SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
6 ปี การบังคับสูญหายนายสมชาย นีละไพจิตร : ความล้ม
    เหลวของกระบวนการยุติธรรมไทย ในการค้นหาความจริง
      การเยียวยา และการป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชนใน
                         ประเทศไทย 1

ความเป็นมา

นายสมชาย นีละไพจิตร เริ่มต้นประกอบวิชาชีพทนายความ นับ
แต่ปี 2520 โดยได้มีโอกาสร่วมงานกับ นายทองใบ ทองเปาว์
ทนายความนักสิทธิมนุษยชนผู้เคยได้รับรางวัลแมกไซไซ ในการ
ให้ความช่วยเหลือด้านกฎหมายแก่ประชาชนมาโดยตลอด โดย
เฉพาะการให้ความช่วยเหลือเกี่ยวกับคดีความมั่นคงในจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย ซึ่งผู้ต้องหาส่วนใหญ่เป็นคน
ยากจน การศึกษาน้อย การทำางานของนายสมชายเป็นเรื่องที่ต้อง
ใช้ความเสียสละและความกล้าหาญอย่างสูง เนื่องจากช่วงเวลา
นั้นมีทนายความจำานวนน้อยมากที่ให้ความสำาคัญ และความสนใจ
ในการให้ความช่วยเหลือต่อปัญหาการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน
ของประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ส่วนใหญ่คดีที่นาย
สมชายรับผิดชอบศาลจะพิพากษายกฟ้องเนื่องจากขาดพยาน
หลักฐานที่น่าเชื่อถือ และขาดหลักฐานทางนิติวทยาศาสตร์ พบ
                                              ิ
ว่าส่วนใหญ่ของพยานเป็นพยานซัดทอด อีกทังผู้ต้องหาคดีความ
                                            ้
มั่นคงเหล่านีมักถูกซ้อมทรมานเพื่อให้รับสารภาพ ดังนั้นเมื่อคดี
               ้
ถูกนำาขึ้นสู่ศาล คดีส่วนใหญ่จึงถูกศาลยกฟ้อง

นอกจากการว่าความในฐานะทนายความในศาล นายสมชายยัง
ได้แสดงความคิดเห็นต่อสังคม เกี่ยวกับการปฎิบัติหน้าที่ของเจ้า
หน้าที่ตำารวจ และเรียกร้องให้มีการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม โดย
เฉพาะการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตำารวจ ในฐานะพนักงาน
สอบสวน ซึ่งถือเป็นต้นทางของกระบวนการยุติธรรม ซึ่งจะมีผลใน
การคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและพัฒนากระบวนการยุติธรรมให้มี
ประสิทธิภาพ เพื่อที่จะสามารถให้ความเป็นธรรมแก่ประชาชนได้
อย่างแท้จริง อีกทั้งยังเรียกร้องต่อบรรดาทนายความว่าควรให้
ความสำาคัญ และมีความเสียสละในการให้ความช่วยเหลือทาง

1
 นางอังคณา นีละไพจิตร รวบรวม ในโอกาสครบรอบ 6 ปี การบังคับสูญหาย นายสมชาย นี
ละไพจิตร ทนายความนักสิทธิมนุษยชน
กฎหมายแก่ประชาชนผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนในจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ ให้มากขึ้น

ภายหลังเหตุการณ์ปล้นปืน และเผาโรงเรียน เมื่อวันที่ 4 มกราคม
2547 ที่จังหวัดนราธิวาส เหตุการณ์ในภาคใต้ทวีความรุนแรงมากขึ้น
พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ได้มีคำาสั่งให้เจ้าหน้าที่
ตำารวจจากส่วนกลางลงไปปฏิบัติหน้าทีในจังหวัดชายแดนภาคใต้
                                      ่
ช่วงเวลานั้นมีการร้องเรียนการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบของเจ้า
หน้าที่ตำารวจ ไม่ว่าจะเป็นการควบคุมตัวประชาชนตามอำาเภอใจ
การซ้อมทรมานผู้ต้องหา การอุ้มฆ่า หรือแม้แต่การสังหารนอก
กระบวนการยุติธรรม

มูลเหตุการบังคับสูญหาย

นายสมชาย นีละไพจิตร ถูกบังคับให้สูญหาย เมื่อเวลาประมาณ
20.30 น.วันที่ 12 มีนาคม 2547 บนถนนรามคำาแหง เยื้องกับสถานี
ตำารวจนครบาลหัวหมาก กรุงเทพมหานคร โดยมีมลเหตุที่นาย
                                                  ู
สมชายได้ร้องเรียนเรื่องการซ้อมทรมานผู้ถูกกล่าวหาซึ่งเป็น
ประชาชนในจังหวัดนราธิวาสในคดีปล้นปืน เผาโรงเรียน 5 คน คือ
นายมักตา ฮารง ,นายอับดุลเลาะ อาบูคารี, นายมะนาเซ มามะ,
นายซูดือรามัน มาและ และนายสุกรี มะมิง โดยนายสมชายได้ไป
เยี่ยมผู้ต้องหาทั้ง 5 ที่กองบังคับการปราบปราม และผูถูกกล่าวหา
                                                     ้
ทั้ง 5 ได้เล่าให้นายสมชายฟังว่าถูกเจ้าหน้าที่ตำารวจชุดจับกุมซ้อม
ทรมานอย่างหนักเพื่อให้รับสารภาพ ซึ่งทั้งหมดถูกทรมานและถูก
ทำาร้ายร่างกายด้วยวิธีการช๊อตไฟฟ้าที่อวัยวะเพศ บางคนถูกใช้
เชือกแขวนคอ ให้เปลือยกายยืนบนเก้าอี้ ในลักษณะเขย่งปลาย
เท้า หรือปัสสาวะใส่ปาก เป็นต้น ทั้งนี้สอดคล้องกับ พล.ต.อ
สมบัติ อมรวิวัฒน์ อธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ ซึ่งเป็นประธาน
คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการหายตัวไปของนาย
สมชาย ได้ให้ถ้อยคำากับกรรมาธิการวุฒิสภาว่า สาเหตุของการ
เข้าไปช่วยผู้ต้องหา 5 คน เป็นสาเหตุหนึ่งของการหายตัวไปของ
นายสมชาย นีละไพจิตร ซึงตามหนังสือร้องเรียนของผู้ต้องหา 5
                               ่
คน นัน หากมีการดำาเนินการตามหนังสือร้องเรียนแล้วพบความ
       ้
จริงจะเป็นความผิดทางอาญา ซึงผู้เกี่ยวข้องจะต้องถูกดำาเนินคดี
                                   ่
ทางอาญา ส่วนผู้ถูกกล่าวหาทัง 5 คน ภายหลังอัยการมีคำาสั่งไม่
                                 ้
ฟ้อง
ในหนังสือที่นายสมชาย นีละไพจิตร เขียนร้องเรียนเพื่อขอความ
เป็นธรรมให้ผู้ถูกกล่าวหาทัง 5 คน ไปยังองค์กรต่างๆเมื่อวันที่ 11
                           ้
มีนาคม 2547 ก่อนจะถูกบังคับให้สูญหายเพียงวันเดียวระบุว่า
       “ ...ผลจากการกระทำาดังกล่าว(การทรมาน) จำาเลยทั้ง 5 คน
ต้องยอมรับสารภาพตามที่เจ้าพนักงานตำารวจประสงค์ เป็นการ
แสดงคำารับสารภาพและทำาแผนประกอบคำารับสารภาพโดยการ
ทำาร้ายร่างกาย ข่มขู่บงคับ มิได้รับการเยี่ยมญาติ และไม่มี
                       ั
โอกาสได้พบทนายความในขณะสอบปากคำา ย่อมเป็นการละเมิด
สิทธิของผู้ต้องหาทั้งสิ้น
       การกระทำาเช่นนี้มิชอบด้วยกฏหมายวิธีพิจารณาความอาญา
แต่อย่างใด อันเป็นการทำาลายกระบวนการยุติธรรมเบื้องต้นโดย
สิ้นเชิง... “

นอกจากการร้องเรียนเรื่องการซ้อมทรมานแล้ว นายสมชาย นีละ
ไพจิตร ยังได้ดำาเนินการล่ารายชื่อ 50,000 รายชื่อ(ตามรัฐธรรมนูญ
ปี 2540 ) เพื่อขอยกเลิกการประกาศใช้กฎอัยการศึกในจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ด้วย โดยนายสมชายให้เหตุผลว่ากฎอัยการศึก
ให้อำานาจกับเจ้าหน้าที่ทหารมาก สามารถควบคุมตัวประชาชนได้
7 วันโดยไม่ต้องมีหมายศาล ไม่ต้องมีข้อกล่าวหาใดๆ อีกทั้งไม่
อนุญาตให้ญาติและทนายเยี่ยมอีกด้วย ประชาชนส่วนใหญ่ที่ถูก
ควบคุมตัวจึงมักร้องเรียนว่ามีการซ้อมทรมาน และมีรายงานของ
การสูญหายของประชาชนในระยะเวลาของการควบคุมนั้น

กระบวนการยุติธรรมขั้นต้น

ภายหลังนายสมชาย นีละไพจิตร ถูกลักพาตัวเมื่อวันที่ 12 มีนาคม
2547 ต่อมาเจ้าหน้าที่ตำารวจได้พบรถยนตร์ของเขาจอดอยู่ในที่ห้าม
จอด หลังสถานีขนส่งหมอชิตเมื่อวันที่ 16 มีนาคม ปีเดียวกัน ซึงรถ
                                                            ่
ของเขาถูกส่งไปตรวจสอบเพื่อหาหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์ที่
กองพิสูจน์หลักฐาน สำานักงานตำารวจแห่งชาติ และถูกส่งไปตรวจ
สอบต่อที่สถาบันนิติวทยาศาสตร์ กระรวงยุติธรรม เมื่อวันที่ 19
                      ิ
มีนาคม 2547 แม้เจ้าหน้าที่ตำารวจระดับสูงทีทำาหน้าที่พนักงาน
                                          ่
สอบสวน จะให้ข่าวต่อสื่อมวลชนในขณะนั้นว่ามีวัตถุพยานสำาคัญ
ยืนยันผู้กระทำาผิด แต่ผลการตรวจสอบที่ปรากฏต่อศาลในการ
พิจารณาคดีในศาล กลับไม่พบหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์ใดๆที่
สามารถเชื่อมโยงไปยังผู้กระทำาความผิด

แม้ดูเหมือนว่ารัฐบาลซึ่งมี พ.ต.ท.ทักษิณ ชิณวัตร ดำารงตำาแหน่ง
นายกรัฐมนตรี จะมีความพยายามในการคลี่คลายคดีการบังคับ
สูญหายนายสมชาย นีละไพจิตร โดยการออกหมายจับเจ้าหน้าที่
ตำารวจ 5 นายภายใต้แรงกดดันจากสาธารณชน รวมถึงนักสิทธิ
มนุษยชนทังในและต่างประเทศ เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2547 อัน
             ้
ประกอบด้วย พ.ต.ต.เงิน ทองสุก จำาเลยที่ 1 พ.ต.ท.สินชัย นิ่ม
ปุญญกำาพงษ์ จำาเลยที่ 2 จ.ส.ต.ชัยเวง พาด้วง จำาเลยที่ 3
ส.ต.อ.รันดร สิทธิเขต จำาเลยที่ 4 และ พ.ต.ท.ชัดชัย เลี่ยม
สงวน จำาเลยที่ 5 ตำารวจกองปราบปราม ตกเป็นจำาเลยที่ 1-5 ฐาน
ร่วมกันปล้นทรัพย์ และข่มขืนใจผู้อื่น โดยใช้กำาลังประทุษร้าย
แต่ไม่สามารถตั้งข้อหาฆาตกรรมหรือข้อหาอื่นที่หนักกว่าได้
เนื่องจากยังไม่พบศพหรือหลักฐานที่บ่งชีว่านายสมชายได้เสีย
                                        ้
ชีวิตแล้ว สุดท้ายผู้ต้องหาทุกคนก็ได้รับอนุญาตให้ได้รับการ
ปล่อยตัวชัวคราว โดยที่มจำาเลยที่ 5 ซึ่งเมื่อออกจากเรือนจำาหลัง
           ่               ี
ถูกควบคุมตัวแล้ว 30 วันสามารถกลับเข้ารับราชการได้ทันที่ราวกับ
ว่าระยะเวลาที่อยูในเรือนจำานั้นเป็นการปฏิบัติหน้าที่ราชการตาม
                 ่
ปกติ แม้กฏ ก.พ.จะระบุว่าห้ามข้าราชการขาดงานเกิน 15 วันโดย
ไม่มีเหตุอันควรก็ตาม

     •   การสืบพยานในชันศาล
                       ้

คดีการลักพาตัวนายสมชาย นีละไพจิตร ได้ถูกนำาเข้าสู่การ
พิจารณาของศาลยุติธรรมครั้งแรกเมื่อเดือนสิงหาคม 2548 โดย
เป็นการสืบพยานอย่างต่อเนื่องจนสิ้นสุดคดีเมื่อเดือน ธันวาคม 2548
จากพยานหลักฐานทีปรากฏในการสืบพยานในชั้นศาลปรากฏหลัก
                       ่
ฐานว่าจำาเลยบางคนได้ลงไปปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดชายแดน
ภาคใต้ และมีความเกี่ยวข้องกับการทรมานผูถูกกล่าวหาที่นาย
                                           ้
สมชายได้ร้องเรียน ดังปรากฏข้อเท็จจริงตามเอกสารซึ่งโจทก์ส่ง
ศาลหมาย จ.128 อ้างถึงหนังสือคำาสั่งแต่งตั้งให้จำาเลยที่ 5 ในคดีนี้
เป็นคณะกรรมการสืบสวนและสอบสวนเพื่อหาตัวผู้กระทำาผิดหลัง
เหตุการณ์ปล้นปืนวันที่ 4 มกราคม 2547 โดยมีจำาเลยที่ 1 เป็นผู้รวม
                                                               ่
จับกุมผู้ต้องหาทั้ง 5 ในคดีปล้นปืนดังกล่าว ทั้งนี้นายซูดีรือมัน
มาเละ หนึ่งในผู้ต้องหา 5 คน ยืนยันว่าจำาเลยที่ 1 เป็นหนึงในผู้ที่
                                                        ่
ร่วมทำาร้ายร่างกาย ตามเอกสารส่งศาลหมาย จ.26 และระหว่างถูก
คุมขังที่เรือนจำากรุงเทพฯ ภายหลังที่นายสมชาย นีละไพจิตร ถูก
ทำาให้สูญหายแล้วนั้นจำาเลยที่ 1 และ 5 ได้เคยเข้าไปเยี่ยมนายสุกรี
มะมิง ตามเอกสารหมาย จ. 23 และในวันที่จำาเลยที่ 1 ,2 และ 4 เข้า
มอบตัวนั้นก็มีจำาเลยที่ 5 พร้อมทั้งพ.ต.อ. พิสิษฐ์ พิสุทธิศักดิ์ (ยศ
ขณะนั้น) ซึ่งเป็นหนึ่งในชุดจับกุมนายมะกะตา ฮารงกับพวก (ตาม
เอกสารหมาย จ.1) เป็นผู้นำาเข้ามอบตัวด้วย

