบงาน 7
ใบงาน 7ใบงาน 7
ใบงาน 7
 
ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7
 
ใบงานท 7 โครงงานประเภท การประย_กต_ใช_งาน
ใบงานท   7  โครงงานประเภท การประย_กต_ใช_งานใบงานท   7  โครงงานประเภท การประย_กต_ใช_งาน
ใบงานท 7 โครงงานประเภท การประย_กต_ใช_งาน
 
6
66
6
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท
 
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8
 
ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8
 
ใบงานที่7
ใบงานที่7ใบงานที่7
ใบงานที่7
 
ใบงานที่7
ใบงานที่7ใบงานที่7
ใบงานที่7
 
K8
K8K8
K8
 

More from Supicha Niemsup (16)

Www123
Www123Www123
Www123
 
K8
K8K8
K8
 
K6
K6K6
K6
 
งานK5
งานK5งานK5
งานK5
 
K4
K4K4
K4
 
K2
K2K2
K2
 
Blog 1
Blog 1Blog 1
Blog 1
 
Pat7.4
Pat7.4Pat7.4
Pat7.4
 
Pat6
Pat6Pat6
Pat6
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
Onet 04 คณิตศาสตร์
Onet 04 คณิตศาสตร์Onet 04 คณิตศาสตร์
Onet 04 คณิตศาสตร์
 
Onet 03 อังกฤษ
Onet 03 อังกฤษOnet 03 อังกฤษ
Onet 03 อังกฤษ
 
Onet 02 สังคม
Onet 02 สังคมOnet 02 สังคม
Onet 02 สังคม
 
Onet 05 วิทยาศาสตร์
Onet 05 วิทยาศาสตร์Onet 05 วิทยาศาสตร์
Onet 05 วิทยาศาสตร์
 
ใบงานสำรวจตนเองM6
ใบงานสำรวจตนเองM6ใบงานสำรวจตนเองM6
ใบงานสำรวจตนเองM6
 
ใบงานสำรวจตนเองM6
ใบงานสำรวจตนเองM6ใบงานสำรวจตนเองM6
ใบงานสำรวจตนเองM6
 

งานK7 (1)

