SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
ใบความรู้ ที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอากาศยาน
ประเภทของอากาศยาน
อากาศยานประเภทเบากว่าอากาศ (aerostat)
อากาศยานประเภทนี้ใช้แรงลอยตัวในการลอยขึ้นสู่อากาศเช่นเดียวกับที่เรือลอยอยู่ในน้าได้ส่วนใหญ่จะใช้ถุง
แก๊สหรือผ้าคลุมขนาดใหญ่แล้วเติมแก๊สที่มีความหนาแน่นสัมพัทธ์ต่าเข้าไป เช่น ฮีเลียม, ไฮโดรเจน หรืออากาศร้อนที่จะ
เบากว่าอากาศที่อยู่รอบๆ น้าหนักที่สามารถใส่เข้าไปได้บนอากาศยานประเภทนี้นั้นจะมีค่าเท่ากับน้าหนักของอากาศที่มี
ปริมาตรเท่ากับที่อากาศยานประเภทนี้เข้าไปแทนที่ (คุณสมบัติของแรงลอยตัว)
ย้อนกลับไปเมื่อ 300 ปีก่อนคริสต์ศักราช บอลลูนอากาศร้อนขนาดเล็กที่มีชื่อเรียกว่า โคมลอยฟ้า ถือว่าเป็นอากาศ
ยานชนิดที่สองของโลกที่มนุษย์สร้างขึ้นที่สามารถลอยอยู่บนฟ้าได้อากาศยานชนิดแรกคือ ว่าว นั่นเอง
ต่อมามีการคิดค้นบอลลูนขึ้นมา และก็มีอากาศยานคล้ายๆกับบอลลูนตามมาอีกมายมาย เช่น เรือเหาะไฮเดนเบิร์ก จึงมีการ
แบ่งประเภทของอากาศยานประเภทนี้ออกเป็น 2 ประเภทย่อยๆ ได้แก่ บอลลูน ซึ่งเป็นอากาศยานที่ไม่ติดตั้งเครื่องยนต์และ
เรือเหาะ (airship) ซึ่งเป็นอากาศยานที่ติดตั้งเครื่องยนต์เข้าไปด้วย
อากาศยานเบากว่าอากาศ:บอลลูน Balloon launch at the Great Pershing Balloon Derby near Brookfield,
Missouri on September 4, 2005. Photo taken by Joe DeShon
อากาศยานประเภทหนักกว่าอากาศ (aerodyne)
อากาศยานประเภทหนักกว่าอากาศนี้จะใช้วิธีการผลักอากาศหรือแก๊สลงไปข้างล่างเพื่อให้อากาศหรือแก๊สเหล่านั้นเกิดแรง
ปฏิกิริยาขึ้นมายกอากาศยานประเภทนี้ขึ้นมา (ตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน) การเคลื่อนที่ลักษณะไดนามิคผ่านอากาศนี้
เป็นที่มาของชื่อ aerodyne ซึ่งเป็นชื่อในภาษาอังกฤษของอากาศยานประเภทนี้นั่นเอง ปัจจุบันมี 2 วิธีเท่านั้นที่จะสร้างแรก
ยกเหล่านี้ได้ทางช่างยนต์เรียกว่า แรงยกอากาศพลศาสตร์(aerodynamic lift) และแรงยกกาลัง (powered lift)
แรงยกอากาศพลศาสตร์ เป็นแรงยกที่ใช้กันโดยทั่วไป เช่น เครื่องบิน, เรือบิน เป็นต้น ส่วนแรงยกกาลัง เป็นแรงยกที่ใช้ใน
อากาศยานประเภทบินขึ้นทางดิ่ง สาหรับจรวดนั้นไม่จัดอยู่ในอากาศยานประเภทนี้เนื่องจากจรวดไม่ได้ใช้อากาศในการยก
ตัว (และยังสามารถเคลื่อนที่ได้ในอวกาศได้อีกด้วย)
อากาศยานปีกตรึง (Fixed-wing aircraft)[แก้]
อากาศยานปีกตรึง จัดเป็นอากาศยานชนิดหนักกว่าอากาศ ที่เราเห็นและคุ้นเคยกันอย่างดีคือ เครื่องบินต่างๆ
ในการบินในอากาศของเครื่องบิน จะมีแรงหลักๆ อย่างน้อย 4 แรงเกิดขึ้นเสมอ ได้แก่
1. แรงยก (Lift) เครื่องบินสามารถลอยอยู่ในอากาศได้ เนื่องมาจากแรงยกที่เกิดขึ้นที่ปีก ซึ่งแรงยกนี้จะเกิดขณะที่
