SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันและการเกิดกระแสไฟฟ้า จัดทำโดย 1. นาย  จิตตุพนธ์  จรรยา  เลขที่  1 2.  ด . ญ .  จิราพัชร  นักไร่  เลขที่  16  3.  น . ส .  ธมลวรรณ  เครือธิ  เลขที่  18 4.  ด . ญ .  เสาวลักษณ์  ดวงแก้ว  เลขที่  31 5.  น . ส .  อุทัยรัตน์  วาเพ็ชร  เลขที่  44 6.  น . ส .  กรณิศ  ดวงแก้ว  เลขที่  45 ชั้น  ม .3/1
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน และ การเกิดกระแสไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า ,[object Object],[object Object]
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า ,[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object]
2.  หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์ ( Fluorescent Lamp)  ทำด้วยหลอดแก้วที่สูบอากาศออกจนหมดแล้วบรรจุไอปรอทไว้เล็กน้อย มีไส้ที่ปลายหลอดทั้งสองข้าง หลอดเรืองแสงอาจทำเป็นหลอดตรง หรือครึ่งวงกลมก็ได้
3.    หลอดไฟโฆษณาหรือหลอดนีออน    เป็นหลอดแก้วที่ถูกลนไฟแล้วดัดให้เป็นรูปหรือตัวอักษร ไม่มีไส้หลอดแต่ที่ปลายทั้งสองข้างจะมีขั้วไฟฟ้าทำด้วยโลหะ ต่อกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้า    ที่มีความต่างศักย์สูงประมาณ  10,000  โวลต์ ภายในหลอดสูบอากาศ แล้วใส่ก๊าซบางชนิดที่ให้แสงสีต่างๆ
กระบวนการของกระแสไฟฟ้า ไฟฟ้าเกิดขึ้นได้จากแหล่งกำเนิดแตกต่างกัน แยกออกได้เป็น  6  วิธีดังนี้  ไฟฟ้าเกิดจากการเสียดสี      เกิดขึ้นได้จากการนำวัตถุต่างกัน  2  ชนิดมาขัดสีกัน เช่น    จากแท่งยางกับผ้าขนสัตว์    แท่งแก้วกับผ้าแพร    แผ่นพลาสติกกับผ้า    และหวีกับผม เป็นต้น    ผลของการขัดสีดังกล่าวทำให้เกิดความไม่สมดุลขึ้นของประจุไฟฟ้าในวัตถุทั้งสอง    เนื่องจากเกิดการถ่ายเทประจุไฟฟ้า    วัตถุทั้งสองจะแสดงศักย์ไฟฟ้าออกมาต่างกัน    วัตถุชนิดหนึ่งแสดงศักย์ไฟฟ้าบวก  ( + )  ออกมา    วัตถุอีกชนิดหนึ่งแสดงศักย์ไฟฟ้าลบ   (-)  ออกมา
 
ไฟฟ้าเกิดจากการทำปฏิกิริยาทางเคมี เมื่อนำโลหะ  2  ชนิดที่แตกต่างกันเช่น สังกะสีกับทองแดง   จุ่มลงในสารละลายอิเล็กโทรไลท์ โลหะทั้งสองจะทำปฏิกริยาเคมี   กับสารละลายอิเล็กโทรไลท์ โดยอิเล็กตรอน ( ประจุลบ ) จากทองแดงจะถูกดูดเข้าไปยัง   ขั้วของสังกะสี เมื่อทองแดงขาดประจุลบจะเปลี่ยนความต่างศักย์ไฟฟ้า   เป็นบวกทันทีเรียกว่าขั้วบวก ส่วนสังกะสีจะเป็นขั้วลบตามความต่างศักย์ ส่วนประกอบของไฟฟ้าเกิดจากการทำปฏิกิริยาทางเคมี แบบเบื้องต้นนี้ ถูกเรียกว่า โวลตาอิกเซลล์  ดังรูป
ส่วนประกอบของโวลตาอิกเซลล์
ไฟฟ้าเกิดจากความร้อน                 เกิดขึ้นได้โดยนำแท่งโลหะหรือแผ่นโลหะต่างชนิดกันมา  2  แผ่น เช่น ทองแดง และเหล็ก นำปลายข้างหนึ่งของโลหะทั้งสองต่อติดกันโดยการเชื่อมด้วยหมุด    ปลายที่เหลืออีกด้านนำไปต่อกับเข้ามิเตอร์วัดแรงดัน    เมื่อให้ความร้อนที่ปลายด้านต่อติดกันของโลหะทั้งสอง    ส่งผลให้เกิดการแยกตัวของประจุไฟฟ้า    เกิดศักย์ไฟฟ้าขึ้นที่ปลายด้านเปิดของโลหะแสดงค่าออกมาที่มิเตอร์    ดังรูป
 
