SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
Download to read offline
บทที่ 13
จริยธรรม
และความปลอดภัย
คือ แบบแผนความประพฤติหรือความมีสามัญสานึกต่อสังคม
ในทางที่ดี ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัวขึ้นอยู่กับกลุ่มสังคมหรือการยอมรับ
ในสังคมนั้นเป็นหลัก เกี่ยวข้องกับการคิดและตัดสินใจได้ว่าสิ่ง
ไหน ควร-ไม่ควร ดี-ไม่ดี ถูก-ผิด
ความหมายของจริยธรรม
ตั้งอยู่บนพื้นฐาน 4 ประเด็น
- ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy)
- ความถูกต้องแม่นยา (Information Accuracy)
- ความเป็นเจ้าของ (Information Property)
- การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility)
จริยธรรมกับสังคมยุคสารสนเทศ
ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy)
หมายถึง สิทธิที่จะอยู่ตามลาพังและเป็นสิทธิที่เจ้าของสามารถจะ
ควบคุมข้อมูลของตนเองในการเปิดเผยให้กับผู้อื่น สิทธินี้ใช้ได้
ครอบคลุมทั้งส่วนบุคคล กลุ่มบุคคล และองค์กรต่างๆ เราอาจ
พบเห็นการละเมิดความเป็นส่วนตัวโดยทั่วไป เช่นใช้โปรแกรม
ติดตามและพฤติกรรมผู้ที่ใช้งานบนเว็บไซต์ , การเอาฐานข้อมูล
ส่วนตัวรวมถึงอีเมล์ของสมาชิกส่งไปให้กับบริษัทผู้รับทา
โฆษณา
ความเป็นส่วนตัว
(Information Privacy)
ความถูกต้องแม่นยา (Information Accuracy)
หมายถึง สารสนเทศที่นาเสนอ ควรเป็นข้อมูลที่มีการ
กลั่นกรองและตรวจสอบความถูกต้องและสามารถเอาไปใช้
ประโยชน์ได้โดยไม่ส่งผลกระทบกับผู้ใช้งาน เช่น อาจเห็น
แหล่งข่าวทางอินเทอร์เน็ต นาเสนอเนื้อหาที่ไม่ได้กลั่นกรอง
เมื่อนาไปตีความและเข้าใจว่าเป็นจริง อาจทาให้เกิดความ
ผิดพลาดได้ ผู้ใช้งานสารสนเทศจึงควรเลือกรับข้อมูลจากแหล่ง
ที่น่าเชื่อถือ และตรวจสอบที่มาได้โดยง่าย
ความถูกต้องแม่นยา
(Information Accuracy)
ความเป็นเจ้าของ (Information Property)
หมายถึง สังคมยุคสารสนเทศมีการเผยแพร่ข้อมูลอย่างง่ายดายมี
เครื่องมือและอุปกรณ์สนับสนุนมากขึ้น ก่อให้เกิดการลอกเลียนแบบ
ทาซ้าหรือละเมิดลิขสิทธิ์ โดยเจ้าของผลงานได้รับผลกระทบทั้ง
โดยตรงและโดยอ้อม ก่อให้เกิดการลอกเลียนแบบ ทาซ้าหรือละเมิด
ลิขสิทธิ์ (copyright) โดยเจ้าของผลงานได้รับผลกระทบทั้งโดยตรง
และโดยอ้อม เช่น การทาซ้าหรือผลิตซีดีเพลง หรือโปรแกรมละเมิด
ลิขสิทธิ์
การคุ้มครองสิทธิภายใต้กฎหมาย
1. ความลับทางการค้า (Trade Secret)
2. ลิขสิทธิ์ (Copyright)
3. สิทธิบัตร (Patent)
ความเป็นเจ้าของ
(Information Property)
การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility)
หมายถึง ผู้ที่ทาหน้าที่ดูแลระบบ จะเป็นผู้ที่กาหนดสิทธิ์ใน
การเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้แต่ละคน เช่น ภาพถ่ายหรือรูปภาพที่
ปรากฏบนเว็บไซต์ เพื่อสื่อความหมายไว้ด้วยว่าเป็นภาพอะไร
หรืออาจเป็นการสร้าง link ที่ต้องมีความหมายในตัว เพื่อบอก
ให้ผู้ใช้ทราบ ควรมีคาอธิบายภาพ บางแห่งอาจให้บริการเฉพาะ
สมาชิกเท่านั้น
การเข้าถึงข้อมูล
(Data Accessibility)
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
(Computer Crime)
ประเด็นเกี่ยวกับการลักลอบนาเอาข้อมูลไปใช้โดยไม่ได้รับ
อนุญาตรวมถึง การสร้างความเสียหายต่อบุคคลและสังคมสารสนเทศ
โดย “ผู้ไม่ประสงค์ดี”
- เกิดขึ้นสืบเนื่องจากการขาด “จริยธรรมที่ดี” นั่นเอง
- บางกรณีถือว่าเป็นการกระทาที่ผิดกฎหมายเช่นเดียวกัน ซึ่งมี
บทลงโทษแตกต่างกันไป
การลักลอบเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต
อาชญากรรมที่เกี่ยวข้องกับการลักลอบหรืออ่านข้อมูลและ
นาไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต
กลุ่มคนที่เกี่ยวข้อง สามารถแบ่งเป็น 3 กลุ่มด้วยกันคือ
1.แฮกเกอร์ (Hacker)
2.แครกเกอร์ (Cracker)
3.สคริปต์คิดดี้ (Script Kiddy)
1. แฮกเกอร์ (Hacker)
- เป็นกลุ่มคนที่มีความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์และระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี
การลักลอบเข้าถึง
โดยไม่ได้รับอนุญาต
(Unauthorized Access and Use)
- ทาเพื่อต้องการทดสอบความรู้ของตนเอง
- โดยเจตนาแล้วไม่ได้มีความมุ่งร้ายต่อข้อมูลแต่อย่างใด
- บางครั้งจึงมักนิยมเรียกว่าเป็นพวก กลุ่มคนหมวกขาว หรือ white
hat
2.แครกเกอร์ (Cracker)
- เป็นกลุ่มคนที่มีความรู้ความสามารถเช่นเดียวกับกลุ่มแฮกเกอร์
- มักเรียกว่าเป็น กลุ่มคนหมวกดา หรือ black hat
- มุ่งทาลายระบบหรือลักลอบนาเอาข้อมูลที่ไม่รับอนุญาตนั้นไป
แก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือทาลายทิ้ง
- มีเจตนาจงใจให้เกิดความเสียหายของข้อมูลมากกว่าแฮกเกอร์
การลักลอบเข้าถึง
โดยไม่ได้รับอนุญาต
(Unauthorized Access and Use)
3.สคริปต์คิดดี้ (Script Kiddy)
- เป็นกลุ่มคนที่ถือได้ว่ากาเนิดขึ้นมากเป็นทวีคูณ
- มีการแลกเปลี่ยนโปรแกรมหรือสคริปต์ (scripts) ที่มีคนเขียน
และนาออกมาเผยแพร่ให้ทดลองใช้กันอย่างมาก
- มักเป็นคนอยากรู้อยากเห็น ไม่จาเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับการ
เจาะเข้าระบบมากนักก็สามารถเป็นได้
- อาศัยโปรแกรมหรือเครื่องมือบางอย่างที่หามาได้เช่น การแฮก
อีเมล์การขโมยรหัสผ่านของผู้อื่นการใช้โปรแกรมก่อกวนอย่างง่าย
การลักลอบเข้าถึง
โดยไม่ได้รับอนุญาต
(Unauthorized Access and Use)
เควิน มิตนิค (Kevin Mitnick)
- บุคคลที่เป็นทั้งแฮกเกอร์และแครกเกอร์ในคนเดียวกัน
- ขณะวัยรุ่นได้ใช้ความรู้ของตนเองก่อความเสียหายให้กับ
หน่วยงานอื่นๆ อย่างมาก
- ปัจจุบันหันมาให้ความรู้เกี่ยวกับระบบรักษาความปลอดภัยบน
เครือข่ายแทน
การลักลอบเข้าถึง
โดยไม่ได้รับอนุญาต
(Unauthorized Access and Use)
การขโมยและทาลายอุปกรณ์
- เกิดจากการไม่รอบคอบและวางอุปกรณ์ไว้ในบริเวณที่เสี่ยงต่อการ
โจรกรรมได้ง่าย
- อาจเกิดจากบุคคลภายนอกหรือภายในองค์กร
- ควรมีการติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันและรักษาความปลอดภัย และ
ตรวจการเข้าออกของบุคคลที่มาติดต่ออย่างเป็นระบบ รวมถึงวาง
มาตรการในการใช้อุปกรณ์อย่างเข้มงวด
การขโมยและทาลายอุปกรณ์
(Hardware Theft and
Vandalism)
Vandalism)
การขโมยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
- เป็นอาชญากรรมที่เกี่ยวข้องกับการขโมยเอาข้อมูลโปรแกรม รวมถึง
การคัดลอกโปรแกรมโดยผิดกฎหมาย
- สามารถทาซ้าได้ง่าย ก่อให้เกิดความเสียหายกับบริษัทผู้ผลิต
- มีการลักลอบทาซ้าข้อมูลโปรแกรมและนาออกวางจาหน่ายแทนที่
โปรแกรมต้นฉบับจริง
- กลุ่มผู้ผลิตมีการออกกฎควบคุมการใช้ และรวมกลุ่มกันเรียกว่า BSA
(Business Software Alliance)
การขโมยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
(Software Theft)
กลุ่ม BSA (Business Software Alliance) หรือกลุ่มพันธมิตรธุรกิจ
ซอฟต์แวร์
ประกอบด้วยผู้ผลิตซอฟท์แวร์รายใหญ่ทั้งหมด 23 ราย มี
เครือข่ายครอบคลุมอยู่ 60 ประเทศทั่วโลกจัดตั้งขึ้นเพื่อควบคุมและ
ดูแลเรื่องการละเมิดลิขสิทธิ์ รวมถึงการทาความเข้าใจกับผู้บริโภคให้
ตระหนักถึงการใช้งานโปรแกรมที่ถูกต้อง
การขโมยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
(Software Theft)
- เป็นการใช้โปรแกรมที่มุ่งเน้นเพื่อการก่อกวนและทาลายระบบ
ข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ
- พบมากในปัจจุบันและสร้างความเสียหายต่อข้อมูลและระบบ
คอมพิวเตอร์เป็นอย่างมาก
กลุ่มโปรแกรมประสงค์ร้ายต่างๆ มีดังนี้
1.ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Computer Virus)
2.เวิร์มหรือหนอนอินเทอร์เน็ต (Worm)
3.ม้าโทรจัน (Trojan horses)
การก่อกวนระบบด้วย
โปรแกรมประสงค์ร้าย
(Malicious Code)
1.ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Computer Virus)
- เขียนโดยนักพัฒนาโปรแกรมที่มีความชานาญเฉพาะด้าน
- การทางานจะอาศัยคาสั่งที่เขียนขึ้นภายในตัวโปรแกรมเพื่อ
กระจายไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์เป้าหมาย
- แพร่กระจายโดยอาศัยคนกระทาการอย่างใดอย่างหนึ่งกับพาหะที่
โปรแกรมไวรัสนั้นแฝงตัวอยู่ เช่น รันโปรแกรม อ่านอีเมล์ เปิดดู
เว็บเพจ หรือเปิดไฟล์ที่แนบมา
2.เวิร์มหรือหนอนอินเทอร์เน็ต (Worm)
- เป็นโปรแกรมที่มีความรุนแรงกว่าไวรัสคอมพิวเตอร์แบบเดิมมาก
- จะทาลายระบบทรัพยากรคอมพิวเตอร์ให้มีประสิทธิภาพลดลง
และไม่อาจทางานต่อไปได้
การก่อกวนระบบด้วย
โปรแกรมประสงค์ร้าย
(Malicious Code)
- การทางานจะมีการตรวจสอบเพื่อโจมตีหาเครื่องเป้าหมายก่อน
จากนั้นจะวิ่งเจาะเข้าไปเอง
- ลักษณะที่เด่นของเวิร์มคือ สามารถสาเนาซ้าตัวมันเองได้อย่าง
มหาศาลภายในเวลาเพียงไม่กี่นาที
3.ม้าโทรจัน (Trojan horses)
- ทางานโดยอาศัยการฝังตัวอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นและ
จะไม่มีการแพร่กระจายตัวแต่อย่างใด
- โปรแกรมจะถูกตั้งเวลาการทางานหรือควบคุมการทางาน
ระยะไกลจากผู้ไม่ประสงค์ดี เพื่อให้เข้ามาทางานยังเครื่อง
คอมพิวเตอร์เป้าหมายได้
การก่อกวนระบบด้วย
โปรแกรมประสงค์ร้าย
(Malicious Code)
การก่อกวนระบบด้วยสปายแวร์ (Spyware)
- สปายแวร์เป็นโปรแกรมประเภทสะกดรอยข้อมูล
- ไม่ได้มีความร้ายแรงต่อคอมพิวเตอร์ เพียงแต่อาจทาให้เกิด
ความน่าราคาญ
- โดยปกติมักแฝงตัวอยู่กับเว็บไซต์บางประเภทรวมถึงโปรแกรม
ที่แจกให้ใช้งานฟรีทั้งหลาย
- บางโปรแกรมสามารถควบคุมการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแทรก
โฆษณาหรือเปลี่ยนหน้าแรกของบราวเซอร์ได้
การก่อกวนระบบด้วยสปายแวร์
(Spyware)
การก่อกวนระบบด้วยสแปมเมล์ (Spam Mail)
- สแปมเมล์คือ รูปแบบของจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่ผู้รับไม่
ต้องการอ่าน
- วิธีการก่อกวนจะอาศัยการส่งอีเมล์แบบหว่านแห และส่งต่อ
ให้กับผู้รับจานวนมาก
- อาจถูกก่อกวนโดยแฮกเกอร์หรือเกิดจากการถูกสะกดรอยด้วย
โปรแกรมประเภทสปายแวร์
- โดยมากมักเป็นเมล์ประเภทเชิญชวนให้ซื้อสินค้าหรือเลือกใช้
บริการของเว็บไซต์นั้นๆ
การก่อกวนระบบด้วยสแปมเมล์
(Spam Mail)
การหลอกลวงเหยื่อเพื่อล้วงเอาข้อมูลส่วนตัว (Phishing)