เครื่องบินมีการเคลื่อนที่ผ่านอากาศ (หรือมองในมุมกลับคือ มีอากาศเคลื่อนที่ผ่านปีก) ด้วยความเร็วที่เหมาะสม
จะเกิดแรงยกที่เพียงพอจะ ยกเครื่องบินให้ลอยขึ้นได้
2. แรงต้าน (Drag) แรงต้านคือแรงที่เกิดขึ้นขณะเครื่องบินมีการเคลื่อนที่ผ่านอากาศ ตัวแปรหลักของแรงต้านคือ
ขนาดรูปทรงของเครื่องบิน และความเร็วขณะเคลื่อนที่
3. น้าหนัก (Weight) น้าหนักรวมของเครื่องบิน
4. แรงขับดัน (Thrust) แรงที่ขับดัน หรือผลัก ฉุด เครื่องบินให้เคลื่อนที่ไปข้างหน้า มีแหล่งกาเนิดมาจากเครื่องยนต์
ชนิดต่างๆ
แพนอากาศ(Air foil) หรือภาพตัดขวางของปีกที่แสดงแรงที่เกี่ยวข้องอย่างง่าย
อากาศยานปีกหมุน (Rotorcraft)
อากาศยานปีกหมุน ใช้หลักการหมุนของใบพัดที่มีหน้าตัดเป็นรูปแพนอากาศ (Air foil) หมุนเพื่อสร้างแรงยก ตัวอย่างของ
อากาศยานประเภทนี้คือ เฮลิคอปเตอร์ ใบพัดของเฮลิคอปเตอร์หมุนด้วยแรงขับจากเพลาที่ต่อออกมาจากเครื่องยนต์
อากาศยานที่บินหรือลอยตัวอื่นๆ (Rotorcraft)
ตัวอย่างเช่น
1. อากาศยานที่ไม่มีหรือแทบจะไม่มีปีก ใช้ลาตัวสร้างแรงยก (Lifting Body) ในบางชนิดอาจจะมีปีกขนาดเล็ก เพื่อ
ช่วยในการทรงตัว อากาศยานเหล่านี้ประสิทธิภาพไม่ค่อยดีนัก เนื่องจากปีกเล็กหรือไม่มีปีกจึงต้องใช้ความเร็วสูง
เพื่อจะสร้างแรงยกให้เพียงพอ
X24B Lifting Body Courtesy NASA/JPL-Caltech
2. อากาศยานที่ใช้กาลังในการยกโดยตรง (Powered lift type)
อากาศยานชนิดนี้ ใช้เครื่องยนต์สร้างแรงขับในแนวดิ่ง เพื่อลอยตัวขึ้น ในขณะบินขึ้น หรือลงจอด (vertical takeoff and
landing (VTOL)) ซึ่งอากาศยานเหล่านี้จะใช้เครื่องยนต์ไอพ่นในการสร้างแรงยกดังกล่าว มักใช้ในการปฏิบัติงานในพื้นที่
จากัดเช่นเรือบรรทุกเครื่องบินทางการทหาร
แบบบันทึกกิจกรรมที่ 1 Taks 1
อากาศยานประเภท...................................................................................................................................
หลักการทางาน
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ลักษณะการใช้งาน
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
อากาศยานประเภท...................................................................................................................................
หลักการทางาน
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ลักษณะการใช้งาน
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.
.
แบบบันทึกกิจกรรมที่ 1 Taks 4
อากาศยานประเภท..................................................................................
แผนผังความคิด หลักการทางาน และลักษณะการใช้งานของอากาศยานที่สนใจ