     •   หลักฐานความเชื่อมโยงการใช้โทรศัพท์

ตามคำาเบิกความต่อศาลของพนักงานสอบสวนในคดีนี้ซึ่งได้ตรวจ
สอบความถูกต้องจากผู้ชำานาญการพิเศษ องค์การโทรศัพ์แห่ง
ประเทศไทย พบว่า การใช้โทรศัพท์พร้อมพิกัดสถานที่การใช้
โทรศัพท์นั้นเป็นข้อมูลซึ่งบันทึกด้วยระบบคอมพิวเตอร์ สามารถ
ตรวจสอบความถูกต้องได้ แสดงให้เห็นว่านับแต่ช่วงเช้าวันที่ 12
มีนาคม 2547 จำาเลยทั้ง 5 ได้ใช้โทรศัพท์ติดต่อกัน และมีลักษณะ
การเคลื่อนไหวและติดตามตัวนายสมชาย นีละไพจิตร ตั้งแต่เวลา
เช้าจนถึงเวลาเกิดเหตุ และหลังเกิดเหตุจำาเลยที5 ได้ติดต่อกับ
                                                  ่
พ.ต.อ.พิสิษฐ์ พิสุทธิ์ศักดิ์ (ยศขณะนั้น) ซึ่งในวันที่ 6 ถึงวันที่ 11
มีนาคม 2547 มีการติดต่อกันระหว่างกลุ่มบุคคลดังกล่าวน้อยมาก
แต่ในวันที่ 12 มีนาคม 2547 ซึ่งเป็นวันเกิดเหตุมีการติดต่อกันทาง
โทรศัพท์มากถึง 75 ครั้ง และหลังเกิดเหตุวันที่ 13 ถึง 15 มีนาคม มี
การใช้โทรศัพท์ติดต่อกันน้อยมาก แต่ในวันที่ 16 และ 17 มีนาคม
2547 ซึ่งเป็นช่วงของการพบรถนายสมชาย นีละไพจิตร พบมีการ
ติดต่อกันระหว่างกลุ่มบุคคลดังกล่าวมากถึง 36 ครั้ง

     • หลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์

แม้จะพบรถของนายสมชาย นีละไพจิตร ซึ่งถูกนำามาจอดทิ้งไว้
แต่การตรวจสอบทางนิติวทยาศาสตร์กลับไม่พบอะไรเลย
                          ิ
นอกจากลายนิ้วมือ และเส้นผมของนายสมชาย และบุคคลใน
ครอบครัว ทังที่ตามคำาให้การของประจักษ์พยานซึ่งเห็นว่าจำาเลย
                ้
ที่ 2 เป็นผู้ขับรถนายสมชาย ออกไป หลังจากที่นายสมชาย นีละ
ไพจิตร ถูกผลักขึ้นรถที่จำาเลยทั้งง 5 ได้เตรียมมา จากการ
พิจารณาคดีในศาลพนักงานอัยการ และเจ้าหน้าที่กองพิสูจน์หลัก
ฐาน สำานักงานตำารวจแห่งชาติได้แถลงต่อศาลว่าคดีนี้ไม่
สามารถหาหลักฐานทางนิติวทยาศาสตร์มาผูกมัดผู้กระทำาความ
                               ิ
ผิดได้ เนื่องจากจำาเลยทั้ง 5 นั้นเป็นพนักงานสืบสวนสอบสวน อีก
ทั้งจำาเลยที่ 5 เองก็เคยเข้ารับการอบรมการสืบสวนและหาหลัก
ฐานจากสถาบัน FBI ประเทศสหรัฐอเมริกา จึงทำาให้สามารถทราบ
ถึงวิธีการทำาลายหลักฐานเช่น ลายนิวมือแฝง และอาจเป็นสาเหตุ
                                     ้
ทีทำาให้ไม่พบหลักฐานหรือวัตถุพยานในรถยนต์ของนายสมชาย
   ่
นีละไพจิตร

     • ประจักษ์พยานในคดี

เนื่องจากนายสมชาย นีละไพจิตร ถูกบังคับให้สูญหายบริเวณ
ใจกลางกรุงเทพมหานคร ในเวลาที่การจลาจรติดขัดและผู้คน
พลุกพล่าน ทำาให้มีประชาชนจำานวนไม่น้อยเห็นเหตุการณ์ที่เกิด
ขึ้น เช่นจากการให้การของพยานรายหนึ่งที่เห็นเหตุการณ์ได้โทร
ศัพ์แจ้งเหตุแก่ศูนย์แจ้งเหตุ 191 แต่พบว่ามิได้มีการตรวจสอบ
นอกจากเจ้าหน้าที่ได้บันทึกว่า ได้มาตรวจสอบสถานทีรับแจ้งเหตุ
                                                      ่
แล้ว แต่ไม่พบเหตุร้ายใดๆ นอกจากนี้ยังพบมีประจักษ์พยานซึ่ง
พบเห็นเหตุการณ์ในที่เกิดเหตุหลายคน แต่ด้วยความล้มเหลว
ของการคุ้มครองพยานในประเทศไทย จึงทำาให้พยานหลายคน
กลับคำาให้การในชั้นศาลและไม่กล้ามาให้การเป็นพยาน อย่างไร
ก็ดีมีผู้หญิงคนหนึ่งที่เห็นเหตุการณ์และยินดีให้การเป็นพยาน โดย
ได้ชี้จำาเลยที่ 1 ว่าคล้ายคนที่ผลักนายสมชาย นีละไพจิตร ขึ้นรถที่
เตรียมมา ในขณะที่ชายอีกคนหนึ่งขับรถของนายสมชายออกไป

     •   การคุกคาม และการแทรกแซงการทำาหน้าที่ของ
         พนักงานสอบสวน

ไม่เพียงแต่พยานทีถูกคุกคาม แม้แต่พนักงานสอบสวนซึ่งทำาคดีนี้
                   ่
เองก็มีความรู้สึกไม่ปลอดภัยเช่นกัน ดังปรากฎตามเอกสารคำา
พิพากษาคดีหมายเลขดำาที่ ๑๔๖๙/๒๕๔๗ ระหว่างพล.ต.อ.สันต์
ศรุตานนท์ โจทก์ กับ นายสนธิ ลิมทองกุล ที่ ๑ นางสาวสโรชา
                                ้
พรอุดมศักด์ ที่ ๒ จำาเลยคดีหมิ่นประมาทความผิดต่อเจ้าพนักงาน
โดยในคำาพิพากาษาหน้าที่ ๒๑ บรรทัดที่ ๑๑-๑๘ และในหน้าที่
๒๒ บรรทัด ๑-๑๐ ว่า
"...และอดีตที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรีฝ่ายความมั่นคง ซึ่ง
เคยกำากับดูแลสำานักงานตำารวจแห่งชาติ คนเดียวกับคนที่ให้ข้อ
เท็จจริงเกี่ยวกับปัญหาภาคใต้ในคำาฟ้องข้อ ๓.๔ ได้เบิกความว่า
ในกรณีของนายสมชาย นีละไพจิตร ทีหายตัวไป พล.อ.ชวลิต
                                      ่
ยงใจยุทธ รองนายกรัฐมนตรีสั่งให้มีการดำาเนินคดีในเรื่องนี้ให้ได้
ซึ่งหัวหน้าพนักงานสอบสวนผู้บัญชาการตำารวจนครบาลและผู้ช่วย
ผู้บัญชาการตำารวจแห่งชาติซึ่งรับผิดชอบเรื่องนี้ขอพบกับ
พล.อ.ชวลิตในทีลับ และรายงานว่ามีอุปสรรคในการดำาเนินคดีมาก
                 ่
ขอให้พล.อ.ชวลิต ให้การสนับสนุนในการปฎิบัติหน้าทีและช่วย
                                                    ่
คุ้มครองให้พวกเขาถูกกดดันซึ่งพยานเห็นว่าการที่มาขอพบในที่
ลับ อาจเป็นเพราะได้รบแรงกดดันและได้มีอุปสรรคมาก..." และ
                         ั

       "...นอกจากนี้การที่พนักงานสอบสวนผูบัญชาการ
                                         ้
ตำารวจนครบาลและผู้ช่วยผู้บัญชาตำารวจแห่งชาติซึ่งรับผิดชอบ
เรื่องของนายสมชาย นีละไพจิตร ขอเข้าพบพล.อ.ชวลิต เป็นการ
ลับและขอให้ช่วยคุ้มครองทำาให้มีเหตุอันควรเชื่อได้ว่ามีผู้มีอำานาจ
มากกว่าพนักงานสอบสวนดังกล่าวได้เข้ามาเกี่ยวข้องในการ
ปฎิบัติหน้าที่ของพนักงานสอบสวนในอันที่จะไม่ทำาให้เกิดความ
ชัดเจนโปร่งใสของเรื่องดังกล่าว..."

     • คำาพิพากษา

หลังจากใช้เวลาในการพิจารณาคดีการสูญหายของนายสมชาย นี
ละไพจิตร เป็นเวลา 7 เดือน นับแต่เดือนสิงหาคม 2548 ในคดี
ความผิดต่อเสรีภาพ และปล้นทรัพย์ ศาลอาญากรุงเทพฯได้อ่าน
คำาพิพากษา คดีหมายเลขดำาที่ 1952 / 2547 และคดีหมายเลข
แดงที่ อ. 48 / 2549 เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2549 โดยมีความสรุปว่า

       “ ศาลพิเคราะห์พยานหลักฐานแล้ว โจทก์มีพยานเป็น
พนักงานสอบสวน เบิกความสอดคล้องตรงกัน ทั้งเวลาและสถาน
ที่ ทำาให้เชื่อโดยปราศจากข้อสงสัยว่านายสมชายหายตัวไป
จริง ส่วนการทีโจทก์นำาข้อมูลการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ของจำาเลย
                  ่
ทั้ง 5 ที่ติดต่อกันหลายครั้งในสถานที่ต่างๆ ในช่วงวันเวลาก่อน
เกิดเหตุและในวันเกิดเหตุที่นายสมชายหายตัวไป ศาลเห็นว่ายังมี
ข้อสงสัยในเอกสารหลักฐานการใช้โทรศัพท์ เนื่องจากโจทก์ไม่
ได้นำา ผู้ช่วยผู้บัญชาการ สำานักงานตำารวจแห่งชาติ(ผช ผบ ตร.)
และ รอง ผู้บัญชาการตำารวจนครบาล (ผบ บชน.)ทีอ้างว่าเป็นผู้
                                               ่
ประสานขอเอกสารดังกล่าว จากบริษัทโทรศัพท์เคลื่อนทีมาเบิก
                                                  ่
ความยืนยันในชั้นศาล ทำาให้ฝ่ายทนายจำาเลยไม่สามารถซักค้าน
ในประเด็นดังกล่าวได้ จึงไม่มีนำ้าหนักเพียงพอ “

       “ ...นอกจากนี้ ศาลยังมีประจักษ์พยาน 3 คน ระบุรูปพรรณ
สัณฐานของจำาเลยที่ 1 คือ พ.ต.ต.เงิน ได้ชัดเจนว่าเป็นคนรูปร่าง
ใหญ่ ศีรษะล้าน รวมถึงชี้ภาพได้ถูกต้องและยืนยันว่า ขณะเกิด
เหตุเห็น พ.ต.ต.เงิน(จำาเลยที่ 1)เป็นผูที่ผลักนายสมชายเข้าไปใน
                                      ้
รถ โดยประจักษ์พยานทั้ง 3 ไม่เคยมีเรื่องหรือมีสาเหตุโกรธเคือง
กันมาก่อน เชื่อได้ว่าเป็นการเบิกความโดยสุจริตใจ ส่วนที่จำาเลย
อ้างว่าสาเหตุที่พนักงานสอบสวนของ บช.น. ทำาสำานวนคดีเพื่อ
ปรักปรำาให้จำาเลยทั้งหมดได้รับโทษ เนื่องจากความขัดแย้ง
ระหว่าง กองปราบปราม กับ บช.น. เป็นการกล่าวอ้างเพียงลอยๆ
ไม่มนำ้าหนักแต่อย่างใด ส่วนในข้อหาร่วมกันปล้นทรัพย์นั้น โจทก์
     ี
ไม่มีประจักษ์พยานที่สามารถยืนยันได้วา พ.ต.ต.เงินได้ร่วมกับ
                                        ่
พวกก่อเหตุดังกล่าว จึงยกประโยชน์แห่งความสงสัยให้จำาเลย ..”

      “ .. ศาลพิเคราะห์แล้วเห็นว่า พ.ต.ต.เงินกระทำาผิด ฐาน
ทำาร้ายร่างกายผู้อื่น ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 319 วรรค
1 และร่วมกันข่มขืนใจผู้อื่น ให้กระทำาการใด หรือไม่กระทำาการใด
โดยใช้กำาลังประทุษร้าย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 309
วรรค 2 ให้ลงโทษในบทหนักสุด ฐานกักขังหน่วงเหนี่ยวเป็น
เวลา 3 ปี ส่วนจำาเลยที่ 2-5 ให้ยกฟ้อง เนื่องจากไม่มีพยานหลัก
ฐาน ในการกระทำาผิดตามฟ้อง”

ความล้มเหลวของกลไกรัฐในการอำานวยความ
ยุติธรรม
จากการที่เจ้าหน้าที่ตำารวจซึ่งตกเป็นจำาเลยในคดีลักพาตัวนาย
สมชาย สามารถกลับเข้ารับราชการได้ตามปกติ ยกเว้นจำาเลยที่ 1
คือพ.ต.ต.เงิน ทองสุก ที่ศาลพิพากษาจำาคุก 3 ปี และได้รับการ
ประกันตัวระหว่างรออุทธรณ์ ทางผู้เสียหายเห็นว่า ยังไม่ได้รับ
ความเป็นธรรม เนื่องจากการที่เจ้าหน้าที่ตำารวจอีก 4 นาย ยังคงรับ
ราชการ จึงอาจส่งผลให้พยานเกิดความหวาดกลัว และอาจมีการ
คุกคามพยาน ซึ่งจะส่งผลต่อคำาให้การของพยานได้ จึงได้ร้อง
เรียนยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมถึงองค์กรอิสระ เช่น กอง
บังคับการปราบปราม ศาลปกครอง และผู้ตรวจการแผ่นดินของ
รัฐสภา(ตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540)

กองบังคับการปราบปราม

     •   กองบังคับการปราบปราม มีหนังสือเลขที่ 0026/ 4010 ลง
         วันที่ 18 กันยายน 2549 แจ้งสรุปผลการสอบสวนทางวินัย
         ตำารวจทั้ง 5 นายที่ตกเป็นจำาเลยในคดีกักขังหน่วงเหนี่ยวฯ
         นายสมชาย นีละไพจิตร สรุปว่า .... ยังรับฟังไม่ได้ว่า
         ผู้ถูกกล่าวหาทั้ง 5 นาย กระทำาผิดวินัยอย่างร้ายแรง
         แต่เป็นกรณีกล่าวหาในความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
         อันเนื่องจากต้องหาคดีอาญา ซึ่งอยู่ในการ
         พิจารณาของศาล คณะกรรมการสอบสวนวินัยร้าย
         แรง จึงเสนอเห็นควร รอฟังผลคดีอาญาถึงที่สุด
         ก่อน เพื่อนำามาประกอบการพิจารณาต่อไป....