- เป็นการหลอกลวงด้วยการส่งอีเมล์หลอกไปยังกลุ่มสมาชิกเพื่อขอ
ข้อมูลบางอย่างที่จาเป็น เช่น หมายเลขบัตรเครดิต ชื่อผู้ใช้หรือ
รหัสผ่าน
- ใช้คากล่าวอ้างที่เขียนขึ้นมาเองให้เหยื่อตายใจและหลงเชื่อ
- อาศัยกลลวงโดยใช้ URL ปลอม แต่แท้จริงแล้วกลับเป็น URLของผู้
ไม่ประสงค์ดีที่ทาขึ้นมาเลียนแบบ
การหลอกลวงเหยื่อเพื่อล้วง
เอาข้อมูลส่วนตัว
(Phishing)
การรักษาความปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์
คือข้อมูลในรูปแบบของตัวเลข ข้อความ หรือภาพกราฟิก ที่
ได้นามารวบรวม จัดเป็นระบบ และนาเสนอในรูปแบบที่ผู้ใช้
สามารถเข้าใจได้อย่างแจ่มชัด ไม่ว่าจะเป็นรายงาน ตาราง หรือ
แผนภูมิต่างๆ และ Security หรือความปลอดภัย คือสภาพที่
เกิดขึ้นจากการจัดตั้งและดารงไว้ซึ่งมาตรการการป้องกันที่ทาให้
เกิดความมั่นใจว่าจะไม่มีผู้ที่ไม่หวังดีจะบุกรุกเข้ามาได้ เมื่อรวม
สองคาก็จะได้ "Information Security" จึงหมายถึง การศึกษาถึง
ความไม่ปลอดภัยในการใช้งานสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับ
คอมพิวเตอร์ การวางแผนและการจัดระบบความปลอดภัยใน
คอมพิวเตอร์
การรักษาความปลอดภัย
ระบบคอมพิวเตอร์
การติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัส (Antivirus Program)
- เปรียบเสมือนยามรักษาความปลอดภัยที่มาเฝ้าดูแลบ้าน
- ทาหน้าที่คอยตรวจสอบและติดตามการบุกรุกของโปรแกรม
ประสงค์ร้ายเมื่อพบจะสามารถกาจัดและแจ้งให้ผู้ใช้ทราบได้ทันที
- จาเป็นต้องทาให้ตัวโปรแกรมอัพเดทตัวข้อมูลใหม่อยู่เสมอเพื่อให้
ได้ผลดีมากขึ้น
การติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัส
(Antivirus Program)
การใช้ระบบไฟร์วอลล์ (Firewall System)
- เป็นระบบรักษาความปลอดภัยที่ประกอบด้วยฮาร์ดแวร์หรือ
ซอฟต์แวร์ก็ได้
- ทาหน้าที่คอยดักจับ ป้องกันและตรวจสอบการบุกรุก (Intrusion)
รวมถึงการเข้าถึงที่ไม่ได้รับอนุญาตจากผู้ไม่ประสงค์ดีภายนอก
- ระบบจะให้ข้อมูลบางอย่างที่ได้รับการอนุญาตผ่านเข้าออกเท่านั้น
หากไม่ตรงกับเงื่อนไขจะไม่สามารถผ่านไปมาได้
การใช้ระบบไฟร์วอลล์
(Firewall System)
การติดตั้งระบบไฟร์วอลล์สาหรับเครือข่าย
การใช้ระบบไฟร์วอลล์
(Firewall System)
การเข้ารหัสข้อมูล (Encryption)
- อาศัยสมการทางคณิตศาสตร์ที่ซับซ้อนทาการเปลี่ยนแปลงข้อมูลที่
อ่านได้ปกติ (plaintext) ให้ไปอยู่ในรูปแบบที่ไม่สามารถอ่านได้
(ciphertext)
- ผู้ไม่ประสงค์ดีที่แอบเอาข้อมูลไปใช้จะไม่สามารถอ่านข้อมูลที่มี
ความสาคัญนั้นได้ เพราะมีการเข้ารหัส (encryption) ไว้
- การจะอ่านจาเป็นต้องถอดรหัสข้อมูล (decryption) เสียก่อน
การเข้ารหัสข้อมูล (Encryption)
การเข้ารหัสข้อมูล (Encryption)
เทคนิคการเข้าและถอดรหัสของข้อมูล
การสารองข้อมูล (Back up)
- คือ การทาซ้าข้อมูล ไฟล์ หรือโปรแกรมที่อยู่ในพื้นที่เก็บข้อมูล
เพื่อให้นาเอากลับมาใช้ได้อีก หากข้อมูลต้นฉบับนั้นเกิดสูญหาย
หรือถูกทาลาย
- วิธีการสารองข้อมูลอาจทาทั้งระบบหรือแค่บางส่วน โดยเก็บลง
หน่วยเก็บบันทึกข้อมูลสารอง เช่น ฮาร์ดดิสก์หรือ CD-ROM
- หากข้อมูลมีความสาคัญมากอาจต้องสารองข้อมูลทุกวัน หรือทุก
สัปดาห์แต่หากข้อมูลมีความสาคัญน้อย การสารองเพียงเดือนละ
ครั้งหรือนานๆครั้งก็ย่อมเพียงพอ
การสารองข้อมูล (Back up)
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทา
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการ
กระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกาหนดสามสิบ
วันนับแต่ วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้
“ระบบคอมพิวเตอร์” หมายความว่า อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของ
คอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมการทางานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกาหนด
คาสั่ง ชุดคาสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทางปฏิบัติงานให้อุปกรณ์
หรือชุดอุปกรณ์ทาหน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทา
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
“ข้อมูลคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คาสั่ง ชุดคาสั่ง
หรือสิ่งอื่นใด บรรดาที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบ
คอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้ และให้หมายความรวมถึงข้อมูล
อิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ด้วย
“ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับการ
ติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงถึงแหล่งกาเนิด ต้น
ทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลา ชนิดของ
บริการ หรืออื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่อสารของระบบ
คอมพิวเตอร์นั้น
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทา
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
“ผู้ให้บริการ” หมายความว่า