More Related Content

What's hot

"IADC Accredited Rig Inspection Workshop"
"IADC Accredited Rig Inspection Workshop""IADC Accredited Rig Inspection Workshop"
"IADC Accredited Rig Inspection Workshop"Muanisa Nisa
 
AWS DMS를 통한 오라클 DB 마이그레이션 방법 - AWS Summit Seoul 2017
AWS DMS를 통한 오라클 DB 마이그레이션 방법 - AWS Summit Seoul 2017AWS DMS를 통한 오라클 DB 마이그레이션 방법 - AWS Summit Seoul 2017
AWS DMS를 통한 오라클 DB 마이그레이션 방법 - AWS Summit Seoul 2017Amazon Web Services Korea
 
OpenHPC: Project Overview and Updates
OpenHPC: Project Overview and UpdatesOpenHPC: Project Overview and Updates
OpenHPC: Project Overview and Updatesinside-BigData.com
 
기업 IT 인프라 환경 최적화를 위한 하이브리드 클라우드 적용 방안 - AWS Summit Seoul 2017
기업 IT 인프라 환경 최적화를 위한 하이브리드 클라우드 적용 방안 - AWS Summit Seoul 2017기업 IT 인프라 환경 최적화를 위한 하이브리드 클라우드 적용 방안 - AWS Summit Seoul 2017
기업 IT 인프라 환경 최적화를 위한 하이브리드 클라우드 적용 방안 - AWS Summit Seoul 2017Amazon Web Services Korea
 
Being compliant with Microsoft Licensing on AWS
Being compliant with Microsoft Licensing on AWSBeing compliant with Microsoft Licensing on AWS
Being compliant with Microsoft Licensing on AWSAmazon Web Services
 

What's hot (6)

"IADC Accredited Rig Inspection Workshop"
"IADC Accredited Rig Inspection Workshop""IADC Accredited Rig Inspection Workshop"
"IADC Accredited Rig Inspection Workshop"
 
Modal mass
Modal massModal mass
Modal mass
 
AWS DMS를 통한 오라클 DB 마이그레이션 방법 - AWS Summit Seoul 2017
AWS DMS를 통한 오라클 DB 마이그레이션 방법 - AWS Summit Seoul 2017AWS DMS를 통한 오라클 DB 마이그레이션 방법 - AWS Summit Seoul 2017
AWS DMS를 통한 오라클 DB 마이그레이션 방법 - AWS Summit Seoul 2017
 
OpenHPC: Project Overview and Updates
OpenHPC: Project Overview and UpdatesOpenHPC: Project Overview and Updates
OpenHPC: Project Overview and Updates
 
기업 IT 인프라 환경 최적화를 위한 하이브리드 클라우드 적용 방안 - AWS Summit Seoul 2017
기업 IT 인프라 환경 최적화를 위한 하이브리드 클라우드 적용 방안 - AWS Summit Seoul 2017기업 IT 인프라 환경 최적화를 위한 하이브리드 클라우드 적용 방안 - AWS Summit Seoul 2017
기업 IT 인프라 환경 최적화를 위한 하이브리드 클라우드 적용 방안 - AWS Summit Seoul 2017
 
Being compliant with Microsoft Licensing on AWS
Being compliant with Microsoft Licensing on AWSBeing compliant with Microsoft Licensing on AWS
Being compliant with Microsoft Licensing on AWS
 

More from Gwang Mydear

Sp ubn3 cerby-compet_701_school_24
Sp ubn3 cerby-compet_701_school_24Sp ubn3 cerby-compet_701_school_24
Sp ubn3 cerby-compet_701_school_24Gwang Mydear
 
การออกแบบและสร้างเครื่องร่อน
การออกแบบและสร้างเครื่องร่อนการออกแบบและสร้างเครื่องร่อน
การออกแบบและสร้างเครื่องร่อนGwang Mydear
 
เครื่องบินบินได้อย่างไร
เครื่องบินบินได้อย่างไรเครื่องบินบินได้อย่างไร
เครื่องบินบินได้อย่างไรGwang Mydear
 
ระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลGwang Mydear
 
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลGwang Mydear
 
ผลงานนักเรียน
ผลงานนักเรียนผลงานนักเรียน
ผลงานนักเรียนGwang Mydear
 
ผลงานเด็ก
ผลงานเด็กผลงานเด็ก
ผลงานเด็กGwang Mydear
 
ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรม
ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรมขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรม
ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรมGwang Mydear
 

More from Gwang Mydear (9)

Sp ubn3 cerby-compet_701_school_24
Sp ubn3 cerby-compet_701_school_24Sp ubn3 cerby-compet_701_school_24
Sp ubn3 cerby-compet_701_school_24
 
การออกแบบและสร้างเครื่องร่อน
การออกแบบและสร้างเครื่องร่อนการออกแบบและสร้างเครื่องร่อน
การออกแบบและสร้างเครื่องร่อน
 