ศาลปกครอง

     •   วันที่ 12 มีนาคม 2550 นางอังคณา นีละไพจิตร ได้ยื่นฟ้อง
         สำานักงานตำารวจแห่งชาติ และผู้บัญชการตำารวจแห่งชาติ
         ต่อศาลปกครองกรณีไม่ดำาเนินการทางวินยกับเจ้าหน้าที่
                                                   ั
         ตำารวจที่ตกเป็นจำาเลยคดีลักพาตัวนายสมชาย นีละ
         ไพจิตร
     •   วันที่ 4 เมษายน 2550 ศาลปกครองชั้นต้นมีคำาสั่ง ตาม
         คดีหมายเลขดำาที่ 475/ 2550 คดีหมายเลขแดงที่ 533/
         2550 ไม่รับคำาร้องของนางอังคณา นีละไพจิตร กรณี
         สำานักงานตำารวจแห่งชาติไม่ดำาเนินการทางวินัยแก่เจ้า
         หน้าที่ตำารวจทั้ง 5 นาย ในคดีกักขังหน่วงเหนี่ยว และ
         ปล้นทรัพย์ นายสมชาย นีละไพจิตร โดยศาลปกครอง
         ชั้นต้นพิจารณาแล้วเห็นว่า “ ... การที่ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒
         ( ผบ ตร ) มีคำาสั่งให้นายตำารวจทั้ง ๕ นาย กลับเข้า
         รับราชการในสังกัดเดิมเป็นดุลยพินิจของผู้บัญชา
         ในการบริหารงานบุคคลตามขันตอนปกติที่กฎหมาย
                                         ้
         ให้อำานาจไว้ คำาสั่งของผู้ถกฟ้องคดีที่๒ ดังกล่าว
                                      ู
         จึงไม่มีผลกระทบต่อสถานสภาพของสิทธิหรือหน้าที่
         ของผู้ฟ้องคดี ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกกระบวนการ
พิจารณาทางปกครอง ผู้ฟ้องคดีจึงมิใช่ผู้ได้รับ
        ความเดือดร้อนหรือเสียหายจากคำาสั่งของผู้ถกฟ้อง   ู
        คดีที่ ๒ ที่สั่งให้เจ้าหน้าที่ตำารวจทั้ง ๕ นายกลับเข้า
        รับราชการ จึงไม่มีสิทธิฟ้องคดีต่อศาลเพื่อให้เพิก
        ถอนคำาสั่งของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ ดังกล่าว ส่วนที่ผู้
        ฟ้องคดีมีคำาขอให้ผู้ถูกฟ้องคดีทั้งสองดำาเนินการ
        ทางวินัยแก่เจ้าหน้าที่ตำารวจที่เกี่ยวข้องข้างต้นและ
        ให้มีคำาสั่งพักราชการหรือให้ออกจากราชการไว้
        ก่อน จนกว่าการพิจารณาคดีอาญาของศาล
        ยุติธรรมและกรมสอบสวนคดีพิเศษจะเสร็จสิ้นนั้น
        เห็นว่าการดำาเนินการทางวินัยเป็นเรื่องระหว่างรัฐกับ
        เจ้าหน้าที่ของรัฐที่ผู้บังคับบัญชาจะใช้ดุลยพินิจ
        ดำาเนินการตามที่มีเหตุผลอันสมควร และมิได้มีผล
        เป็นการเยียวยาทุกข์ให้แก่ผู้ฟ้องคดีโดยตรง ผู้ฟ้อง
        คดีจึงไม่มีสิทธิฟ้องผู้ถูกฟ้องคดีทั้งศาลต่อศาลตาม
        มาตรา ๔๒ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้ง
        ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.
        ๒๕๔๒”

ผู้เสียหายอุทธรณ์

    •   22 กรกฎาคม 2550 ศาลปกครองสูงสุด มีคำาสั่งที่
        501 / 2550 ยืนตามศาลปกครองชั้นต้นไม่รับคำาฟ้องไว้
        พิจารณา และให้จำาหน่ายคดีออกจากสารบบความ

ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา

    •   22 มีนาคม 2549 นางอังคณา นีละไพจิตร ได้ร้องเรียนต่อผู้
        ตรวจการแผ่นดินรัฐสภา กรณีเจ้าหน้าที่ตำารวจซึ่งตกเป็น
        จำาเลยในคดีอาญา ไม่ได้รับการลงโทษางวินย    ั
    •   วันที่ 18 มกราคม 2550 มีหนังสือ ด่วนที่สุด เลขที่ ผร 22 /
        581 จากสำานักงานผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา ความ
        ยาวสามหน้ากระดาษส่งมาพร้อม พระราชบัญญัติประกอบ
        รัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา พ.ศ.
        ๒๕๔๒ มีใจความสรุปสามบรรทัดว่า “......ผู้ตรวจการ
        แผ่นดินของรัฐสภา ( นายพูลทรัพย์ ปิยะอนันต์ )
พิจารณาแล้วเห็นว่ารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
        ไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ได้สนสุดลงแล้ว กรณีจึง
                                     ิ้
        ไม่มีเหตุให้ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาพิจารณา
        และดำาเนินการต่อไป .....”


การดำาเนินการด้านยุติธรรม
    •   คดีกักขังหน่วงเหนี่ยว ความผิดต่อเสรีภาพ ภายหลัง
        ศาลชั้นต้นมีคำาพิพากษาเมื่อวันที่ 12 มกราคม 2549 ผู้เสีย
        หายอุทธรณ์ ปัจจุบนคดีอยู่ในระหว่างการพิจารณาของ
                             ั
        ศาลอุทธรณ์
    •   คดีฆาตกรรม คดีการสูญหายของนายสมชาย นีละ
        ไพจิตร ซึ่งเชื่อว่านายสมชาย นีละไพจิตร ได้เสียชีวิต
        แล้วนั้น กรมสอบสวนคดีพิเศษ ได้รับเป็นคดีพิเศษเมื่อวัน
        ที่ 19 กรกฎาคม 2548 ปัจจุบันอยูระหว่างการสืบสวน
                                        ่
        สอบสวน พบว่ากรมสอบสวนคดีพิเศษได้มุ่งเน้นในการ
        หาชิ้นส่วนศพ และถังนำ้ามัน ซึ่งเชื่อว่าใช้ทำาลายศพของ
        นายสมชาย ทีแม่นำ้าแม่กลอง จังหวัดราชบุรี ตามคำา
                         ่
        ให้การของพยาน ปัจจุบันกรมสอบสวนคดีพิเศษได้พบ
        ถังนำ้ามันขนาด 200 ลิตร แล้วจำานวน 4 ถัง กับเศษกระดูก
        มนุษย์จำานวนหนึ่งซึงตรวจสอบแล้วไม่พบว่ามีสาร
                               ่
        พันธุกรรมตรงกับนายสมชาย นีละไพจิตร
    •   การร้องเรียนการทรมานผู้ต้องหา กรมสอบสวนคดี
        พิเศษได้ส่งเรื่องร้องเรียนกรณีการซ้อมทรมาน นายมักตา
        ฮารง กับพวก โดยเจ้าหน้าที่ตำารวจระดับสูง และเชื่อว่า
        เป็นสาเหตุททำาให้นายสมชายนีละไพจิตร ถูกทำาให้
                      ี่
        หายตัวไป ต่อ คณะกรรมการป้องกันและปราบปราม
        การทุจริตแห่งชาติ (ปปช.) ปัจจจุบันอยู่ระหว่างการ
        สอบสวนของ ปปช. เป็นระยะเวลา เกือบ 3 ปี โดย ปปช.
        ได้เรียกเจ้าหน้าที่ตำารวจ 14 นายมารับทราบข้อกล่าวหา
        แล้ว
    •   การเป็นบุคคลสาบสูญตามคำาสั่งศาล วันที่ 18
        พฤษภาคม 2552 ศาลแพ่งได้มีคำาสั่ง คดีหมายเลขดำาที่
        1206 / 2552 คดีหมายเลขแดงที่ 2050/ 2552 สรุปความว่า “..
        นับแต่นายสมชาย นีละไพจิตร หายตัวไปจนปัจจุบันเป็น
เวลา 5 ปีเศษ จึงมีคำาสั่งให้นายสมชาย นีละไพจิตร เป็น
         คนสาบสูญตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา
         61 วรรคแรก “
     •   คณะทำางานด้านคนหายของสหประชาชาติ UN
         Working Group on Enforced or Involuntary Disappearance (UN WGE
         ID)ได้พิจารณากรณีการสูญหายของนายสมชาย นีละ
         ไพจิตร และมีมติรับคดีนายสมชาย นีละไพจิตร เป็นคดี
         คนหายของคณะทำางานด้านผู้สูญหายของสหประชาติ
         เมื่อ วันที่ 1 มิถุนายน 2548 หมายเลขคดี 1003249 ( case no.
         1003249) ทั้งนี้คณะทำางานได้ติดตามสอบถามความ
         ก้าวหน้าในการสืบสวน สอบสวน การสูญหายของนาย
         สมชาย นีละไพจิตร จากรัฐบาลไทย

ปัญหาและอุปสรรคในการเข้าถึงความยุติธรรม
วันที่ 12 มีนาคม 2553 เป็นเวลา 6 ปีเต็มที่นายสมชาย นีละไพจิตร
ถูกบังคับให้หายตัวไป และนับแต่เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2548 ที่
พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ได้กล่าวแก่นางอังคณา นีละไพจิตร ที่บาน    ้
พิษณุโลก ว่า เชื่อว่านายสมชาย นีละไพจิตร ได้เสียชีวิตแล้ว แม้
ระหว่าง 6 ปีที่ผ่านมา ประเทศไทยจะมีนายกรัฐมนตรีมาแล้วถึง 5
คน และมีรัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม 7 คน กลับพบความจริง
                    ่
ว่าคดีการสูญหายของนายสมชาย นีละไพจิตร ไม่มีความก้าวหน้า
ทางคดี แม้รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ จะแสดงความสนใจใน
การคลี่คลายคดีนี้นับแต่เข้ารับตำาแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่ก็ไม่พบ
ว่าคดีมีความคืบหน้าแต่อย่างใด จากการติดตามคดีอย่างใกล้ชิด
พบข้อสังเกตุในสิ่งที่เป็นปัญหา และอุปสรรคสำาคัญทีทำาให้คดีการ
                                                    ่
สูญหายของนายสมชาย นีละไพจิตร มีความล่าช้า และไม่สามารถ
เข้าถึงความยุติธรรมได้

ความไม่เต็มใจของรัฐในการดำาเนินการ
นายสมชาย นีละไพจิตร ถูกทำาให้หายตัวไปในขณะที่
พ.ต.ท.ทักษิณ ชิณวัตร ดำารงตำาแหน่งนายกรัฐมนตรี แม้ดูเหมือน
ว่ารัฐบาลขณะนั้นพยายามคลี่คลายคดี โดยการตั้งข้อกล่าวหาเจ้า
หน้าที่ตำารวจ 5 นาย ข้อหากักขังหน่วงเหนี่ยว และปล้นทรัพย์ แต่
เมื่อคดีถูกนำาขึ้นสู่การพิจารณาของศาล กลับพบข้อเท็จจริงที่ปราก
ฎว่า พยานหลักฐานต่างๆในคดีถูกทำาลายจนไม่มนำ้าหนักเพียง
                                              ี
พอที่จะสามารถนำามาใช้เพื่อประกอบในการนำาผู้กระทำาผิดมา
ลงโทษได้ อีกทั้งการที่จำาเลยซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ตำารวจได้รบการ
                                                         ั
ประกันตัวระหว่างการพิจารณาคดี เป็นสาเหตุททำาให้พยานเกิด
                                               ี่
ความหวาดกลัว และพยานบางคนกลับคำาให้การในชั้นศาล

รวมถึงการที่มีพยานคนหนึ่งให้การต่อชั้นศาลชั้นต้น โดยเชื่อว่า
จำาเลยทั้ง 5 ได้ทราบคำาให้การของพยานในคดีทั้งหมดมาก่อนล่วง
หน้าการพิจารณาคดี ตามเอกสารของจำาเลยที่ ٥ ทียื่นไว้ต่อศาล
                                                 ่
ตามเอกสารหมายเลข ล.١٠٧ แผ่นที่ ٢ ซึ่งมีข้อความระบุว่า
พล.ต.อ.สมบัติ อมรวิวฒน์ อธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ ได้นำาคำา
                      ั
ให้การของพยานโจทก์ในสำานวนการสอบสวนมาให้แก่ฝ่ายจำาเลย
จึงสอดคล้องกับคำาพิพากษาในคดีนี้ หน้าที่ ٧٣-٧٢ ซึ่งระบุวา “
                                                         ่
ทางทนายฝ่ายจำาเลยได้มีการขอให้ศาลหมายเรียกเอกสารดัง
กล่าวมาจากพนักงานอัยการ ซึงพนักงานอัยการได้จัดส่งเอกสาร
                              ่
มาให้และจำาเลยได้อ้างส่งเป็นพยานต่อศาลแล้วซึ่งแสดงว่า
เอกสารดังกล่าวได้มีอยู่ในสำานวนการสอบสวนที่พนักงานสอบสวน
มอบให้แก่พนักงานอัยการแล้ว มิฉะนันคงจะไม่มีเอกสารดังกล่าว
                                   ้
จากสำานวนการสอบสวนที่พนักงานอัยการจะส่งศาลตามหมาย
เรียกได้”