(๑) ผู้ให้บริการแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือให้สามารถ
ติดต่อถึงกันโดยประการอื่น โดยผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ ไม่
ว่าจะเป็นการให้บริการในนามของตนเอง หรือในนามหรือเพื่อ
ประโยชน์ของบุคคลอื่น
(๒) ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของบุคคล
อื่น
“ผู้ใช้บริการ” หมายความว่า ผู้ใช้บริการของผู้ให้บริการไม่ว่าต้องเสีย
ค่าใช้บริการหรือไม่ก็ตาม
“พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการ
ตามพระราชบัญญัตินี้
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอานาจออก
กฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับ
ได้
หมวด ๑
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการ
ป้องกัน การเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สาหรับตน
ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
หรือทั้งจาทั้งปรับ
มาตรา ๖ ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่
ผู้อื่นจัดทาขึ้นเป็นการเฉพาะ ถ้านามาตรการดังกล่าวไปเปิดเผยโดย
มิชอบในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น ต้องระวางโทษ
จาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้ง
ปรับ
มาตรา ๗ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการ
ป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สาหรับตน
ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกิน สี่หมื่นบาท
หรือทั้งจาทั้งปรับ
มาตรา ๘ ผู้ใดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทาง
อิเล็กทรอนิกส์
เพื่อดักรับไว้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งใน
ระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไว้เพื่อ
ประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์ได้ ต้อง
ระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือ
ทั้งจาทั้งปรับ
มาตรา ๙ ผู้ใดทาให้เสียหาย ทาลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือ
เพิ่มเติมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
โดยมิชอบ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่ง
แสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
มาตรา ๑๐ ผู้ใดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบ เพื่อให้การ
ทางานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง
หรือรบกวนจนไม่สามารถทางานตามปกติได้ ต้องระวางโทษ
จาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจาทั้ง
ปรับ
มาตรา ๑๑ ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมาย
อิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่น โดยปกปิดหรือปลอมแปลง
แหล่งที่มาของการส่งข้อมูลดังกล่าว อันเป็นการรบกวนการใช้
ระบบคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยปกติสุข ต้องระวางโทษ
ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
มาตรา ๑๒ ถ้าการกระทาความผิดตามมาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐
(๑) ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประชาชน ไม่ว่าความเสียหายนั้นจะ
เกิดขึ้นในทันทีหรือในภายหลังและไม่ว่าจะเกิดขึ้นพร้อมกันหรือไม่
ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสิบปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท
(๒) เป็นการกระทาโดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อ
ข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวกับการรักษาความ
มั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคง
ในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือการบริการสาธารณะ หรือเป็นการ
กระทาต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ที่มีไว้เพื่อ
ประโยชน์สาธารณะ ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่สามปีถึงสิบห้าปี
และปรับตั้งแต่หกหมื่นบาทถึงสามแสนบาท
ถ้าการกระทาความผิดตาม (๒) เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย ต้อง
ระวางโทษจาคุกตั้งแต่สิบปีถึงยี่สิบปี
มาตรา ๑๓ ผู้ใดจาหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคาสั่งที่จัดทาขึ้น
โดยเฉพาะเพื่อนาไปใช้เป็นเครื่องมือในการกระทาความผิดตาม
มาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ หรือ
มาตรา ๑๑ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกิน
สองหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
มาตรา ๑๔ ผู้ใดกระทาความผิดที่ระบุไว้ดังต่อไปนี้ ต้องระวาง
โทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจา
ทั้งปรับ
(๑) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมไม่ว่า
ทั้งหมดหรือบางส่วน หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดย
ประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน
(๒) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ
โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศ
หรือก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน
(๓) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อันเป็น
ความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรหรือความผิด
เกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา
(๔) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ ที่มี
ลักษณะอันลามก และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นประชาชนทั่วไปอาจ
เข้าถึงได้
(๕) เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยรู้อยู่แล้วว่าเป็น
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ตาม (๑) (๒) (๓) หรือ (๔)
มาตรา ๑๕ ผู้ให้บริการผู้ใดจงใจสนับสนุนหรือยินยอมให้มีการ
กระทาความผิดตามมาตรา ๑๔ ในระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ใน
ความควบคุมของตน ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับผู้กระทา
ความผิดตามมาตรา ๑๔
มาตรา ๑๖ ผู้ใดนาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชนทั่วไปอาจ
เข้าถึงได้ ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏเป็นภาพของผู้อื่น และ
ภาพนั้นเป็นภาพที่เกิดจากการสร้างขึ้น ตัดต่อ เติมหรือดัดแปลง
ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอื่นใด ทั้งนี้ โดยประการ
ที่น่าจะทาให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือ
ได้รับความอับอาย ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่
เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
ถ้าการกระทาตามวรรคหนึ่ง เป็นการนาเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์โดย
สุจริต ผู้กระทาไม่มีความผิด
ความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นความผิดอันยอมความได้ ถ้าผู้เสียหาย
ในความผิดตามวรรคหนึ่งตายเสียก่อนร้องทุกข์ ให้บิดา มารดา คู่
สมรส หรือบุตรของผู้เสียหายร้องทุกข์ได้ และให้ถือว่าเป็น
ผู้เสียหาย
มาตรา ๑๗ ผู้ใดกระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้นอก
ราชอาณาจักรและ
(๑) ผู้กระทาความผิดนั้นเป็นคนไทย และรัฐบาลแห่งประเทศที่
ความผิดได้เกิดขึ้นหรือผู้เสียหายได้ร้องขอให้ลงโทษ หรือ
(๒) ผู้กระทาความผิดนั้นเป็นคนต่างด้าว และรัฐบาลไทยหรือคน
ไทยเป็นผู้เสียหายและผู้เสียหายได้ร้องขอให้ลงโทษ จะต้องรับ
โทษภายในราชอาณาจักร
หมวด ๒
พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา ๑๘ ภายใต้บังคับมาตรา ๑๙ เพื่อประโยชน์ในการ
สืบสวนและสอบสวน ในกรณีที่มีเหตุอันควรเชื่อได้ว่ามีการ
กระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มี
อานาจอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ เฉพาะที่จาเป็นเพื่อ
ประโยชน์ในการใช้เป็นหลักฐานเกี่ยวกับการกระทาความผิด
และหาตัวผู้กระทาความผิด
(๑) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการกระทา
ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้มาเพื่อให้ถ้อยคา ส่งคาชี้แจงเป็น
หนังสือ หรือส่งเอกสาร ข้อมูล หรือหลักฐานอื่นใดที่อยู่ใน
รูปแบบที่สามารถเข้าใจได้
(๒) เรียกข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์จากผู้ให้บริการ
เกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารผ่านระบบคอมพิวเตอร์หรือจาก
บุคคลอื่นที่เกี่ยวข้อง
(๓) สั่งให้ผู้ให้บริการส่งมอบข้อมูลเกี่ยวกับผู้ใช้บริการที่ต้อง
เก็บตามมาตรา ๒๖ หรือที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุม
ของผู้ให้บริการให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่
(๔) ทาสาเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทาง
คอมพิวเตอร์ จากระบบคอมพิวเตอร์ที่มีเหตุอันควรเชื่อได้ว่ามี
การกระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ในกรณีที่ระบบ
คอมพิวเตอร์นั้นยังมิได้อยู่ในความครอบครองของพนักงาน
เจ้าหน้าที่
(๕) สั่งให้บุคคลซึ่งครอบครองหรือควบคุม
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์
ส่งมอบข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ดังกล่าวให้แก่
พนักงานเจ้าหน้าที่
(๖) ตรวจสอบหรือเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หรือ
อุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ของบุคคลใด อันเป็น
หลักฐานหรืออาจใช้เป็นหลักฐานเกี่ยวกับการกระทาความผิด
หรือเพื่อสืบสวนหาตัวผู้กระทาความผิดและสั่งให้บุคคลนั้น
ส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ที่
เกี่ยวข้องเท่าที่จาเป็นให้ด้วยก็ได้
(๗) ถอดรหัสลับของข้อมูลคอมพิวเตอร์ของบุคคลใด หรือสั่งให้
บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการเข้ารหัสลับของข้อมูลคอมพิวเตอร์ ทา
การถอดรหัสลับ หรือให้ความร่วมมือกับพนักงานเจ้าหน้าที่ใน
การถอดรหัสลับดังกล่าว