Space Technology
Space TechnologySpace Technology
Space Technology
 
เครื่องบินบินได้อย่างไร
เครื่องบินบินได้อย่างไรเครื่องบินบินได้อย่างไร
เครื่องบินบินได้อย่างไร
 
ระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาล
 
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
 
ผลงานนักเรียน
ผลงานนักเรียนผลงานนักเรียน
ผลงานนักเรียน
 
ผลงานเด็ก
ผลงานเด็กผลงานเด็ก
ผลงานเด็ก
 
ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรม
ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรมขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรม
ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรม
 

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอากาศยาน

  • 1. ใบความรู้ ที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอากาศยาน ประเภทของอากาศยาน อากาศยานประเภทเบากว่าอากาศ (aerostat) อากาศยานประเภทนี้ใช้แรงลอยตัวในการลอยขึ้นสู่อากาศเช่นเดียวกับที่เรือลอยอยู่ในน้าได้ส่วนใหญ่จะใช้ถุง แก๊สหรือผ้าคลุมขนาดใหญ่แล้วเติมแก๊สที่มีความหนาแน่นสัมพัทธ์ต่าเข้าไป เช่น ฮีเลียม, ไฮโดรเจน หรืออากาศร้อนที่จะ เบากว่าอากาศที่อยู่รอบๆ น้าหนักที่สามารถใส่เข้าไปได้บนอากาศยานประเภทนี้นั้นจะมีค่าเท่ากับน้าหนักของอากาศที่มี ปริมาตรเท่ากับที่อากาศยานประเภทนี้เข้าไปแทนที่ (คุณสมบัติของแรงลอยตัว) ย้อนกลับไปเมื่อ 300 ปีก่อนคริสต์ศักราช บอลลูนอากาศร้อนขนาดเล็กที่มีชื่อเรียกว่า โคมลอยฟ้า ถือว่าเป็นอากาศ ยานชนิดที่สองของโลกที่มนุษย์สร้างขึ้นที่สามารถลอยอยู่บนฟ้าได้อากาศยานชนิดแรกคือ ว่าว นั่นเอง ต่อมามีการคิดค้นบอลลูนขึ้นมา และก็มีอากาศยานคล้ายๆกับบอลลูนตามมาอีกมายมาย เช่น เรือเหาะไฮเดนเบิร์ก จึงมีการ แบ่งประเภทของอากาศยานประเภทนี้ออกเป็น 2 ประเภทย่อยๆ ได้แก่ บอลลูน ซึ่งเป็นอากาศยานที่ไม่ติดตั้งเครื่องยนต์และ เรือเหาะ (airship) ซึ่งเป็นอากาศยานที่ติดตั้งเครื่องยนต์เข้าไปด้วย อากาศยานเบากว่าอากาศ:บอลลูน Balloon launch at the Great Pershing Balloon Derby near Brookfield, Missouri on September 4, 2005. Photo taken by Joe DeShon อากาศยานประเภทหนักกว่าอากาศ (aerodyne) อากาศยานประเภทหนักกว่าอากาศนี้จะใช้วิธีการผลักอากาศหรือแก๊สลงไปข้างล่างเพื่อให้อากาศหรือแก๊สเหล่านั้นเกิดแรง ปฏิกิริยาขึ้นมายกอากาศยานประเภทนี้ขึ้นมา (ตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน) การเคลื่อนที่ลักษณะไดนามิคผ่านอากาศนี้ เป็นที่มาของชื่อ aerodyne ซึ่งเป็นชื่อในภาษาอังกฤษของอากาศยานประเภทนี้นั่นเอง ปัจจุบันมี 2 วิธีเท่านั้นที่จะสร้างแรก ยกเหล่านี้ได้ทางช่างยนต์เรียกว่า แรงยกอากาศพลศาสตร์(aerodynamic lift) และแรงยกกาลัง (powered lift) แรงยกอากาศพลศาสตร์ เป็นแรงยกที่ใช้กันโดยทั่วไป เช่น เครื่องบิน, เรือบิน เป็นต้น ส่วนแรงยกกาลัง เป็นแรงยกที่ใช้ใน อากาศยานประเภทบินขึ้นทางดิ่ง สาหรับจรวดนั้นไม่จัดอยู่ในอากาศยานประเภทนี้เนื่องจากจรวดไม่ได้ใช้อากาศในการยก ตัว (และยังสามารถเคลื่อนที่ได้ในอวกาศได้อีกด้วย)