แม้หลังการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 รัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลา
นนท์ จะให้ความสำาคัญแก่คดีนี้โดยตั้งคณะกรรมการเพื่อสอบสวน
คดีนี้โดยเฉพาะ แต่ก็ยังปรากฏว่าคดีการฆาตกรรมนายสมชาย นี
ละไพจิตร ไม่มีความคืบหน้าแต่ประการใด

หลังการเลือกตั้งปี 2550 รัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช และนาย
สมชาย วงศ์สวัสดิ์ มีทาทีชัดเจนในการไม่เต็มใจ(unwilling) ในการ
                       ่
คลี่คลายคดีการสูญหายของนายสมชาย นีละไพจิตร อีกทั้งยัง
แสดงให้เห็นถึงการแทรกแซงการสืบสวน สอบสวนจากฝ่าย
การเมืองมาโดยตลอด แม้ตามพระราชบัญญัติกรมสอบสวนคดี
พิเศษ จะให้อิสระและให้อำานาจแก่พนักงานสอบสวนกรมสอบสวน
คดีพิเศษ ในการทำาหน้าที่กรณีประชาชนไม่ได้รบความเป็นธรรม
                                             ั
จากการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่รัฐ และผู้มีอทธิพล แต่ที่ผ่านมาจน
                                        ิ
ปัจจุบันกรมสอบสวนคดีพิเศษก็ประสบความล้มเหลวในการทำาคดี
ที่เกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนมาโดยตลอด และพิสูจน์ให้
เห็นว่าไม่สามารถทำาหน้าที่ได้ตามที่สังคมคาดหวัง
ความล้มเหลวในการคุ้มครองพยาน
ความล้มเหลวในการคุ้มครองพยาน ทำาให้พยานในคดีการบังคับ
สูญหายนายสมชาย นีละไพจิตร ได้รับการคุกคามมาโดยตลอด
โดยเฉพาะพยานซึงนายสมชายได้ทำาการร้องเรียนเรื่องการถูก
                   ่
ซ้อมทรมานระหว่างการควบคุมตัวโดยเจ้าหน้าที่ตำารวจ แม้พยาน
เหล่านี้จะอยู่ในโครงการคุ้มครองพยานของกรมสอบสวนคดีพิเศษ
แต่ก็ดูเหมือนไม่มีพยานคนใดมีความมั่นใจในความปลอดภัยใน
การให้การเป็นพยาน เพื่อนำาผู้กระทำาผิดมาลงโทษตาม
กระบวนการยุติธรรม เช่นกรณี นายซูดือรามัน มาและ ซึงถูก พล
                                                      ่
ตำารวจโทภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยา และ พลตำารวจตรีจักรทิพย์
ชัยจินดา ฟ้องต่อศาลอาญา ในข้อหาให้การอันเป็นเท็จต่อคณะ
กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ(ปปช.) ปัจจุบัน
คดีที่ พลตำารวจโทภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยา ฟ้องนายซูดือ
รามัน ศาลได้ยกคำาร้อง ส่วนคดีที่ พลตำารวจตรีจักรทิพย์ ชัยจินดา
ฟ้อง ศาลนัดไต่สวนคำาร้องในวันที่ 15 มีนาคม 2553 ทีศาลอาญา
                                                  ่
กรุงเทพฯ

นอกจากนั้นพยานสำาคัญอีกคนในคดีซึ่งอยู่ภายใต้การคุ้มครอง
พยาน ของกรมสอบสวนคดีพิเศษ คือนายอัลดุลเลาะ อาบูคารี
ก็ได้หายสาบสูญไปจากบ้านพักที่จังหวัดนราธิวาส ตั้งแต่วันที่ 11
ธันวาคม 2552 หลังจากที่เขาได้กลับไปเยี่ยมครอบครัวเนื่องใน
โอกาสวันสำาคัญทางศาสนา ซึ่งจนถึงปัจจุบันยังไม่มีผู้ใดทราบ
ชะตากรรมของนายอับดุลเลาะ อีกทั้งกรมสอบสวนคดีพิเศษซึ่ง
ต้องรับผิดชอบโดยตรงในฐานะที่นายอับดุลเลาะ อยู่ระหว่างการ
คุ้มครองพยานยังไม่มท่าทีในการแสดงความรับผิดชอบแต่อย่าง
                    ี
ใด

ความไร้ประสิทธิภาพของการหาพยานหลักฐานทาง
คดี
การลักพาตัวนายสมชาย นีละไพจิตร ได้ทิ้งหลักฐานไว้มากมาย
แต่หลักฐานทางคดีทั้งหมดก็ดูเหมือนถูกทำาลายไปจนเกือบหมด
เช่น

     •   รถยนตร์ของนายสมชายที่ผู้กระทำาผิดได้นำามาจอดทิ้งไว้
         ปรากฏเมื่อนำามาตรวจสอบทางนิติวทยาศาสตร์ ทีกอง
                                       ิ            ่
พิสูจน์หลักฐาน สำานักงานตำารวจแห่งชาติ และที่สถาบัน
       นิติวิทยาศาสตร์ กระทรวงยุติธรรม แล้วกลับไม่พบหลัก
       ฐานทางนิติวทยาศาสตร์ ไม่วาจะเป็นลายนิวมือ รอยนิ้ว
                      ิ                 ่             ้
       มือแฝง หลักฐานทางพันธุกรรม(DNA) ของผู้กระทำาผิด อีก
       ทั้งในขั้นตอนของเก็บพยานหลักฐาน พบว่าจนถึงปัจจุบัน
       ไม่พบมีการตรวจหาพยานหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์
       เช่นการตรวจหาสารพันธุกรรม(DNA) ของผู้ต้องหาทั้ง 5
       คน อีกทั้งไม่มีการถอนผม หรือขน เพื่อนำามาเปรียบ
       เทียบกับเส้นผมที่พบในรถของนายสมชายตามคำาให้การ
       ของประจักษ์พยานทีให้การว่าเห็นจำาเลยที่ 2 เป็นผู้ขับรถ
                                ่
       ของนายสมชาย นีละไพจิตร ออกไป
   •   หลักฐานความเชื่อมโยงการใช้โทรศัพท์ ของผู้มีสวนร่วม   ่
       ในการกระทำาผิด ถูกลบทิ้งไปเกือบหมดทั้งที่คดีการ
       ลักพาตัวนายสมชาย นีละไพจิตร เป็นคดีสำาคัญ และคดี
       การฆาตกรรมมีอายุความถึง 20 ปี แต่พนักงานสอบสวน
       กลับปล่อยให้ข้อมูลสำาคัญถูกทำาลาย หรือแม้กระทังการ     ่
       ตวจสอบการใช้โทรศัพท์ของกลุ่มผู้กระทำาผิด พบมีการ
       จำากัดการตรวจสอบเฉพาะการใช้โทรศัพท์ที่จำาเลยทัง 5        ้
       คนติดต่อกัน แต่มิได้มีการตรวจสอบไปถึงบุคคลอื่นี่
       เกี่ยวข้องที่เชื่อว่าเป็นเจ้าหน้าที่ตำารวจระดับสูง และอาจ
       เป็นผู้บงการในการลักพาตัว การฆาตกรรม และการ
       ทำาลายศพนายสมชาย นีละไพจิตร

ความล่าช้าในกระบวนการยุติธรรม และการสืบสวน
สอบสวนคดีการบังคับสูญหาย นายสมชาย นีละ
ไพจิตร
   •   การอุทธรณ์คดี คดีกักขังหน่วงเหนี่ยว และความผิดต่อ
       เสรีภาพ ปัจจุบันอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลอุทธรณ์
       ภายหลังศาลชั้นต้นมีคำาพิพากษาเมื่อวันที่ 12 มกราคม
       2549
   •   กรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) นับเป็นเวลาเกือบ 5 ปีที่
       กรมสอบสวนคดีพิเศษได้รับคดีการบังคับสูญหายนาย
       สมชาย นีละไพจิตร เป็นคดีพิเศษตั้งแต่วันที่ 19
       กรกฎาคม 2548 โดยแนวทางการสอบสวนเชื่อว่านาย
       สมชายถูกทำาให้เสียชีวิตแล้ว กรมสอบสวนคดีพิเศษจึงมุ่ง
เน้นการหาหลักฐานการเสียชีวิต เช่นชิ้นส่วนของศพ หรือ
พยานหลักฐานอื่นที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทำาลายศพ จน
ปัจจุบันที่กรมสอบสวนคดีพิเศษรับผิดชอบคดี ได้พบถัง
นำ้ามันซึงเชื่อว่าใช้เผาทำาลายศพนายสมชายแล้วทั้งสิ้น 4
         ่
ใบ กับเศษกระดูกมนุษย์จำานวนหนึ่ง แต่ไม่ปรากฏความ
พยายามในการหลักฐานสำาคัญอื่น เช่น ความเชื่อมโยง
การใช้โทรศัพท์ของบุคคลที่เกี่ยวข้อง หรือทรัพย์สินที่
ติดตัวนายสมชาย หรือแม้แต่รถที่ใช้ในการลักพาตัวนาย
สมชายในวันเกิดเหตุ เป็นต้น การทำางานของกรม
สอบสวนคดีพิเศษในระยะเวลาเกือบ 5 ปีที่ผ่านมาจึง
ไม่สามารถสร้างความมั่นใจแก่ครอบครัว และ
สาธารณชนได้เลยว่าได้มีความพยายาม และความ
เต็มใจ ในการคลี่คลายคดีนี้

คณะกรรการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่ง
ชาติ(ปปช.) กรมสอบสวนคดีพิเศษได้ส่งข้อร้องเรียน
เรื่องการซ้อมทรมานผู้ถูกควบคุมตัว ในคดีปล้นปืนเผา
โรงเรียน ในเหตุการณ์วันที่ 4 มกราคม 2547 ซึ่งนายสมชาย
นีละไพจิตร ได้ร้องเรียนเจ้าหน้าที่ตำารวจ และเชื่อว่าเป็น
สาเหตุที่นายสมชาย นีละไพจิตร ถูกทำาให้หายตัวไป ต่อ
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
(ปปช.) จนปัจจุบันเป็นเวลาประมาณ 3 ปี ผลการสอบยัง
อยู่ระหว่างการพิจารณา ทำาให้ระหว่างนี้พยานต่างถูก
คุกคามโดยมีข้อมูลว่ามีเจ้าหน้าที่ตำารวจกลุ่มหนึ่งเข้าไป
พบกับครอบครัวของพยานที่บานในจังหวัดนราธิวาส เพื่อ
                                ้
ขอให้พยานกลับคำาให้การที่ได้ให้การไว้กับ ปปช. อีกทั้ง
ปัจจุบันพยานคนหนึ่งที่อยูในความคุ้มครองของกรม
                           ่
สอบสวนคดีพิเศษได้ถูกเจ้าหน้าที่ตำารวจระดับสูง 2 นาย
ฟ้องร้องต่อศาลในกล่าวข้อหาว่าพยานให้การเท็จต่อ
ปปช. ในขณะที่พยานสำาคัญอีกคนหนึ่ง คือ นายอับดุล
เลาะ อาบูคารี ได้หายตัวไปอย่างไร้ร่องรอยที่บ้านที่
จังหวัดนราธิวาสเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2552 ระหว่างทียังอยู่
                                                    ่
ในความคุ้มครองของกรมสอบสวนคดีพิเศษ ทำาให้พยาน
คนอื่นๆเกิดความหวาดกลัวเป็นอย่างมาก
การพิจารณาของ ปปช.เป็นไปอย่างล่าช้า เมื่อเทียบ
         กับคดีอื่นที่ ปปช. รับไว้พจารณา ซึ่งบางคดีมีการ
                                   ิ
         ตัดสินชี้มูลอย่างรวดเร็ว ความล่าช้าของ ปปช. จึงส่ง
         ผลกระทบอย่างสูงต่อความปลอดภัยของพยานทุก
         คนในคดี

     •   นอกจากการสูญหายของพยานสำาคัญในคดีแล้ว ยัง
         ปรากฏการสูญหายของจำาเลยที่ 1 คือ พ.ต.ต.เงิน ทองสุก
         ดังปรากฏตามข่าวสารตามสื่อมวลชน เมื่อวันที่ 19
         กันยายน 2551 แต่เป็นที่นาสังเกตุว่าไม่ปรากฏการแจ้ง
                                 ่
         ความต่อพนักงานสอบสวนเพื่อค้นหาตัว พ.ต.ต.เงิน ทอง
         สุก จากครอบครัวของ พ.ต.ต.เงิน ทองสุก แต่อย่างใด

การเยียวยาจากรัฐ
      ภายหลังศาลแพ่งมีคำาสั่งให้สมชาย นีละไพจิตร เป็นบุคคล
สาบสูญ นางอังคณา นีละไพจิตร ได้ยื่นคำาขอรับค่าทดแทนและ
ค่าใช้จ่ายแก่ผู้เสียหายในคดีอาญา ตามพระราชบัญญัติค่า
ตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่าย แก่จำาเลยในคดี
อาญา พ.ศ.2544 ณ สำานักงานช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้เสียหาย
และจำาเลยในคดีอาญา กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพประชาชน
กรณีความผิดต่อชีวิต ซึงในขั้นตอนการยื่นเอกสารเพื่อรับความ
                         ่
ช่วยเหลือ ได้ถูกปฏิเสธจากเจ้าหน้าที่สำานักงานช่วยเหลือทางการ
เงินฯ ด้วยเหตุผลว่าไม่ปรากฏว่านายสมชาย นีละไพจิตร ได้รบ    ั
บาดเจ็บ หรือเสียชีวิต อีกทั้งการยื่นคำาขอเกินระยะเวลาที่กฎหมาย
กำาหนดคือ 1 ปี ต่อมา ต่อมาคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนผู้
เสียหายฯ ที่มรองปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธาน ได้มีการ
                ี
พิจารณาโดยยึดหลักข้อเท็จจริง ประกอบกับข้อกฎหมาย
พิจารณาเห็นควรจ่ายค่าตอบแทนแก่นางอังคณา นีละไพจิตร
กรณีการเสียชีวิตจากการกระทำาของผู้อื่น และการขาดค่าอุปการะ
เลี้ยงดู ทังนี้งดเว้นการจ่ายค่าทำาศพ เนื่องจากไม่พบศพนาย
           ้
สมชาย นีละไพจิตร

นับเป็นครั้งแรกที่ผู้สูญหายในประเทศไทยได้รับการเยียวยาจากรัฐ
ตามพระราชบัญญัติฉบับนี้