(๘) ยึดหรืออายัดระบบคอมพิวเตอร์เท่าที่จาเป็นเฉพาะเพื่อ
ประโยชน์ในการทราบรายละเอียดแห่งความผิดและผู้กระทา
ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๑๙ การใช้อานาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา ๑๘
(๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ยื่นคาร้องต่อศาล
ที่มีเขตอานาจเพื่อมีคาสั่งอนุญาตให้พนักงานเจ้าหน้าที่ดาเนินการ
ตามคาร้อง ทั้งนี้ คาร้องต้องระบุเหตุอันควรเชื่อได้ว่าบุคคลใด
กระทาหรือกาลังจะกระทาการอย่างหนึ่งอย่างใดอันเป็น
ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ เหตุที่ต้องใช้อานาจ ลักษณะ
ของการกระทาความผิด รายละเอียดเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ใน
การกระทาความผิดและผู้กระทาความผิด เท่าที่สามารถจะระบุ
ได้ประกอบคาร้องด้วย ในการพิจารณาคาร้องให้ศาลพิจารณา
คาร้องดังกล่าวโดยเร็ว เมื่อศาลมีคาสั่งอนุญาตแล้ว ก่อน
ดาเนินการตามคาสั่งของศาล ให้พนักงาน เจ้าหน้าที่ส่งสาเนา
บันทึกเหตุอันควรเชื่อที่ทาให้ต้องใช้อานาจตามมาตรา ๑๘ (๔)
(๕) (๖) (๗) และ (๘) มอบให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองระบบ
คอมพิวเตอร์นั้นไว้เป็นหลักฐาน แต่ถ้าไม่มี
เจ้าของหรือผู้ครอบครองเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ ณ ที่นั้น ให้พนักงาน
เจ้าหน้าที่ส่งมอบสาเนาบันทึกนั้นให้แก่เจ้าของหรือผู้ครอบครอง
ดังกล่าวในทันทีที่กระทาได้
ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้เป็นหัวหน้าในการดาเนินการตามมาตรา ๑๘
(๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) ส่งสาเนาบันทึกรายละเอียดการดาเนินการ
และเหตุผลแห่งการดาเนินการ ให้ศาลที่มีเขตอานาจภายในสี่สิบแปด
ชั่วโมงนับแต่เวลาลงมือดาเนินการ เพื่อเป็นหลักฐาน
การทาสาเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ตามมาตรา ๑๘ (๔) ให้กระทาได้
เฉพาะเมื่อมีเหตุอันควรเชื่อได้ว่ามีการกระทาความผิดตาม
พระราชบัญญัตินี้ และต้องไม่เป็นอุปสรรคในการดาเนินกิจการของ
เจ้าของหรือผู้ครอบครองข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นเกินความจาเป็น
การยึดหรืออายัดตามมาตรา ๑๘ (๘) นอกจากจะต้องส่งมอบ
สาเนาหนังสือแสดงการยึดหรืออายัดมอบให้เจ้าของหรือผู้
ครอบครองระบบคอมพิวเตอร์นั้นไว้เป็นหลักฐานแล้ว พนักงาน
เจ้าหน้าที่จะสั่งยึดหรืออายัดไว้เกินสามสิบวันมิได้ ในกรณีจาเป็น
ที่ต้องยึดหรืออายัด ไว้นานกว่านั้น ให้ยื่นคาร้องต่อศาลที่มีเขต
อานาจเพื่อขอขยายเวลายึดหรืออายัดได้ แต่ศาลจะอนุญาตให้
ขยายเวลาครั้งเดียวหรือหลายครั้งรวมกันได้อีกไม่เกินหกสิบวัน
เมื่อหมดความจาเป็นที่จะยึดหรืออายัดหรือครบกาหนดเวลา
ดังกล่าวแล้ว พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องส่งคืนระบบคอมพิวเตอร์ ที่
ยึดหรือถอนการอายัดโดยพลัน หนังสือแสดงการยึดหรืออายัด
ตามวรรคห้าให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๒๐ ในกรณีที่การกระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้
เป็นการทาให้แพร่หลายซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่อาจ
กระทบกระเทือนต่อความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรตามที่กาหนด
ไว้ในภาคสอง ลักษณะ ๑ หรือลักษณะ ๑/๑ แห่งประมวล
กฎหมายอาญา หรือที่มีลักษณะขัดต่อ ความสงบเรียบร้อยหรือ
ศีลธรรมอันดีของประชาชน พนักงานเจ้าหน้าที่โดยได้รับความ
เห็นชอบจากรัฐมนตรีอาจยื่นคาร้องพร้อมแสดงพยานหลักฐาน
ต่อศาลที่มีเขตอานาจขอให้มีคาสั่งระงับ การทาให้แพร่หลายซึ่ง
ข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นได้ ในกรณีที่ศาลมีคาสั่งให้ระงับการทา
ให้แพร่หลายซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ตามวรรคหนึ่ง
พนักงานเจ้าหน้าที่ทาการระงับการทาให้แพร่หลายนั้นเอง หรือ
สั่งให้ผู้ให้บริการระงับการทาให้แพร่หลายซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์
นั้นก็ได้
มาตรา ๒๑ ในกรณีที่พนักงานเจ้าหน้าที่พบว่า
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ใดมีชุดคาสั่ง ไม่พึงประสงค์รวมอยู่ด้วย
พนักงานเจ้าหน้าที่อาจยื่นคาร้องต่อศาลที่มีเขตอานาจเพื่อขอให้มี
คาสั่งห้ามจาหน่ายหรือเผยแพร่ หรือสั่งให้เจ้าของหรือผู้
ครอบครองข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นระงับการใช้ ทาลาย หรือแก้ไข
ข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นได้ หรือจะกาหนดเงื่อนไขในการใช้ มีไว้
ในครอบครอง หรือเผยแพร่ชุดคาสั่งไม่พึงประสงค์ดังกล่าวก็ได้
ชุดคาสั่งไม่พึงประสงค์ตามวรรคหนึ่งหมายถึงชุดคาสั่งที่มีผลทา
ให้ข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือระบบคอมพิวเตอร์หรือชุดคาสั่งอื่น
เกิดความเสียหาย ถูกทาลาย ถูกแก้ไข เปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติม
ขัดข้อง หรือปฏิบัติงานไม่ตรงตามคาสั่งที่กาหนดไว้ หรือโดย
ประการอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง ทั้งนี้ เว้นแต่เป็น
ชุดคาสั่งที่มุ่งหมายในการป้องกันหรือแก้ไขชุดคาสั่งดังกล่าว
ข้างต้น ตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา
มาตรา ๒๒ ห้ามมิให้พนักงานเจ้าหน้าที่เปิดเผยหรือส่งมอบ
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หรือข้อมูลของ
ผู้ใช้บริการ ที่ได้มาตามมาตรา ๑๘ ให้แก่บุคคลใด
ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับกับการกระทาเพื่อประโยชน์ใน
การดาเนินคดีกับผู้กระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ หรือ
เพื่อประโยชน์ในการดาเนินคดีกับพนักงานเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการ
ใช้อานาจหน้าที่โดยมิชอบ หรือเป็นการกระทาตามคาสั่งหรือที่
ได้รับอนุญาตจากศาล พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ใดฝ่าฝืนวรรคหนึ่ง
ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท
หรือทั้งจาทั้งปรับ
มาตรา ๒๓ พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ใดกระทาโดยประมาทเป็นเหตุ
ให้ผู้อื่นล่วงรู้ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์
หรือข้อมูลของผู้ใช้บริการ ที่ได้มาตามมาตรา ๑๘ ต้องระวาง
โทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้ง
จาทั้งปรับ
มาตรา ๒๔ ผู้ใดล่วงรู้ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทาง
คอมพิวเตอร์ หรือข้อมูลของผู้ใช้บริการ ที่พนักงานเจ้าหน้าที่
ได้มาตามมาตรา ๑๘ และเปิดเผยข้อมูลนั้นต่อ ผู้หนึ่งผู้ใด ต้อง
ระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือ
ทั้งจาทั้งปรับ
มาตรา ๒๕ ข้อมูล ข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือข้อมูลจราจรทาง
คอมพิวเตอร์ ที่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้มาตามพระราชบัญญัตินี้ ให้
อ้างและรับฟังเป็นพยานหลักฐานตามบทบัญญัติแห่งประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาหรือกฎหมายอื่นอันว่าด้วยการ
สืบพยานได้ แต่ต้องเป็นชนิดที่มิได้เกิดขึ้นจากการจูงใจ มีคามั่น
สัญญา ขู่เข็ญ หลอกลวง หรือโดยมิชอบประการอื่น
มาตรา ๒๖ ผู้ให้บริการต้องเก็บรักษาข้อมูลจราจรทาง
คอมพิวเตอร์ไว้ไม่น้อยกว่า เก้าสิบวันนับแต่วันที่ข้อมูลนั้นเข้าสู่
ระบบคอมพิวเตอร์ แต่ในกรณีจาเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่จะสั่ง ให้
ผู้ให้บริการผู้ใดเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ไว้เกินเก้า
สิบวันแต่ไม่เกินหนึ่งปีเป็นกรณีพิเศษเฉพาะรายและเฉพาะคราว
ก็ได้ ผู้ให้บริการจะต้องเก็บรักษาข้อมูลของผู้ใช้บริการเท่าที่
จาเป็นเพื่อให้สามารถระบุตัวผู้ใช้บริการนับตั้งแต่เริ่มใช้บริการ
และต้องเก็บรักษาไว้เป็นเวลาไม่น้อยกว่าเก้าสิบวันนับตั้งแต่การ
ใช้บริการสิ้นสุดลง ความในวรรคหนึ่งจะใช้กับผู้ให้บริการ
ประเภทใด อย่างไร และเมื่อใด ให้เป็นไปตามที่รัฐมนตรี
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ผู้ให้บริการผู้ใดไม่ปฏิบัติตาม
มาตรานี้ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าแสนบาท
มาตรา ๒๗ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคาสั่งของศาลหรือพนักงาน
เจ้าหน้าที่ที่สั่งตามมาตรา ๑๘ หรือมาตรา ๒๐ หรือไม่ปฏิบัติตาม
คาสั่งของศาลตามมาตรา ๒๑ ต้องระวางโทษปรับ ไม่เกินสอง
แสนบาท และปรับเป็นรายวันอีกไม่เกินวันละห้าพันบาทจนกว่า
จะปฏิบัติให้ถูกต้อง
มาตรา ๒๘ การแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้
ให้รัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้มีความรู้และความชานาญเกี่ยวกับระบบ
คอมพิวเตอร์และมีคุณสมบัติตามที่รัฐมนตรีกาหนด
มาตรา ๒๙ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้
พนักงานเจ้าหน้าที่ เป็นพนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจชั้น
ผู้ใหญ่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มีอานาจ
รับคาร้องทุกข์หรือรับคากล่าวโทษ และมีอานาจในการ
สืบสวนสอบสวนเฉพาะความผิดตามพระราชบัญญัตินี้
ในการจับ ควบคุม ค้น การทาสานวนสอบสวนและดาเนินคดี
ผู้กระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ บรรดาที่เป็นอานาจ
ของพนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจชั้นผู้ใหญ่ หรือพนักงาน
สอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ให้
พนักงานเจ้าหน้าที่ประสานงาน กับพนักงานสอบสวน
ผู้รับผิดชอบเพื่อดาเนินการตามอานาจหน้าที่ต่อไป
ให้นายกรัฐมนตรีในฐานะผู้กากับดูแลสานักงานตารวจแห่งชาติ
และรัฐมนตรี
มีอานาจร่วมกันกาหนดระเบียบเกี่ยวกับแนวทางและวิธีปฏิบัติใน
การดาเนินการตามวรรคสอง
มาตรา ๓๐ ในการปฏิบัติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตร
ประจาตัว ต่อบุคคลซึ่งเกี่ยวข้อง
บัตรประจาตัวของพนักงานเจ้าหน้าที่ให้เป็นไปตามแบบที่
รัฐมนตรีประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา

More Related Content

Similar to Work3-38

Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Connectivism Learning
 
Chapter 8 computer&society law
Chapter 8 computer&society lawChapter 8 computer&society law
Chapter 8 computer&society lawjazzmusicup
 
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และจริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และteerapongpongsorn
 
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และจริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และteerapongpongsorn
 
จริยธรรมและคุณธรรม2555
จริยธรรมและคุณธรรม2555จริยธรรมและคุณธรรม2555
จริยธรรมและคุณธรรม2555wandee8167
 
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์KruKaiNui
 
Ethics
EthicsEthics
Ethicssa
 
รายงานสารสนเทศ
รายงานสารสนเทศรายงานสารสนเทศ
รายงานสารสนเทศfirehold
 
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และจริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และmildthebest
 
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และจริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และmildthebest
 
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และจริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และmildthebest
 
บทที่ 13
บทที่ 13บทที่ 13
บทที่ 13Tata Sisira
 
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตจริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตjobasketball
 
กลุ่ม Power3
กลุ่ม Power3กลุ่ม Power3
กลุ่ม Power3Tarn'Zz LaLa
 
อาชญากรรม ก้อง
อาชญากรรม   ก้องอาชญากรรม   ก้อง
อาชญากรรม ก้องA'waken P'Kong
 
คอมน องใหม
คอมน องใหม คอมน องใหม
คอมน องใหม dowsudarat
 

Similar to Work3-38 (20)

Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
 
จริยธรรมในโลกของข้อมูล
จริยธรรมในโลกของข้อมูลจริยธรรมในโลกของข้อมูล
จริยธรรมในโลกของข้อมูล
 
power
powerpower
power
 
Chapter 8 computer&society law
Chapter 8 computer&society lawChapter 8 computer&society law
Chapter 8 computer&society law
 
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และจริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
 
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และจริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
 
จริยธรรมและคุณธรรม2555
จริยธรรมและคุณธรรม2555จริยธรรมและคุณธรรม2555
จริยธรรมและคุณธรรม2555
 
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
 
Ethics
EthicsEthics
Ethics
 
รายงานสารสนเทศ
รายงานสารสนเทศรายงานสารสนเทศ
รายงานสารสนเทศ
 
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และจริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
 
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และจริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
 
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และจริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
 
บทที่ 13
บทที่ 13บทที่ 13
บทที่ 13
 
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตจริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
 
โจ้
โจ้โจ้
โจ้
 
กลุ่ม Power3
กลุ่ม Power3กลุ่ม Power3
กลุ่ม Power3
 
อาชญากรรม ก้อง
อาชญากรรม   ก้องอาชญากรรม   ก้อง
อาชญากรรม ก้อง
 
Ch8
Ch8Ch8
Ch8
 
คอมน องใหม
คอมน องใหม คอมน องใหม
คอมน องใหม
 

Work3-38