  • 2. อากาศยานปีกตรึง (Fixed-wing aircraft)[แก้] อากาศยานปีกตรึง จัดเป็นอากาศยานชนิดหนักกว่าอากาศ ที่เราเห็นและคุ้นเคยกันอย่างดีคือ เครื่องบินต่างๆ ในการบินในอากาศของเครื่องบิน จะมีแรงหลักๆ อย่างน้อย 4 แรงเกิดขึ้นเสมอ ได้แก่ 1. แรงยก (Lift) เครื่องบินสามารถลอยอยู่ในอากาศได้ เนื่องมาจากแรงยกที่เกิดขึ้นที่ปีก ซึ่งแรงยกนี้จะเกิดขณะที่ เครื่องบินมีการเคลื่อนที่ผ่านอากาศ (หรือมองในมุมกลับคือ มีอากาศเคลื่อนที่ผ่านปีก) ด้วยความเร็วที่เหมาะสม จะเกิดแรงยกที่เพียงพอจะ ยกเครื่องบินให้ลอยขึ้นได้ 2. แรงต้าน (Drag) แรงต้านคือแรงที่เกิดขึ้นขณะเครื่องบินมีการเคลื่อนที่ผ่านอากาศ ตัวแปรหลักของแรงต้านคือ ขนาดรูปทรงของเครื่องบิน และความเร็วขณะเคลื่อนที่ 3. น้าหนัก (Weight) น้าหนักรวมของเครื่องบิน 4. แรงขับดัน (Thrust) แรงที่ขับดัน หรือผลัก ฉุด เครื่องบินให้เคลื่อนที่ไปข้างหน้า มีแหล่งกาเนิดมาจากเครื่องยนต์ ชนิดต่างๆ แพนอากาศ(Air foil) หรือภาพตัดขวางของปีกที่แสดงแรงที่เกี่ยวข้องอย่างง่าย อากาศยานปีกหมุน (Rotorcraft) อากาศยานปีกหมุน ใช้หลักการหมุนของใบพัดที่มีหน้าตัดเป็นรูปแพนอากาศ (Air foil) หมุนเพื่อสร้างแรงยก ตัวอย่างของ อากาศยานประเภทนี้คือ เฮลิคอปเตอร์ ใบพัดของเฮลิคอปเตอร์หมุนด้วยแรงขับจากเพลาที่ต่อออกมาจากเครื่องยนต์
  • 3. อากาศยานที่บินหรือลอยตัวอื่นๆ (Rotorcraft) ตัวอย่างเช่น 1. อากาศยานที่ไม่มีหรือแทบจะไม่มีปีก ใช้ลาตัวสร้างแรงยก (Lifting Body) ในบางชนิดอาจจะมีปีกขนาดเล็ก เพื่อ ช่วยในการทรงตัว อากาศยานเหล่านี้ประสิทธิภาพไม่ค่อยดีนัก เนื่องจากปีกเล็กหรือไม่มีปีกจึงต้องใช้ความเร็วสูง เพื่อจะสร้างแรงยกให้เพียงพอ X24B Lifting Body Courtesy NASA/JPL-Caltech 2. อากาศยานที่ใช้กาลังในการยกโดยตรง (Powered lift type) อากาศยานชนิดนี้ ใช้เครื่องยนต์สร้างแรงขับในแนวดิ่ง เพื่อลอยตัวขึ้น ในขณะบินขึ้น หรือลงจอด (vertical takeoff and landing (VTOL)) ซึ่งอากาศยานเหล่านี้จะใช้เครื่องยนต์ไอพ่นในการสร้างแรงยกดังกล่าว มักใช้ในการปฏิบัติงานในพื้นที่ จากัดเช่นเรือบรรทุกเครื่องบินทางการทหาร
  • 4. แบบบันทึกกิจกรรมที่ 1 Taks 1 อากาศยานประเภท................................................................................................................................... หลักการทางาน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลักษณะการใช้งาน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. อากาศยานประเภท................................................................................................................................... หลักการทางาน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลักษณะการใช้งาน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. . .
  • 5. แบบบันทึกกิจกรรมที่ 1 Taks 4 อากาศยานประเภท.................................................................................. แผนผังความคิด หลักการทางาน และลักษณะการใช้งานของอากาศยานที่สนใจ