                      …………………
Somchai 6 yrs

More Related Content

What's hot

ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์Kruorawan Kongpila
 
รายงานคณะอนุกรรมการเฉพาะเรื่องตรวจสอบข้อเท็จจริงกรณีการส่งอีเมลของนักการเมือง
รายงานคณะอนุกรรมการเฉพาะเรื่องตรวจสอบข้อเท็จจริงกรณีการส่งอีเมลของนักการเมืองรายงานคณะอนุกรรมการเฉพาะเรื่องตรวจสอบข้อเท็จจริงกรณีการส่งอีเมลของนักการเมือง
รายงานคณะอนุกรรมการเฉพาะเรื่องตรวจสอบข้อเท็จจริงกรณีการส่งอีเมลของนักการเมืองNakharin Leksakul
 
สิทธิประเด็นล่าม
สิทธิประเด็นล่ามสิทธิประเด็นล่าม
สิทธิประเด็นล่ามaihr
 
สิทธิประเด็นล่าม
สิทธิประเด็นล่ามสิทธิประเด็นล่าม
สิทธิประเด็นล่ามaihr
 
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์Thanawut Rattanadon
 

What's hot (9)

1
11
1
 
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
 
รายงานคณะอนุกรรมการเฉพาะเรื่องตรวจสอบข้อเท็จจริงกรณีการส่งอีเมลของนักการเมือง
รายงานคณะอนุกรรมการเฉพาะเรื่องตรวจสอบข้อเท็จจริงกรณีการส่งอีเมลของนักการเมืองรายงานคณะอนุกรรมการเฉพาะเรื่องตรวจสอบข้อเท็จจริงกรณีการส่งอีเมลของนักการเมือง
รายงานคณะอนุกรรมการเฉพาะเรื่องตรวจสอบข้อเท็จจริงกรณีการส่งอีเมลของนักการเมือง
 
สิทธิประเด็นล่าม
สิทธิประเด็นล่ามสิทธิประเด็นล่าม
สิทธิประเด็นล่าม
 
สิทธิประเด็นล่าม
สิทธิประเด็นล่ามสิทธิประเด็นล่าม
สิทธิประเด็นล่าม
 
ชุดที่54
ชุดที่54ชุดที่54
ชุดที่54
 
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
 
เหตุแห่งการถวายสมัญญา
เหตุแห่งการถวายสมัญญาเหตุแห่งการถวายสมัญญา
เหตุแห่งการถวายสมัญญา
 