  • 1. ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน” โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน เป็นโครงงานประยุกต์ใช้งาน เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการ สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงใน ชีวิตประจาวัน อาทิเช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่งภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี และ ซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้ สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพ สูงขึ้น โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการ ออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้นๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรือทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับ ปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้ผู้เรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และ เครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ตัวอย่างโครงงาน 1 ชื่อโครงงาน การศึกษา Computer Generated Hologram และ การประยุกต์ใช้งานอย่างง่าย ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ไพโรจน์ ศิรินามารัตนะ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ศ.ดร.สมศักดิ์ ปัญญาแก้ว สถาบันการศึกษา นิสิตระดับปริญญาตรีปีที่ 3 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่อ การถ่ายภาพ hologram ด้วยแสงเลเซอร์ (Laser hologram) คือ การบันทึกรูปแบบการแทรกสอด (Interference pattern) ของแสง 2 ขบวน คือ แสงที่มาจากวัตถุ (Object beam) กับ แสงอ้างอิง (Reference beam) ลงบนrecording medium โดย การฉายแสงอ้างอิง ที่ตาแหน่งเดิมกับ recording medium อีกครั้งหนึ่ง ก็จะสามารถเห็นภาพวัตถุเป็นแบบ 3 มิติได้ จากการศึกษาการเกิดภาพ 3 มิติ ด้วยวิธีข้างต้น เกิดจากการที่แสงอ้างอิงผ่าน recording medium โดยอาศัยหลักการแทรก สอดและเลี้ยวเบนของแสง เมื่อเรารู้ว่าแสงอ้างอิงมีลักษณะอย่างไร และเราต้องการวัตถุ 3 มิติแบบไหน เราก็จะจะ สามารถคานวณรูปแบบการแทรกสอดบน recording medium, นั้นได้ จากนั้นก็สามารถสร้างรูปแบบการแทรกสอดที่ เราคานวณได้ด้วยวิธี Laser writing หรือ electron Lithography เป็นต้น ซึ่งhologram ที่ได้นี้ถูกเรียกว่า Computer Generated Hologram (CGH) การประยุกต์ใช้งาน CGH ที่เห็นได้ชัดก็เช่น การสร้างภาพ 3D holographic Television ซึ่งการคานวณ Interference pattern และการ lithographyเพื่อให้ได้ภาพ 3D ที่ชัดเจนเป็นสิ่งที่ทายากส่วนที่ง่ายลงมาก็คือการใช้ CGH ในการบังคับ ลาแสงให้เป็นรูปแบบต่างๆ โดยอาจทาเป็น Lens รวมแสง,กระจายแสงให้เป็นรูปสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม ซึ่งสามารถนา ประยุกต์ใช้งานเป็น Holographic transmitterใน Optical Wireless LANS Systemหรือการทา Holographic Solar Concentrator เป็นต้น
  • 2. ตัวอย่างโครงงาน 2 ชื่อโครงงาน การประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า ชื่อผู้ทาโครงงาน นายสรรเสริญ ขันทอง,นายชัยวัฒน์ ศิระวัฒนานนท์,นายทรงศักดิ์ แซ่จึง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ธิดารัตน์ ต่อสุข สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน 1/1/2551 บทคัดย่อ การ ประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า (Shopping Helper using Barcode with Mobile Application) มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้บริโภคทราบถึงรายละเอียดของสินค้าและค่าใช้จ่ายใน การ เลือกซื้อสินค้าในแต่ละครั้ง โดยการพัฒนาระบบใหม่ซึ่งประยุกต์ใช้การอ่านบาร์โค้ด 2 มิติด้วยกล้องจาก โทรศัพท์เคลื่อนที่ เนื่องจากเดิมสินค้ามีการระบุข้อมูลโดยใช้บาร์โค้ด 1 มิติเท่านั้น ซึ่งปัจจุบันสินค้าแต่ละชนิดมีข้อมูลที่ ใช้ในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า จานวนมากจึงเสนอแนวคิดในการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ด 2 มิติที่สามารถบรรจุ ข้อมูลได้มากขึ้น และนามาประยุกต์ใช้บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยระบบการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับ โทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า จะใช้กล้องบนโทรศัพท์เคลื่อนที่อ่านบาร์โค้ด 2 มิติ เพื่อให้สามารถบอก รายละเอียดของสินค้าเพื่อช่วยในการตัดสินใจเลือกซื้อ สินค้า ตรวจสอบค่าใช้จ่ายของสินค้าทั้งหมดที่เลือกให้อยู่ใน งบประมาณที่ตั้งไว้ระบบจะทาการแจ้งเตือน เมื่อผู้บริโภคใช้จ่ายสินค้าเกินงบประมาณที่กาหนด ซึ่งระบบจะมีการนา ข้อมูลชนิดสินค้า รายละเอียดสินค้า ราคาสินค้า จากฐานข้อมูล และผู้บริโภคสามารถนารายละเอียดของสินค้ามา เปรียบเทียบกันได้ โดยระบบนี้จะแบ่งการทางานออกเป็นส่วน ๆ คือระบบการสร้างรหัสบาร์โค้ดจากข้อมูลรายละเอียด ของสินค้าของผู้ให้บริการ และระบบการให้บริการโดยแสดงรายละเอียดสินค้า การเลือกซื้อสินค้าบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ แจ้งเตือนงบประมาณที่เกินกาหนด ยกเลิกสินค้าที่ไม่ต้องการ และระบบจะตรวจสอบการรวมราคาของสินค้านั้นก่อนที่ จะไปชาระค่าสินค้า เพื่อให้ผู้บริโภคทราบราคารวมของสินค้านั้นตรงกับราคาที่ต้องชาระจริง ซึ่งจะอานวยความสะดวก ในการจัดสรรเลือกซื้อสินค้าตามงบประมาณของผู้บริโภคได้ ตัวอย่างโครงงาน 3 ชื่อโครงงาน การ ประยุกต์ใช้แบบรูปการเคลื่อนที่ของดาวเปราะในแบบรูปการเคลื่อนที่ของหุ่น ยนต์ The Application of Brittle Star Locomotion Patterns for Robotic Locomotion โปรแกรมเพื่อประยุกต์การใช้งาน (นักเรียน) ชื่อผู้ทา โครงงาน นางสาวสุพิชญา สุจริยากุล, นายพิลิปดา เหลืองประเสริฐ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร.สโรช ไทร เมฆ สถาบันการศึกษา โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ ระดับชั้น มัธยมปลาย หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทา โครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่อ โปรแกรม นี้ เขียนขึ้นเพื่อใช้ในการศึกษาการเคลื่อนที่ หรือการเคลื่อนไหวของวัตถุที่เรา สนใจ (ซึ่งในที่นี้เน้นเรื่องหุ่นยนต์) โดยรับข้อมูลจากภาพเคลื่อนไหวที่บันทึกจากกล้องที่อยู่นิ่ง มาวิเคราะห์ถึงข้อมูล ต่างๆ อันได้แก่ ตาแหน่ง ตาแหน่งของส่วนต่างๆ ความเร็ว การหมุน ซึ่งในขณะนี้โปรแกรมกาลังถูกพัฒนาให้สามารถ ทางานได้ตามดังที่กล่าวไว้ข้าง ต้น โดยในขณะนี้สามารถตรวจจับความเปลี่ยนแปลงของภาพได้แต่ยังไม่สามารถระบุ ตาแหน่งที่ชัดเจนได้เนื่องจากสิ่งที่เราสนใจไม่จาเป็นจะมีลักษณะเป็นก้อน อาจมีส่วนแขนยื่นออกมา และมี มากกว่า 1 ส่วนที่กาลังเคลื่อนที่ เช่น ส่วนหนึ่งเคลื่อนไปด้านหน้า อีกส่วนหนึ่งเคลื่อนไปด้านหลัง เป็นต้น
  • 3. ตัวอย่างโครงงาน 4 ชื่อโครงงาน การประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า ชื่อผู้ทาโครงงาน นายสรรเสริญ ขันทอง,นายชัยวัฒน์ ศิระวัฒนานนท์,นายทรงศักดิ์ แซ่จึง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ธิดารัตน์ ต่อสุข สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน 1/1/2551 บทคัดย่อ การ ประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า (Shopping Helper using Barcode with Mobile Application) มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้บริโภคทราบถึงรายละเอียดของสินค้าและค่าใช้จ่ายใน การ เลือกซื้อสินค้าในแต่ละครั้ง โดยการพัฒนาระบบใหม่ซึ่งประยุกต์ใช้การอ่านบาร์โค้ด 2 มิติด้วยกล้องจาก โทรศัพท์เคลื่อนที่ เนื่องจากเดิมสินค้ามีการระบุข้อมูลโดยใช้บาร์โค้ด 1 มิติเท่านั้น ซึ่งปัจจุบันสินค้าแต่ละชนิดมีข้อมูลที่ ใช้ในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า จานวนมากจึงเสนอแนวคิดในการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ด 2 มิติที่สามารถบรรจุ ข้อมูลได้มากขึ้น และนามาประยุกต์ใช้บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยระบบการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับ โทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า จะใช้กล้องบนโทรศัพท์เคลื่อนที่อ่านบาร์โค้ด 2 มิติ เพื่อให้สามารถบอก รายละเอียดของสินค้าเพื่อช่วยในการตัดสินใจเลือกซื้อ สินค้า ตรวจสอบค่าใช้จ่ายของสินค้าทั้งหมดที่เลือกให้อยู่ใน งบประมาณที่ตั้งไว้ระบบจะทาการแจ้งเตือน เมื่อผู้บริโภคใช้จ่ายสินค้าเกินงบประมาณที่กาหนด ซึ่งระบบจะมีการนา ข้อมูลชนิดสินค้า รายละเอียดสินค้า ราคาสินค้า จากฐานข้อมูล และผู้บริโภคสามารถนารายละเอียดของสินค้ามา เปรียบเทียบกันได้ โดยระบบนี้จะแบ่งการทางานออกเป็นส่วน ๆ คือระบบการสร้างรหัสบาร์โค้ดจากข้อมูลรายละเอียด ของสินค้าของผู้ให้บริการ และระบบการให้บริการโดยแสดงรายละเอียดสินค้า การเลือกซื้อสินค้าบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ แจ้งเตือนงบประมาณที่เกินกาหนด ยกเลิกสินค้าที่ไม่ต้องการ และระบบจะตรวจสอบการรวมราคาของสินค้านั้นก่อนที่ จะไปชาระค่าสินค้า เพื่อให้ผู้บริโภคทราบราคารวมของสินค้านั้นตรงกับราคาที่ต้องชาระจริง ซึ่งจะอานวยความสะดวก ในการจัดสรรเลือกซื้อสินค้าตามงบประมาณของผู้บริโภคได้
  • 4. ตัวอย่างโครงงาน 5 ชื่อโครงงาน โปรแกรมประยุกต์พจนานุกรมสาหรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพ ประเภท Mobile Application ชื่อ ผู้ทาโครงงาน นาย วรพงศ์โรจน์เรืองมาศ , นางสาว ศุภิสรา จันทราภิสิทธิ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร. รัชลิดา ลิปิกรณ์ สถาบันการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่อ โปรแกรม พจนานุกรมสาหรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพนี้ ได้ถูกพัฒนามาจากโปรแกรม แบบเดิมที่ผู้ใช้ต้องพิมพ์คาศัพท์โดยกดปุ่มตัวเลข เพื่อหาความหมาย เพื่อให้ผู้ใช้สะดวกสบายในการใช้งานเพียงแค่ ถ่ายภาพคาศัพท์ที่ต้องการ รวมถึงระบบการใช้งานที่เข้าใจง่าย และสามารถใช้งานได้จากที่ใดก็ได้ทั้งนี้ยังคงมีรูปแบบ การพิมพ์คาศัพท์แบบเดิมอยู่ โปรแกรมพจนานุกรมสาหรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนของโปรแกรมบน โทรศัพท์มือถือ และส่วนเซิร์ฟเวอร์ โดยผู้ใช้สามารถคีย์หรือถ่ายภาพคาศัพท์บนโทรศัพท์มือถือ แล้วส่งคา หรือภาพถ่าย นั้นผ่านเครือข่าย ไปยังเครื่องเซิร์ฟเวอร์ โดยให้เครื่องเซิร์ฟเวอร์ทาการวิเคราะห์ภาพคาศัพท์ออกมาเป็นตัวอักษร ด้วย หลักการการประมวลผลภาพ และหาความหมายคาศัพท์นั้นจากฐานข้อมูลคาศัพท์ จากนั้นจึงส่งความหมายของคาศัพท์ กลับมายังโทรศัพท์มือถือ Credit http://www.thaigoodview.com/node/17030?page=0%2C7 http://www.slideshare.net/Zikkapoo/ss-13963683 http://www.vcharkarn.com/project/view/689 ขออนุญาตนามาลงเพื่อการศึกษานะคะ