เนติบัณฑิตคืออะไร
เนติบัณฑิตคืออะไรเนติบัณฑิตคืออะไร
เนติบัณฑิตคืออะไร
 

Somchai 6 yrs

  • 1. 6 ปี การบังคับสูญหายนายสมชาย นีละไพจิตร : ความล้ม เหลวของกระบวนการยุติธรรมไทย ในการค้นหาความจริง การเยียวยา และการป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชนใน ประเทศไทย 1 ความเป็นมา นายสมชาย นีละไพจิตร เริ่มต้นประกอบวิชาชีพทนายความ นับ แต่ปี 2520 โดยได้มีโอกาสร่วมงานกับ นายทองใบ ทองเปาว์ ทนายความนักสิทธิมนุษยชนผู้เคยได้รับรางวัลแมกไซไซ ในการ ให้ความช่วยเหลือด้านกฎหมายแก่ประชาชนมาโดยตลอด โดย เฉพาะการให้ความช่วยเหลือเกี่ยวกับคดีความมั่นคงในจังหวัด ชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย ซึ่งผู้ต้องหาส่วนใหญ่เป็นคน ยากจน การศึกษาน้อย การทำางานของนายสมชายเป็นเรื่องที่ต้อง ใช้ความเสียสละและความกล้าหาญอย่างสูง เนื่องจากช่วงเวลา นั้นมีทนายความจำานวนน้อยมากที่ให้ความสำาคัญ และความสนใจ ในการให้ความช่วยเหลือต่อปัญหาการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน ของประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ส่วนใหญ่คดีที่นาย สมชายรับผิดชอบศาลจะพิพากษายกฟ้องเนื่องจากขาดพยาน หลักฐานที่น่าเชื่อถือ และขาดหลักฐานทางนิติวทยาศาสตร์ พบ ิ ว่าส่วนใหญ่ของพยานเป็นพยานซัดทอด อีกทังผู้ต้องหาคดีความ ้ มั่นคงเหล่านีมักถูกซ้อมทรมานเพื่อให้รับสารภาพ ดังนั้นเมื่อคดี ้ ถูกนำาขึ้นสู่ศาล คดีส่วนใหญ่จึงถูกศาลยกฟ้อง นอกจากการว่าความในฐานะทนายความในศาล นายสมชายยัง ได้แสดงความคิดเห็นต่อสังคม เกี่ยวกับการปฎิบัติหน้าที่ของเจ้า หน้าที่ตำารวจ และเรียกร้องให้มีการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม โดย เฉพาะการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตำารวจ ในฐานะพนักงาน สอบสวน ซึ่งถือเป็นต้นทางของกระบวนการยุติธรรม ซึ่งจะมีผลใน การคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและพัฒนากระบวนการยุติธรรมให้มี ประสิทธิภาพ เพื่อที่จะสามารถให้ความเป็นธรรมแก่ประชาชนได้ อย่างแท้จริง อีกทั้งยังเรียกร้องต่อบรรดาทนายความว่าควรให้ ความสำาคัญ และมีความเสียสละในการให้ความช่วยเหลือทาง 1 นางอังคณา นีละไพจิตร รวบรวม ในโอกาสครบรอบ 6 ปี การบังคับสูญหาย นายสมชาย นี ละไพจิตร ทนายความนักสิทธิมนุษยชน
  • 2. กฎหมายแก่ประชาชนผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนในจังหวัด ชายแดนภาคใต้ ให้มากขึ้น ภายหลังเหตุการณ์ปล้นปืน และเผาโรงเรียน เมื่อวันที่ 4 มกราคม 2547 ที่จังหวัดนราธิวาส เหตุการณ์ในภาคใต้ทวีความรุนแรงมากขึ้น พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ได้มีคำาสั่งให้เจ้าหน้าที่ ตำารวจจากส่วนกลางลงไปปฏิบัติหน้าทีในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ่ ช่วงเวลานั้นมีการร้องเรียนการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบของเจ้า หน้าที่ตำารวจ ไม่ว่าจะเป็นการควบคุมตัวประชาชนตามอำาเภอใจ การซ้อมทรมานผู้ต้องหา การอุ้มฆ่า หรือแม้แต่การสังหารนอก กระบวนการยุติธรรม มูลเหตุการบังคับสูญหาย นายสมชาย นีละไพจิตร ถูกบังคับให้สูญหาย เมื่อเวลาประมาณ 20.30 น.วันที่ 12 มีนาคม 2547 บนถนนรามคำาแหง เยื้องกับสถานี ตำารวจนครบาลหัวหมาก กรุงเทพมหานคร โดยมีมลเหตุที่นาย ู สมชายได้ร้องเรียนเรื่องการซ้อมทรมานผู้ถูกกล่าวหาซึ่งเป็น ประชาชนในจังหวัดนราธิวาสในคดีปล้นปืน เผาโรงเรียน 5 คน คือ นายมักตา ฮารง ,นายอับดุลเลาะ อาบูคารี, นายมะนาเซ มามะ, นายซูดือรามัน มาและ และนายสุกรี มะมิง โดยนายสมชายได้ไป เยี่ยมผู้ต้องหาทั้ง 5 ที่กองบังคับการปราบปราม และผูถูกกล่าวหา ้ ทั้ง 5 ได้เล่าให้นายสมชายฟังว่าถูกเจ้าหน้าที่ตำารวจชุดจับกุมซ้อม ทรมานอย่างหนักเพื่อให้รับสารภาพ ซึ่งทั้งหมดถูกทรมานและถูก ทำาร้ายร่างกายด้วยวิธีการช๊อตไฟฟ้าที่อวัยวะเพศ บางคนถูกใช้ เชือกแขวนคอ ให้เปลือยกายยืนบนเก้าอี้ ในลักษณะเขย่งปลาย เท้า หรือปัสสาวะใส่ปาก เป็นต้น ทั้งนี้สอดคล้องกับ พล.ต.อ สมบัติ อมรวิวัฒน์ อธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ ซึ่งเป็นประธาน คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการหายตัวไปของนาย สมชาย ได้ให้ถ้อยคำากับกรรมาธิการวุฒิสภาว่า สาเหตุของการ เข้าไปช่วยผู้ต้องหา 5 คน เป็นสาเหตุหนึ่งของการหายตัวไปของ นายสมชาย นีละไพจิตร ซึงตามหนังสือร้องเรียนของผู้ต้องหา 5 ่ คน นัน หากมีการดำาเนินการตามหนังสือร้องเรียนแล้วพบความ ้ จริงจะเป็นความผิดทางอาญา ซึงผู้เกี่ยวข้องจะต้องถูกดำาเนินคดี ่ ทางอาญา ส่วนผู้ถูกกล่าวหาทัง 5 คน ภายหลังอัยการมีคำาสั่งไม่ ้ ฟ้อง
  • 3. ในหนังสือที่นายสมชาย นีละไพจิตร เขียนร้องเรียนเพื่อขอความ เป็นธรรมให้ผู้ถูกกล่าวหาทัง 5 คน ไปยังองค์กรต่างๆเมื่อวันที่ 11 ้ มีนาคม 2547 ก่อนจะถูกบังคับให้สูญหายเพียงวันเดียวระบุว่า “ ...ผลจากการกระทำาดังกล่าว(การทรมาน) จำาเลยทั้ง 5 คน ต้องยอมรับสารภาพตามที่เจ้าพนักงานตำารวจประสงค์ เป็นการ แสดงคำารับสารภาพและทำาแผนประกอบคำารับสารภาพโดยการ ทำาร้ายร่างกาย ข่มขู่บงคับ มิได้รับการเยี่ยมญาติ และไม่มี ั โอกาสได้พบทนายความในขณะสอบปากคำา ย่อมเป็นการละเมิด สิทธิของผู้ต้องหาทั้งสิ้น การกระทำาเช่นนี้มิชอบด้วยกฏหมายวิธีพิจารณาความอาญา แต่อย่างใด อันเป็นการทำาลายกระบวนการยุติธรรมเบื้องต้นโดย สิ้นเชิง... “ นอกจากการร้องเรียนเรื่องการซ้อมทรมานแล้ว นายสมชาย นีละ ไพจิตร ยังได้ดำาเนินการล่ารายชื่อ 50,000 รายชื่อ(ตามรัฐธรรมนูญ ปี 2540 ) เพื่อขอยกเลิกการประกาศใช้กฎอัยการศึกในจังหวัด ชายแดนภาคใต้ด้วย โดยนายสมชายให้เหตุผลว่ากฎอัยการศึก ให้อำานาจกับเจ้าหน้าที่ทหารมาก สามารถควบคุมตัวประชาชนได้ 7 วันโดยไม่ต้องมีหมายศาล ไม่ต้องมีข้อกล่าวหาใดๆ อีกทั้งไม่ อนุญาตให้ญาติและทนายเยี่ยมอีกด้วย ประชาชนส่วนใหญ่ที่ถูก ควบคุมตัวจึงมักร้องเรียนว่ามีการซ้อมทรมาน และมีรายงานของ การสูญหายของประชาชนในระยะเวลาของการควบคุมนั้น กระบวนการยุติธรรมขั้นต้น ภายหลังนายสมชาย นีละไพจิตร ถูกลักพาตัวเมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2547 ต่อมาเจ้าหน้าที่ตำารวจได้พบรถยนตร์ของเขาจอดอยู่ในที่ห้าม จอด หลังสถานีขนส่งหมอชิตเมื่อวันที่ 16 มีนาคม ปีเดียวกัน ซึงรถ ่ ของเขาถูกส่งไปตรวจสอบเพื่อหาหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์ที่ กองพิสูจน์หลักฐาน สำานักงานตำารวจแห่งชาติ และถูกส่งไปตรวจ สอบต่อที่สถาบันนิติวทยาศาสตร์ กระรวงยุติธรรม เมื่อวันที่ 19 ิ มีนาคม 2547 แม้เจ้าหน้าที่ตำารวจระดับสูงทีทำาหน้าที่พนักงาน ่ สอบสวน จะให้ข่าวต่อสื่อมวลชนในขณะนั้นว่ามีวัตถุพยานสำาคัญ ยืนยันผู้กระทำาผิด แต่ผลการตรวจสอบที่ปรากฏต่อศาลในการ
  • 4. พิจารณาคดีในศาล กลับไม่พบหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์ใดๆที่ สามารถเชื่อมโยงไปยังผู้กระทำาความผิด แม้ดูเหมือนว่ารัฐบาลซึ่งมี พ.ต.ท.ทักษิณ ชิณวัตร ดำารงตำาแหน่ง นายกรัฐมนตรี จะมีความพยายามในการคลี่คลายคดีการบังคับ สูญหายนายสมชาย นีละไพจิตร โดยการออกหมายจับเจ้าหน้าที่ ตำารวจ 5 นายภายใต้แรงกดดันจากสาธารณชน รวมถึงนักสิทธิ มนุษยชนทังในและต่างประเทศ เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2547 อัน ้ ประกอบด้วย พ.ต.ต.เงิน ทองสุก จำาเลยที่ 1 พ.ต.ท.สินชัย นิ่ม ปุญญกำาพงษ์ จำาเลยที่ 2 จ.ส.ต.ชัยเวง พาด้วง จำาเลยที่ 3 ส.ต.อ.รันดร สิทธิเขต จำาเลยที่ 4 และ พ.ต.ท.ชัดชัย เลี่ยม สงวน จำาเลยที่ 5 ตำารวจกองปราบปราม ตกเป็นจำาเลยที่ 1-5 ฐาน ร่วมกันปล้นทรัพย์ และข่มขืนใจผู้อื่น โดยใช้กำาลังประทุษร้าย แต่ไม่สามารถตั้งข้อหาฆาตกรรมหรือข้อหาอื่นที่หนักกว่าได้ เนื่องจากยังไม่พบศพหรือหลักฐานที่บ่งชีว่านายสมชายได้เสีย ้ ชีวิตแล้ว สุดท้ายผู้ต้องหาทุกคนก็ได้รับอนุญาตให้ได้รับการ ปล่อยตัวชัวคราว โดยที่มจำาเลยที่ 5 ซึ่งเมื่อออกจากเรือนจำาหลัง ่ ี ถูกควบคุมตัวแล้ว 30 วันสามารถกลับเข้ารับราชการได้ทันที่ราวกับ ว่าระยะเวลาที่อยูในเรือนจำานั้นเป็นการปฏิบัติหน้าที่ราชการตาม ่ ปกติ แม้กฏ ก.พ.จะระบุว่าห้ามข้าราชการขาดงานเกิน 15 วันโดย ไม่มีเหตุอันควรก็ตาม • การสืบพยานในชันศาล ้ คดีการลักพาตัวนายสมชาย นีละไพจิตร ได้ถูกนำาเข้าสู่การ พิจารณาของศาลยุติธรรมครั้งแรกเมื่อเดือนสิงหาคม 2548 โดย เป็นการสืบพยานอย่างต่อเนื่องจนสิ้นสุดคดีเมื่อเดือน ธันวาคม 2548 จากพยานหลักฐานทีปรากฏในการสืบพยานในชั้นศาลปรากฏหลัก ่ ฐานว่าจำาเลยบางคนได้ลงไปปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดชายแดน ภาคใต้ และมีความเกี่ยวข้องกับการทรมานผูถูกกล่าวหาที่นาย ้ สมชายได้ร้องเรียน ดังปรากฏข้อเท็จจริงตามเอกสารซึ่งโจทก์ส่ง ศาลหมาย จ.128 อ้างถึงหนังสือคำาสั่งแต่งตั้งให้จำาเลยที่ 5 ในคดีนี้ เป็นคณะกรรมการสืบสวนและสอบสวนเพื่อหาตัวผู้กระทำาผิดหลัง เหตุการณ์ปล้นปืนวันที่ 4 มกราคม 2547 โดยมีจำาเลยที่ 1 เป็นผู้รวม ่ จับกุมผู้ต้องหาทั้ง 5 ในคดีปล้นปืนดังกล่าว ทั้งนี้นายซูดีรือมัน มาเละ หนึ่งในผู้ต้องหา 5 คน ยืนยันว่าจำาเลยที่ 1 เป็นหนึงในผู้ที่ ่
  • 5. ร่วมทำาร้ายร่างกาย ตามเอกสารส่งศาลหมาย จ.26 และระหว่างถูก คุมขังที่เรือนจำากรุงเทพฯ ภายหลังที่นายสมชาย นีละไพจิตร ถูก ทำาให้สูญหายแล้วนั้นจำาเลยที่ 1 และ 5 ได้เคยเข้าไปเยี่ยมนายสุกรี มะมิง ตามเอกสารหมาย จ. 23 และในวันที่จำาเลยที่ 1 ,2 และ 4 เข้า มอบตัวนั้นก็มีจำาเลยที่ 5 พร้อมทั้งพ.ต.อ. พิสิษฐ์ พิสุทธิศักดิ์ (ยศ ขณะนั้น) ซึ่งเป็นหนึ่งในชุดจับกุมนายมะกะตา ฮารงกับพวก (ตาม เอกสารหมาย จ.1) เป็นผู้นำาเข้ามอบตัวด้วย • หลักฐานความเชื่อมโยงการใช้โทรศัพท์ ตามคำาเบิกความต่อศาลของพนักงานสอบสวนในคดีนี้ซึ่งได้ตรวจ สอบความถูกต้องจากผู้ชำานาญการพิเศษ องค์การโทรศัพ์แห่ง ประเทศไทย พบว่า การใช้โทรศัพท์พร้อมพิกัดสถานที่การใช้ โทรศัพท์นั้นเป็นข้อมูลซึ่งบันทึกด้วยระบบคอมพิวเตอร์ สามารถ ตรวจสอบความถูกต้องได้ แสดงให้เห็นว่านับแต่ช่วงเช้าวันที่ 12 มีนาคม 2547 จำาเลยทั้ง 5 ได้ใช้โทรศัพท์ติดต่อกัน และมีลักษณะ การเคลื่อนไหวและติดตามตัวนายสมชาย นีละไพจิตร ตั้งแต่เวลา เช้าจนถึงเวลาเกิดเหตุ และหลังเกิดเหตุจำาเลยที5 ได้ติดต่อกับ ่ พ.ต.อ.พิสิษฐ์ พิสุทธิ์ศักดิ์ (ยศขณะนั้น) ซึ่งในวันที่ 6 ถึงวันที่ 11 มีนาคม 2547 มีการติดต่อกันระหว่างกลุ่มบุคคลดังกล่าวน้อยมาก แต่ในวันที่ 12 มีนาคม 2547 ซึ่งเป็นวันเกิดเหตุมีการติดต่อกันทาง โทรศัพท์มากถึง 75 ครั้ง และหลังเกิดเหตุวันที่ 13 ถึง 15 มีนาคม มี การใช้โทรศัพท์ติดต่อกันน้อยมาก แต่ในวันที่ 16 และ 17 มีนาคม 2547 ซึ่งเป็นช่วงของการพบรถนายสมชาย นีละไพจิตร พบมีการ ติดต่อกันระหว่างกลุ่มบุคคลดังกล่าวมากถึง 36 ครั้ง • หลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์ แม้จะพบรถของนายสมชาย นีละไพจิตร ซึ่งถูกนำามาจอดทิ้งไว้ แต่การตรวจสอบทางนิติวทยาศาสตร์กลับไม่พบอะไรเลย ิ นอกจากลายนิ้วมือ และเส้นผมของนายสมชาย และบุคคลใน ครอบครัว ทังที่ตามคำาให้การของประจักษ์พยานซึ่งเห็นว่าจำาเลย ้ ที่ 2 เป็นผู้ขับรถนายสมชาย ออกไป หลังจากที่นายสมชาย นีละ ไพจิตร ถูกผลักขึ้นรถที่จำาเลยทั้งง 5 ได้เตรียมมา จากการ พิจารณาคดีในศาลพนักงานอัยการ และเจ้าหน้าที่กองพิสูจน์หลัก ฐาน สำานักงานตำารวจแห่งชาติได้แถลงต่อศาลว่าคดีนี้ไม่
  • 6. สามารถหาหลักฐานทางนิติวทยาศาสตร์มาผูกมัดผู้กระทำาความ ิ ผิดได้ เนื่องจากจำาเลยทั้ง 5 นั้นเป็นพนักงานสืบสวนสอบสวน อีก ทั้งจำาเลยที่ 5 เองก็เคยเข้ารับการอบรมการสืบสวนและหาหลัก ฐานจากสถาบัน FBI ประเทศสหรัฐอเมริกา จึงทำาให้สามารถทราบ ถึงวิธีการทำาลายหลักฐานเช่น ลายนิวมือแฝง และอาจเป็นสาเหตุ ้ ทีทำาให้ไม่พบหลักฐานหรือวัตถุพยานในรถยนต์ของนายสมชาย ่ นีละไพจิตร • ประจักษ์พยานในคดี เนื่องจากนายสมชาย นีละไพจิตร ถูกบังคับให้สูญหายบริเวณ ใจกลางกรุงเทพมหานคร ในเวลาที่การจลาจรติดขัดและผู้คน พลุกพล่าน ทำาให้มีประชาชนจำานวนไม่น้อยเห็นเหตุการณ์ที่เกิด ขึ้น เช่นจากการให้การของพยานรายหนึ่งที่เห็นเหตุการณ์ได้โทร ศัพ์แจ้งเหตุแก่ศูนย์แจ้งเหตุ 191 แต่พบว่ามิได้มีการตรวจสอบ นอกจากเจ้าหน้าที่ได้บันทึกว่า ได้มาตรวจสอบสถานทีรับแจ้งเหตุ ่ แล้ว แต่ไม่พบเหตุร้ายใดๆ นอกจากนี้ยังพบมีประจักษ์พยานซึ่ง พบเห็นเหตุการณ์ในที่เกิดเหตุหลายคน แต่ด้วยความล้มเหลว ของการคุ้มครองพยานในประเทศไทย จึงทำาให้พยานหลายคน กลับคำาให้การในชั้นศาลและไม่กล้ามาให้การเป็นพยาน อย่างไร ก็ดีมีผู้หญิงคนหนึ่งที่เห็นเหตุการณ์และยินดีให้การเป็นพยาน โดย ได้ชี้จำาเลยที่ 1 ว่าคล้ายคนที่ผลักนายสมชาย นีละไพจิตร ขึ้นรถที่ เตรียมมา ในขณะที่ชายอีกคนหนึ่งขับรถของนายสมชายออกไป • การคุกคาม และการแทรกแซงการทำาหน้าที่ของ พนักงานสอบสวน ไม่เพียงแต่พยานทีถูกคุกคาม แม้แต่พนักงานสอบสวนซึ่งทำาคดีนี้ ่ เองก็มีความรู้สึกไม่ปลอดภัยเช่นกัน ดังปรากฎตามเอกสารคำา พิพากษาคดีหมายเลขดำาที่ ๑๔๖๙/๒๕๔๗ ระหว่างพล.ต.อ.สันต์ ศรุตานนท์ โจทก์ กับ นายสนธิ ลิมทองกุล ที่ ๑ นางสาวสโรชา ้ พรอุดมศักด์ ที่ ๒ จำาเลยคดีหมิ่นประมาทความผิดต่อเจ้าพนักงาน โดยในคำาพิพากาษาหน้าที่ ๒๑ บรรทัดที่ ๑๑-๑๘ และในหน้าที่ ๒๒ บรรทัด ๑-๑๐ ว่า
  • 7. "...และอดีตที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรีฝ่ายความมั่นคง ซึ่ง เคยกำากับดูแลสำานักงานตำารวจแห่งชาติ คนเดียวกับคนที่ให้ข้อ เท็จจริงเกี่ยวกับปัญหาภาคใต้ในคำาฟ้องข้อ ๓.๔ ได้เบิกความว่า ในกรณีของนายสมชาย นีละไพจิตร ทีหายตัวไป พล.อ.ชวลิต ่ ยงใจยุทธ รองนายกรัฐมนตรีสั่งให้มีการดำาเนินคดีในเรื่องนี้ให้ได้ ซึ่งหัวหน้าพนักงานสอบสวนผู้บัญชาการตำารวจนครบาลและผู้ช่วย ผู้บัญชาการตำารวจแห่งชาติซึ่งรับผิดชอบเรื่องนี้ขอพบกับ พล.อ.ชวลิตในทีลับ และรายงานว่ามีอุปสรรคในการดำาเนินคดีมาก ่ ขอให้พล.อ.ชวลิต ให้การสนับสนุนในการปฎิบัติหน้าทีและช่วย ่ คุ้มครองให้พวกเขาถูกกดดันซึ่งพยานเห็นว่าการที่มาขอพบในที่ ลับ อาจเป็นเพราะได้รบแรงกดดันและได้มีอุปสรรคมาก..." และ ั "...นอกจากนี้การที่พนักงานสอบสวนผูบัญชาการ ้ ตำารวจนครบาลและผู้ช่วยผู้บัญชาตำารวจแห่งชาติซึ่งรับผิดชอบ เรื่องของนายสมชาย นีละไพจิตร ขอเข้าพบพล.อ.ชวลิต เป็นการ ลับและขอให้ช่วยคุ้มครองทำาให้มีเหตุอันควรเชื่อได้ว่ามีผู้มีอำานาจ มากกว่าพนักงานสอบสวนดังกล่าวได้เข้ามาเกี่ยวข้องในการ ปฎิบัติหน้าที่ของพนักงานสอบสวนในอันที่จะไม่ทำาให้เกิดความ ชัดเจนโปร่งใสของเรื่องดังกล่าว..." • คำาพิพากษา หลังจากใช้เวลาในการพิจารณาคดีการสูญหายของนายสมชาย นี ละไพจิตร เป็นเวลา 7 เดือน นับแต่เดือนสิงหาคม 2548 ในคดี ความผิดต่อเสรีภาพ และปล้นทรัพย์ ศาลอาญากรุงเทพฯได้อ่าน คำาพิพากษา คดีหมายเลขดำาที่ 1952 / 2547 และคดีหมายเลข แดงที่ อ. 48 / 2549 เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2549 โดยมีความสรุปว่า “ ศาลพิเคราะห์พยานหลักฐานแล้ว โจทก์มีพยานเป็น พนักงานสอบสวน เบิกความสอดคล้องตรงกัน ทั้งเวลาและสถาน ที่ ทำาให้เชื่อโดยปราศจากข้อสงสัยว่านายสมชายหายตัวไป จริง ส่วนการทีโจทก์นำาข้อมูลการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ของจำาเลย ่ ทั้ง 5 ที่ติดต่อกันหลายครั้งในสถานที่ต่างๆ ในช่วงวันเวลาก่อน เกิดเหตุและในวันเกิดเหตุที่นายสมชายหายตัวไป ศาลเห็นว่ายังมี ข้อสงสัยในเอกสารหลักฐานการใช้โทรศัพท์ เนื่องจากโจทก์ไม่ ได้นำา ผู้ช่วยผู้บัญชาการ สำานักงานตำารวจแห่งชาติ(ผช ผบ ตร.)
  • 8. และ รอง ผู้บัญชาการตำารวจนครบาล (ผบ บชน.)ทีอ้างว่าเป็นผู้ ่ ประสานขอเอกสารดังกล่าว จากบริษัทโทรศัพท์เคลื่อนทีมาเบิก ่ ความยืนยันในชั้นศาล ทำาให้ฝ่ายทนายจำาเลยไม่สามารถซักค้าน ในประเด็นดังกล่าวได้ จึงไม่มีนำ้าหนักเพียงพอ “ “ ...นอกจากนี้ ศาลยังมีประจักษ์พยาน 3 คน ระบุรูปพรรณ สัณฐานของจำาเลยที่ 1 คือ พ.ต.ต.เงิน ได้ชัดเจนว่าเป็นคนรูปร่าง ใหญ่ ศีรษะล้าน รวมถึงชี้ภาพได้ถูกต้องและยืนยันว่า ขณะเกิด เหตุเห็น พ.ต.ต.เงิน(จำาเลยที่ 1)เป็นผูที่ผลักนายสมชายเข้าไปใน ้ รถ โดยประจักษ์พยานทั้ง 3 ไม่เคยมีเรื่องหรือมีสาเหตุโกรธเคือง กันมาก่อน เชื่อได้ว่าเป็นการเบิกความโดยสุจริตใจ ส่วนที่จำาเลย อ้างว่าสาเหตุที่พนักงานสอบสวนของ บช.น. ทำาสำานวนคดีเพื่อ ปรักปรำาให้จำาเลยทั้งหมดได้รับโทษ เนื่องจากความขัดแย้ง ระหว่าง กองปราบปราม กับ บช.น. เป็นการกล่าวอ้างเพียงลอยๆ ไม่มนำ้าหนักแต่อย่างใด ส่วนในข้อหาร่วมกันปล้นทรัพย์นั้น โจทก์ ี ไม่มีประจักษ์พยานที่สามารถยืนยันได้วา พ.ต.ต.เงินได้ร่วมกับ ่ พวกก่อเหตุดังกล่าว จึงยกประโยชน์แห่งความสงสัยให้จำาเลย ..” “ .. ศาลพิเคราะห์แล้วเห็นว่า พ.ต.ต.เงินกระทำาผิด ฐาน ทำาร้ายร่างกายผู้อื่น ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 319 วรรค 1 และร่วมกันข่มขืนใจผู้อื่น ให้กระทำาการใด หรือไม่กระทำาการใด โดยใช้กำาลังประทุษร้าย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 309 วรรค 2 ให้ลงโทษในบทหนักสุด ฐานกักขังหน่วงเหนี่ยวเป็น เวลา 3 ปี ส่วนจำาเลยที่ 2-5 ให้ยกฟ้อง เนื่องจากไม่มีพยานหลัก ฐาน ในการกระทำาผิดตามฟ้อง” ความล้มเหลวของกลไกรัฐในการอำานวยความ ยุติธรรม จากการที่เจ้าหน้าที่ตำารวจซึ่งตกเป็นจำาเลยในคดีลักพาตัวนาย สมชาย สามารถกลับเข้ารับราชการได้ตามปกติ ยกเว้นจำาเลยที่ 1 คือพ.ต.ต.เงิน ทองสุก ที่ศาลพิพากษาจำาคุก 3 ปี และได้รับการ ประกันตัวระหว่างรออุทธรณ์ ทางผู้เสียหายเห็นว่า ยังไม่ได้รับ ความเป็นธรรม เนื่องจากการที่เจ้าหน้าที่ตำารวจอีก 4 นาย ยังคงรับ ราชการ จึงอาจส่งผลให้พยานเกิดความหวาดกลัว และอาจมีการ คุกคามพยาน ซึ่งจะส่งผลต่อคำาให้การของพยานได้ จึงได้ร้อง
  • 9. เรียนยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมถึงองค์กรอิสระ เช่น กอง บังคับการปราบปราม ศาลปกครอง และผู้ตรวจการแผ่นดินของ รัฐสภา(ตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540) กองบังคับการปราบปราม • กองบังคับการปราบปราม มีหนังสือเลขที่ 0026/ 4010 ลง วันที่ 18 กันยายน 2549 แจ้งสรุปผลการสอบสวนทางวินัย ตำารวจทั้ง 5 นายที่ตกเป็นจำาเลยในคดีกักขังหน่วงเหนี่ยวฯ นายสมชาย นีละไพจิตร สรุปว่า .... ยังรับฟังไม่ได้ว่า ผู้ถูกกล่าวหาทั้ง 5 นาย กระทำาผิดวินัยอย่างร้ายแรง แต่เป็นกรณีกล่าวหาในความผิดวินัยอย่างร้ายแรง อันเนื่องจากต้องหาคดีอาญา ซึ่งอยู่ในการ พิจารณาของศาล คณะกรรมการสอบสวนวินัยร้าย แรง จึงเสนอเห็นควร รอฟังผลคดีอาญาถึงที่สุด ก่อน เพื่อนำามาประกอบการพิจารณาต่อไป.... ศาลปกครอง • วันที่ 12 มีนาคม 2550 นางอังคณา นีละไพจิตร ได้ยื่นฟ้อง สำานักงานตำารวจแห่งชาติ และผู้บัญชการตำารวจแห่งชาติ ต่อศาลปกครองกรณีไม่ดำาเนินการทางวินยกับเจ้าหน้าที่ ั ตำารวจที่ตกเป็นจำาเลยคดีลักพาตัวนายสมชาย นีละ ไพจิตร • วันที่ 4 เมษายน 2550 ศาลปกครองชั้นต้นมีคำาสั่ง ตาม คดีหมายเลขดำาที่ 475/ 2550 คดีหมายเลขแดงที่ 533/ 2550 ไม่รับคำาร้องของนางอังคณา นีละไพจิตร กรณี สำานักงานตำารวจแห่งชาติไม่ดำาเนินการทางวินัยแก่เจ้า หน้าที่ตำารวจทั้ง 5 นาย ในคดีกักขังหน่วงเหนี่ยว และ ปล้นทรัพย์ นายสมชาย นีละไพจิตร โดยศาลปกครอง ชั้นต้นพิจารณาแล้วเห็นว่า “ ... การที่ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ ( ผบ ตร ) มีคำาสั่งให้นายตำารวจทั้ง ๕ นาย กลับเข้า รับราชการในสังกัดเดิมเป็นดุลยพินิจของผู้บัญชา ในการบริหารงานบุคคลตามขันตอนปกติที่กฎหมาย ้ ให้อำานาจไว้ คำาสั่งของผู้ถกฟ้องคดีที่๒ ดังกล่าว ู จึงไม่มีผลกระทบต่อสถานสภาพของสิทธิหรือหน้าที่ ของผู้ฟ้องคดี ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกกระบวนการ
  • 10. พิจารณาทางปกครอง ผู้ฟ้องคดีจึงมิใช่ผู้ได้รับ ความเดือดร้อนหรือเสียหายจากคำาสั่งของผู้ถกฟ้อง ู คดีที่ ๒ ที่สั่งให้เจ้าหน้าที่ตำารวจทั้ง ๕ นายกลับเข้า รับราชการ จึงไม่มีสิทธิฟ้องคดีต่อศาลเพื่อให้เพิก ถอนคำาสั่งของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ ดังกล่าว ส่วนที่ผู้ ฟ้องคดีมีคำาขอให้ผู้ถูกฟ้องคดีทั้งสองดำาเนินการ ทางวินัยแก่เจ้าหน้าที่ตำารวจที่เกี่ยวข้องข้างต้นและ ให้มีคำาสั่งพักราชการหรือให้ออกจากราชการไว้ ก่อน จนกว่าการพิจารณาคดีอาญาของศาล ยุติธรรมและกรมสอบสวนคดีพิเศษจะเสร็จสิ้นนั้น เห็นว่าการดำาเนินการทางวินัยเป็นเรื่องระหว่างรัฐกับ เจ้าหน้าที่ของรัฐที่ผู้บังคับบัญชาจะใช้ดุลยพินิจ ดำาเนินการตามที่มีเหตุผลอันสมควร และมิได้มีผล เป็นการเยียวยาทุกข์ให้แก่ผู้ฟ้องคดีโดยตรง ผู้ฟ้อง คดีจึงไม่มีสิทธิฟ้องผู้ถูกฟ้องคดีทั้งศาลต่อศาลตาม มาตรา ๔๒ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒” ผู้เสียหายอุทธรณ์ • 22 กรกฎาคม 2550 ศาลปกครองสูงสุด มีคำาสั่งที่ 501 / 2550 ยืนตามศาลปกครองชั้นต้นไม่รับคำาฟ้องไว้ พิจารณา และให้จำาหน่ายคดีออกจากสารบบความ ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา • 22 มีนาคม 2549 นางอังคณา นีละไพจิตร ได้ร้องเรียนต่อผู้ ตรวจการแผ่นดินรัฐสภา กรณีเจ้าหน้าที่ตำารวจซึ่งตกเป็น จำาเลยในคดีอาญา ไม่ได้รับการลงโทษางวินย ั • วันที่ 18 มกราคม 2550 มีหนังสือ ด่วนที่สุด เลขที่ ผร 22 / 581 จากสำานักงานผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา ความ ยาวสามหน้ากระดาษส่งมาพร้อม พระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๔๒ มีใจความสรุปสามบรรทัดว่า “......ผู้ตรวจการ แผ่นดินของรัฐสภา ( นายพูลทรัพย์ ปิยะอนันต์ )
  • 11. พิจารณาแล้วเห็นว่ารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ได้สนสุดลงแล้ว กรณีจึง ิ้ ไม่มีเหตุให้ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาพิจารณา และดำาเนินการต่อไป .....” การดำาเนินการด้านยุติธรรม • คดีกักขังหน่วงเหนี่ยว ความผิดต่อเสรีภาพ ภายหลัง ศาลชั้นต้นมีคำาพิพากษาเมื่อวันที่ 12 มกราคม 2549 ผู้เสีย หายอุทธรณ์ ปัจจุบนคดีอยู่ในระหว่างการพิจารณาของ ั ศาลอุทธรณ์ • คดีฆาตกรรม คดีการสูญหายของนายสมชาย นีละ ไพจิตร ซึ่งเชื่อว่านายสมชาย นีละไพจิตร ได้เสียชีวิต แล้วนั้น กรมสอบสวนคดีพิเศษ ได้รับเป็นคดีพิเศษเมื่อวัน ที่ 19 กรกฎาคม 2548 ปัจจุบันอยูระหว่างการสืบสวน ่ สอบสวน พบว่ากรมสอบสวนคดีพิเศษได้มุ่งเน้นในการ หาชิ้นส่วนศพ และถังนำ้ามัน ซึ่งเชื่อว่าใช้ทำาลายศพของ นายสมชาย ทีแม่นำ้าแม่กลอง จังหวัดราชบุรี ตามคำา ่ ให้การของพยาน ปัจจุบันกรมสอบสวนคดีพิเศษได้พบ ถังนำ้ามันขนาด 200 ลิตร แล้วจำานวน 4 ถัง กับเศษกระดูก มนุษย์จำานวนหนึ่งซึงตรวจสอบแล้วไม่พบว่ามีสาร ่ พันธุกรรมตรงกับนายสมชาย นีละไพจิตร • การร้องเรียนการทรมานผู้ต้องหา กรมสอบสวนคดี พิเศษได้ส่งเรื่องร้องเรียนกรณีการซ้อมทรมาน นายมักตา ฮารง กับพวก โดยเจ้าหน้าที่ตำารวจระดับสูง และเชื่อว่า เป็นสาเหตุททำาให้นายสมชายนีละไพจิตร ถูกทำาให้ ี่ หายตัวไป ต่อ คณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ (ปปช.) ปัจจจุบันอยู่ระหว่างการ สอบสวนของ ปปช. เป็นระยะเวลา เกือบ 3 ปี โดย ปปช. ได้เรียกเจ้าหน้าที่ตำารวจ 14 นายมารับทราบข้อกล่าวหา แล้ว • การเป็นบุคคลสาบสูญตามคำาสั่งศาล วันที่ 18 พฤษภาคม 2552 ศาลแพ่งได้มีคำาสั่ง คดีหมายเลขดำาที่ 1206 / 2552 คดีหมายเลขแดงที่ 2050/ 2552 สรุปความว่า “.. นับแต่นายสมชาย นีละไพจิตร หายตัวไปจนปัจจุบันเป็น
  • 12. เวลา 5 ปีเศษ จึงมีคำาสั่งให้นายสมชาย นีละไพจิตร เป็น คนสาบสูญตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 61 วรรคแรก “ • คณะทำางานด้านคนหายของสหประชาชาติ UN Working Group on Enforced or Involuntary Disappearance (UN WGE ID)ได้พิจารณากรณีการสูญหายของนายสมชาย นีละ ไพจิตร และมีมติรับคดีนายสมชาย นีละไพจิตร เป็นคดี คนหายของคณะทำางานด้านผู้สูญหายของสหประชาติ เมื่อ วันที่ 1 มิถุนายน 2548 หมายเลขคดี 1003249 ( case no. 1003249) ทั้งนี้คณะทำางานได้ติดตามสอบถามความ ก้าวหน้าในการสืบสวน สอบสวน การสูญหายของนาย สมชาย นีละไพจิตร จากรัฐบาลไทย ปัญหาและอุปสรรคในการเข้าถึงความยุติธรรม วันที่ 12 มีนาคม 2553 เป็นเวลา 6 ปีเต็มที่นายสมชาย นีละไพจิตร ถูกบังคับให้หายตัวไป และนับแต่เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2548 ที่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ได้กล่าวแก่นางอังคณา นีละไพจิตร ที่บาน ้ พิษณุโลก ว่า เชื่อว่านายสมชาย นีละไพจิตร ได้เสียชีวิตแล้ว แม้ ระหว่าง 6 ปีที่ผ่านมา ประเทศไทยจะมีนายกรัฐมนตรีมาแล้วถึง 5 คน และมีรัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม 7 คน กลับพบความจริง ่ ว่าคดีการสูญหายของนายสมชาย นีละไพจิตร ไม่มีความก้าวหน้า ทางคดี แม้รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ จะแสดงความสนใจใน การคลี่คลายคดีนี้นับแต่เข้ารับตำาแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่ก็ไม่พบ ว่าคดีมีความคืบหน้าแต่อย่างใด จากการติดตามคดีอย่างใกล้ชิด พบข้อสังเกตุในสิ่งที่เป็นปัญหา และอุปสรรคสำาคัญทีทำาให้คดีการ ่ สูญหายของนายสมชาย นีละไพจิตร มีความล่าช้า และไม่สามารถ เข้าถึงความยุติธรรมได้ ความไม่เต็มใจของรัฐในการดำาเนินการ นายสมชาย นีละไพจิตร ถูกทำาให้หายตัวไปในขณะที่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชิณวัตร ดำารงตำาแหน่งนายกรัฐมนตรี แม้ดูเหมือน ว่ารัฐบาลขณะนั้นพยายามคลี่คลายคดี โดยการตั้งข้อกล่าวหาเจ้า หน้าที่ตำารวจ 5 นาย ข้อหากักขังหน่วงเหนี่ยว และปล้นทรัพย์ แต่ เมื่อคดีถูกนำาขึ้นสู่การพิจารณาของศาล กลับพบข้อเท็จจริงที่ปราก ฎว่า พยานหลักฐานต่างๆในคดีถูกทำาลายจนไม่มนำ้าหนักเพียง ี
  • 13. พอที่จะสามารถนำามาใช้เพื่อประกอบในการนำาผู้กระทำาผิดมา ลงโทษได้ อีกทั้งการที่จำาเลยซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ตำารวจได้รบการ ั ประกันตัวระหว่างการพิจารณาคดี เป็นสาเหตุททำาให้พยานเกิด ี่ ความหวาดกลัว และพยานบางคนกลับคำาให้การในชั้นศาล รวมถึงการที่มีพยานคนหนึ่งให้การต่อชั้นศาลชั้นต้น โดยเชื่อว่า จำาเลยทั้ง 5 ได้ทราบคำาให้การของพยานในคดีทั้งหมดมาก่อนล่วง หน้าการพิจารณาคดี ตามเอกสารของจำาเลยที่ ٥ ทียื่นไว้ต่อศาล ่ ตามเอกสารหมายเลข ล.١٠٧ แผ่นที่ ٢ ซึ่งมีข้อความระบุว่า พล.ต.อ.สมบัติ อมรวิวฒน์ อธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ ได้นำาคำา ั ให้การของพยานโจทก์ในสำานวนการสอบสวนมาให้แก่ฝ่ายจำาเลย จึงสอดคล้องกับคำาพิพากษาในคดีนี้ หน้าที่ ٧٣-٧٢ ซึ่งระบุวา “ ่ ทางทนายฝ่ายจำาเลยได้มีการขอให้ศาลหมายเรียกเอกสารดัง กล่าวมาจากพนักงานอัยการ ซึงพนักงานอัยการได้จัดส่งเอกสาร ่ มาให้และจำาเลยได้อ้างส่งเป็นพยานต่อศาลแล้วซึ่งแสดงว่า เอกสารดังกล่าวได้มีอยู่ในสำานวนการสอบสวนที่พนักงานสอบสวน มอบให้แก่พนักงานอัยการแล้ว มิฉะนันคงจะไม่มีเอกสารดังกล่าว ้ จากสำานวนการสอบสวนที่พนักงานอัยการจะส่งศาลตามหมาย เรียกได้” แม้หลังการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 รัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลา นนท์ จะให้ความสำาคัญแก่คดีนี้โดยตั้งคณะกรรมการเพื่อสอบสวน คดีนี้โดยเฉพาะ แต่ก็ยังปรากฏว่าคดีการฆาตกรรมนายสมชาย นี ละไพจิตร ไม่มีความคืบหน้าแต่ประการใด หลังการเลือกตั้งปี 2550 รัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช และนาย สมชาย วงศ์สวัสดิ์ มีทาทีชัดเจนในการไม่เต็มใจ(unwilling) ในการ ่ คลี่คลายคดีการสูญหายของนายสมชาย นีละไพจิตร อีกทั้งยัง แสดงให้เห็นถึงการแทรกแซงการสืบสวน สอบสวนจากฝ่าย การเมืองมาโดยตลอด แม้ตามพระราชบัญญัติกรมสอบสวนคดี พิเศษ จะให้อิสระและให้อำานาจแก่พนักงานสอบสวนกรมสอบสวน คดีพิเศษ ในการทำาหน้าที่กรณีประชาชนไม่ได้รบความเป็นธรรม ั จากการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่รัฐ และผู้มีอทธิพล แต่ที่ผ่านมาจน ิ ปัจจุบันกรมสอบสวนคดีพิเศษก็ประสบความล้มเหลวในการทำาคดี ที่เกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนมาโดยตลอด และพิสูจน์ให้ เห็นว่าไม่สามารถทำาหน้าที่ได้ตามที่สังคมคาดหวัง
  • 14. ความล้มเหลวในการคุ้มครองพยาน ความล้มเหลวในการคุ้มครองพยาน ทำาให้พยานในคดีการบังคับ สูญหายนายสมชาย นีละไพจิตร ได้รับการคุกคามมาโดยตลอด โดยเฉพาะพยานซึงนายสมชายได้ทำาการร้องเรียนเรื่องการถูก ่ ซ้อมทรมานระหว่างการควบคุมตัวโดยเจ้าหน้าที่ตำารวจ แม้พยาน เหล่านี้จะอยู่ในโครงการคุ้มครองพยานของกรมสอบสวนคดีพิเศษ แต่ก็ดูเหมือนไม่มีพยานคนใดมีความมั่นใจในความปลอดภัยใน การให้การเป็นพยาน เพื่อนำาผู้กระทำาผิดมาลงโทษตาม กระบวนการยุติธรรม เช่นกรณี นายซูดือรามัน มาและ ซึงถูก พล ่ ตำารวจโทภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยา และ พลตำารวจตรีจักรทิพย์ ชัยจินดา ฟ้องต่อศาลอาญา ในข้อหาให้การอันเป็นเท็จต่อคณะ กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ(ปปช.) ปัจจุบัน คดีที่ พลตำารวจโทภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยา ฟ้องนายซูดือ รามัน ศาลได้ยกคำาร้อง ส่วนคดีที่ พลตำารวจตรีจักรทิพย์ ชัยจินดา ฟ้อง ศาลนัดไต่สวนคำาร้องในวันที่ 15 มีนาคม 2553 ทีศาลอาญา ่ กรุงเทพฯ นอกจากนั้นพยานสำาคัญอีกคนในคดีซึ่งอยู่ภายใต้การคุ้มครอง พยาน ของกรมสอบสวนคดีพิเศษ คือนายอัลดุลเลาะ อาบูคารี ก็ได้หายสาบสูญไปจากบ้านพักที่จังหวัดนราธิวาส ตั้งแต่วันที่ 11 ธันวาคม 2552 หลังจากที่เขาได้กลับไปเยี่ยมครอบครัวเนื่องใน โอกาสวันสำาคัญทางศาสนา ซึ่งจนถึงปัจจุบันยังไม่มีผู้ใดทราบ ชะตากรรมของนายอับดุลเลาะ อีกทั้งกรมสอบสวนคดีพิเศษซึ่ง ต้องรับผิดชอบโดยตรงในฐานะที่นายอับดุลเลาะ อยู่ระหว่างการ คุ้มครองพยานยังไม่มท่าทีในการแสดงความรับผิดชอบแต่อย่าง ี ใด ความไร้ประสิทธิภาพของการหาพยานหลักฐานทาง คดี การลักพาตัวนายสมชาย นีละไพจิตร ได้ทิ้งหลักฐานไว้มากมาย แต่หลักฐานทางคดีทั้งหมดก็ดูเหมือนถูกทำาลายไปจนเกือบหมด เช่น • รถยนตร์ของนายสมชายที่ผู้กระทำาผิดได้นำามาจอดทิ้งไว้ ปรากฏเมื่อนำามาตรวจสอบทางนิติวทยาศาสตร์ ทีกอง ิ ่
  • 15. พิสูจน์หลักฐาน สำานักงานตำารวจแห่งชาติ และที่สถาบัน นิติวิทยาศาสตร์ กระทรวงยุติธรรม แล้วกลับไม่พบหลัก ฐานทางนิติวทยาศาสตร์ ไม่วาจะเป็นลายนิวมือ รอยนิ้ว ิ ่ ้ มือแฝง หลักฐานทางพันธุกรรม(DNA) ของผู้กระทำาผิด อีก ทั้งในขั้นตอนของเก็บพยานหลักฐาน พบว่าจนถึงปัจจุบัน ไม่พบมีการตรวจหาพยานหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์ เช่นการตรวจหาสารพันธุกรรม(DNA) ของผู้ต้องหาทั้ง 5 คน อีกทั้งไม่มีการถอนผม หรือขน เพื่อนำามาเปรียบ เทียบกับเส้นผมที่พบในรถของนายสมชายตามคำาให้การ ของประจักษ์พยานทีให้การว่าเห็นจำาเลยที่ 2 เป็นผู้ขับรถ ่ ของนายสมชาย นีละไพจิตร ออกไป • หลักฐานความเชื่อมโยงการใช้โทรศัพท์ ของผู้มีสวนร่วม ่ ในการกระทำาผิด ถูกลบทิ้งไปเกือบหมดทั้งที่คดีการ ลักพาตัวนายสมชาย นีละไพจิตร เป็นคดีสำาคัญ และคดี การฆาตกรรมมีอายุความถึง 20 ปี แต่พนักงานสอบสวน กลับปล่อยให้ข้อมูลสำาคัญถูกทำาลาย หรือแม้กระทังการ ่ ตวจสอบการใช้โทรศัพท์ของกลุ่มผู้กระทำาผิด พบมีการ จำากัดการตรวจสอบเฉพาะการใช้โทรศัพท์ที่จำาเลยทัง 5 ้ คนติดต่อกัน แต่มิได้มีการตรวจสอบไปถึงบุคคลอื่นี่ เกี่ยวข้องที่เชื่อว่าเป็นเจ้าหน้าที่ตำารวจระดับสูง และอาจ เป็นผู้บงการในการลักพาตัว การฆาตกรรม และการ ทำาลายศพนายสมชาย นีละไพจิตร ความล่าช้าในกระบวนการยุติธรรม และการสืบสวน สอบสวนคดีการบังคับสูญหาย นายสมชาย นีละ ไพจิตร • การอุทธรณ์คดี คดีกักขังหน่วงเหนี่ยว และความผิดต่อ เสรีภาพ ปัจจุบันอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลอุทธรณ์ ภายหลังศาลชั้นต้นมีคำาพิพากษาเมื่อวันที่ 12 มกราคม 2549 • กรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) นับเป็นเวลาเกือบ 5 ปีที่ กรมสอบสวนคดีพิเศษได้รับคดีการบังคับสูญหายนาย สมชาย นีละไพจิตร เป็นคดีพิเศษตั้งแต่วันที่ 19 กรกฎาคม 2548 โดยแนวทางการสอบสวนเชื่อว่านาย สมชายถูกทำาให้เสียชีวิตแล้ว กรมสอบสวนคดีพิเศษจึงมุ่ง
  • 16. เน้นการหาหลักฐานการเสียชีวิต เช่นชิ้นส่วนของศพ หรือ พยานหลักฐานอื่นที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทำาลายศพ จน ปัจจุบันที่กรมสอบสวนคดีพิเศษรับผิดชอบคดี ได้พบถัง นำ้ามันซึงเชื่อว่าใช้เผาทำาลายศพนายสมชายแล้วทั้งสิ้น 4 ่ ใบ กับเศษกระดูกมนุษย์จำานวนหนึ่ง แต่ไม่ปรากฏความ พยายามในการหลักฐานสำาคัญอื่น เช่น ความเชื่อมโยง การใช้โทรศัพท์ของบุคคลที่เกี่ยวข้อง หรือทรัพย์สินที่ ติดตัวนายสมชาย หรือแม้แต่รถที่ใช้ในการลักพาตัวนาย สมชายในวันเกิดเหตุ เป็นต้น การทำางานของกรม สอบสวนคดีพิเศษในระยะเวลาเกือบ 5 ปีที่ผ่านมาจึง ไม่สามารถสร้างความมั่นใจแก่ครอบครัว และ สาธารณชนได้เลยว่าได้มีความพยายาม และความ เต็มใจ ในการคลี่คลายคดีนี้ คณะกรรการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่ง ชาติ(ปปช.) กรมสอบสวนคดีพิเศษได้ส่งข้อร้องเรียน เรื่องการซ้อมทรมานผู้ถูกควบคุมตัว ในคดีปล้นปืนเผา โรงเรียน ในเหตุการณ์วันที่ 4 มกราคม 2547 ซึ่งนายสมชาย นีละไพจิตร ได้ร้องเรียนเจ้าหน้าที่ตำารวจ และเชื่อว่าเป็น สาเหตุที่นายสมชาย นีละไพจิตร ถูกทำาให้หายตัวไป ต่อ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ปปช.) จนปัจจุบันเป็นเวลาประมาณ 3 ปี ผลการสอบยัง อยู่ระหว่างการพิจารณา ทำาให้ระหว่างนี้พยานต่างถูก คุกคามโดยมีข้อมูลว่ามีเจ้าหน้าที่ตำารวจกลุ่มหนึ่งเข้าไป พบกับครอบครัวของพยานที่บานในจังหวัดนราธิวาส เพื่อ ้ ขอให้พยานกลับคำาให้การที่ได้ให้การไว้กับ ปปช. อีกทั้ง ปัจจุบันพยานคนหนึ่งที่อยูในความคุ้มครองของกรม ่ สอบสวนคดีพิเศษได้ถูกเจ้าหน้าที่ตำารวจระดับสูง 2 นาย ฟ้องร้องต่อศาลในกล่าวข้อหาว่าพยานให้การเท็จต่อ ปปช. ในขณะที่พยานสำาคัญอีกคนหนึ่ง คือ นายอับดุล เลาะ อาบูคารี ได้หายตัวไปอย่างไร้ร่องรอยที่บ้านที่ จังหวัดนราธิวาสเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2552 ระหว่างทียังอยู่ ่ ในความคุ้มครองของกรมสอบสวนคดีพิเศษ ทำาให้พยาน คนอื่นๆเกิดความหวาดกลัวเป็นอย่างมาก
  • 17. การพิจารณาของ ปปช.เป็นไปอย่างล่าช้า เมื่อเทียบ กับคดีอื่นที่ ปปช. รับไว้พจารณา ซึ่งบางคดีมีการ ิ ตัดสินชี้มูลอย่างรวดเร็ว ความล่าช้าของ ปปช. จึงส่ง ผลกระทบอย่างสูงต่อความปลอดภัยของพยานทุก คนในคดี • นอกจากการสูญหายของพยานสำาคัญในคดีแล้ว ยัง ปรากฏการสูญหายของจำาเลยที่ 1 คือ พ.ต.ต.เงิน ทองสุก ดังปรากฏตามข่าวสารตามสื่อมวลชน เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2551 แต่เป็นที่นาสังเกตุว่าไม่ปรากฏการแจ้ง ่ ความต่อพนักงานสอบสวนเพื่อค้นหาตัว พ.ต.ต.เงิน ทอง สุก จากครอบครัวของ พ.ต.ต.เงิน ทองสุก แต่อย่างใด การเยียวยาจากรัฐ ภายหลังศาลแพ่งมีคำาสั่งให้สมชาย นีละไพจิตร เป็นบุคคล สาบสูญ นางอังคณา นีละไพจิตร ได้ยื่นคำาขอรับค่าทดแทนและ ค่าใช้จ่ายแก่ผู้เสียหายในคดีอาญา ตามพระราชบัญญัติค่า ตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่าย แก่จำาเลยในคดี อาญา พ.ศ.2544 ณ สำานักงานช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้เสียหาย และจำาเลยในคดีอาญา กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพประชาชน กรณีความผิดต่อชีวิต ซึงในขั้นตอนการยื่นเอกสารเพื่อรับความ ่ ช่วยเหลือ ได้ถูกปฏิเสธจากเจ้าหน้าที่สำานักงานช่วยเหลือทางการ เงินฯ ด้วยเหตุผลว่าไม่ปรากฏว่านายสมชาย นีละไพจิตร ได้รบ ั บาดเจ็บ หรือเสียชีวิต อีกทั้งการยื่นคำาขอเกินระยะเวลาที่กฎหมาย กำาหนดคือ 1 ปี ต่อมา ต่อมาคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนผู้ เสียหายฯ ที่มรองปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธาน ได้มีการ ี พิจารณาโดยยึดหลักข้อเท็จจริง ประกอบกับข้อกฎหมาย พิจารณาเห็นควรจ่ายค่าตอบแทนแก่นางอังคณา นีละไพจิตร กรณีการเสียชีวิตจากการกระทำาของผู้อื่น และการขาดค่าอุปการะ เลี้ยงดู ทังนี้งดเว้นการจ่ายค่าทำาศพ เนื่องจากไม่พบศพนาย ้ สมชาย นีละไพจิตร นับเป็นครั้งแรกที่ผู้สูญหายในประเทศไทยได้รับการเยียวยาจากรัฐ ตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ …………………