ไฟฟ้าเกิดจากแสงสว่าง             สารบางชนิดเมื่ออยู่ในที่มืดจะแสดงปฎิกิริยาออกมา แต่เมื่อถูกแสงแดดแล้วสารนั้นสามารถที่จะปล่อยอิเล็กตรอนได้ อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่เรียกว่า โฟโตวอลเทอิก เซลล์ เมื่อถูกกับแสงสว่างอิเล็กตรอน ที่เกิดขึ้นจะวิ่งจากด้านบนไป สู่โวลต์มิเตอร์แล้วไหลกลับมาชั้นล่างเมื่อดูที่เข็มของโวลต์ โฟโตเซลล์ จะเห็นว่ามีกระแสไฟฟ้าเกิดขึ้น ยังมีหลอดอีกชนิดหนึ่งที่เรียกว่า โฟโต - วอลเทอิกเซลล์ ( อิเล็กตริกอาย หรือ พี . อี . เซลล์ )  ใช้มากในวงการอุตสาหกรรม
 
  ไฟฟ้าเกิดจากแรงกดดัน                  เมื่อเราพูดไปในไมโครโฟนหรือโทรศัพท์คลื่นของความแรงกดดันของพลังงานเสียงจะทำให้แผ่นไดอะแฟรม เคลื่อนไหว ซึ่งแผ่นไดอะแฟรมจะทำให้ขดลวดเคลื่อนที่ผ่านสนามแม่เหล็กจึงทำให้เกิดพลังงานไฟฟ้าซึ่งถูกส่ง ไปตามสายจนถึงเครื่องรับ ผลึกของวัตถุบางอย่างถ้า ถูกกรดจะทำให้เกิดประจุไฟฟ้าขึ้น
 
ไฟฟ้าเกิดจากสนามแม่เหล็ก                  เมื่อนำแท่งแม่เหล็กเคลื่อนที่ผ่าน ขดลวดหรือนำ ขดลวดเคลื่อนที่ผ่านสนามแม่เหล็ก จะเกิดแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนำขึ้นในขดลวดนั้น กระแสไฟฟ้าจะเกิดได้มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ  1. จำนวนขดลวด 2. จำนวนเส้นแรงแม่เหล็ก 3. ความเร็วในการเคลื่อนที่ของแม่เหล็กผ่านสนามแม่เหล็ก

More Related Content

What's hot

เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าthanawan302
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าPanupong Rongpan
 
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าChanukid Chaisri
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2thanawan302
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันเครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันPapungkorn
 
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้าหลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้าChanukid Chaisri
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าthanawan302
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าsaranya3235
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าsaranya3235
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าsaranya3235
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าufonon
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า3
เครื่องใช้ไฟฟ้า3เครื่องใช้ไฟฟ้า3
เครื่องใช้ไฟฟ้า3SUPAPIT3033
 
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าพัน พัน
 
การค้นพบไฟฟ้า
การค้นพบไฟฟ้าการค้นพบไฟฟ้า
การค้นพบไฟฟ้าJiraporn Chaimongkol
 

What's hot (17)

เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันเครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้าหลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า3
เครื่องใช้ไฟฟ้า3เครื่องใช้ไฟฟ้า3
เครื่องใช้ไฟฟ้า3
 
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
 
การค้นพบไฟฟ้า
การค้นพบไฟฟ้าการค้นพบไฟฟ้า
การค้นพบไฟฟ้า
 
Phys369
Phys369Phys369
Phys369
 
ไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPptไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPpt
 

Similar to งานไฟฟ้า

งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2thanawan302
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า1
เครื่องใช้ไฟฟ้า1เครื่องใช้ไฟฟ้า1
เครื่องใช้ไฟฟ้า1Keatisak TAtanarua
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าและประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าและประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้าและประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าและประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าPleum Ps
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าSiriporn Somkrue
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์thanawan302
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าthanawan302
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า1560100453451
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอorohimaro
 
งานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdfงานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.PdfPanatsaya
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอorohimaro
 
งาน กลุ่ม 6 ม. 3/3
งาน กลุ่ม 6 ม. 3/3งาน กลุ่ม 6 ม. 3/3
งาน กลุ่ม 6 ม. 3/3orohimaro
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอorohimaro
 
งานนำเสนอ 11
งานนำเสนอ 11งานนำเสนอ 11
งานนำเสนอ 11orohimaro
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอorohimaro
 
งานนำเสนอ 11
งานนำเสนอ 11งานนำเสนอ 11
งานนำเสนอ 11orohimaro
 
งานนำเสนอ 1
งานนำเสนอ 1งานนำเสนอ 1
งานนำเสนอ 1orohimaro
 
งานกลุ่ม 6 ม. 3/3
งานกลุ่ม 6 ม. 3/3งานกลุ่ม 6 ม. 3/3
งานกลุ่ม 6 ม. 3/3orohimaro
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าthanawan302
 

Similar to งานไฟฟ้า (20)

งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า1
เครื่องใช้ไฟฟ้า1เครื่องใช้ไฟฟ้า1
เครื่องใช้ไฟฟ้า1
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าและประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าและประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้าและประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าและประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
lo
lolo
lo
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
งานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdfงานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdf
 
Vvv
VvvVvv
Vvv
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
งาน กลุ่ม 6 ม. 3/3
งาน กลุ่ม 6 ม. 3/3งาน กลุ่ม 6 ม. 3/3
งาน กลุ่ม 6 ม. 3/3
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
งานนำเสนอ 11
งานนำเสนอ 11งานนำเสนอ 11
งานนำเสนอ 11
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
งานนำเสนอ 11
งานนำเสนอ 11งานนำเสนอ 11
งานนำเสนอ 11
 
งานนำเสนอ 1
งานนำเสนอ 1งานนำเสนอ 1
งานนำเสนอ 1
 
งานกลุ่ม 6 ม. 3/3
งานกลุ่ม 6 ม. 3/3งานกลุ่ม 6 ม. 3/3
งานกลุ่ม 6 ม. 3/3
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 

งานไฟฟ้า

  • 1. เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันและการเกิดกระแสไฟฟ้า จัดทำโดย 1. นาย จิตตุพนธ์ จรรยา เลขที่ 1 2. ด . ญ . จิราพัชร นักไร่ เลขที่ 16 3. น . ส . ธมลวรรณ เครือธิ เลขที่ 18 4. ด . ญ . เสาวลักษณ์ ดวงแก้ว เลขที่ 31 5. น . ส . อุทัยรัตน์ วาเพ็ชร เลขที่ 44 6. น . ส . กรณิศ ดวงแก้ว เลขที่ 45 ชั้น ม .3/1
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8. 2. หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์ ( Fluorescent Lamp) ทำด้วยหลอดแก้วที่สูบอากาศออกจนหมดแล้วบรรจุไอปรอทไว้เล็กน้อย มีไส้ที่ปลายหลอดทั้งสองข้าง หลอดเรืองแสงอาจทำเป็นหลอดตรง หรือครึ่งวงกลมก็ได้
  • 9. 3.    หลอดไฟโฆษณาหรือหลอดนีออน   เป็นหลอดแก้วที่ถูกลนไฟแล้วดัดให้เป็นรูปหรือตัวอักษร ไม่มีไส้หลอดแต่ที่ปลายทั้งสองข้างจะมีขั้วไฟฟ้าทำด้วยโลหะ ต่อกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้า   ที่มีความต่างศักย์สูงประมาณ 10,000 โวลต์ ภายในหลอดสูบอากาศ แล้วใส่ก๊าซบางชนิดที่ให้แสงสีต่างๆ
  • 10. กระบวนการของกระแสไฟฟ้า ไฟฟ้าเกิดขึ้นได้จากแหล่งกำเนิดแตกต่างกัน แยกออกได้เป็น 6 วิธีดังนี้ ไฟฟ้าเกิดจากการเสียดสี     เกิดขึ้นได้จากการนำวัตถุต่างกัน 2 ชนิดมาขัดสีกัน เช่น   จากแท่งยางกับผ้าขนสัตว์   แท่งแก้วกับผ้าแพร   แผ่นพลาสติกกับผ้า   และหวีกับผม เป็นต้น   ผลของการขัดสีดังกล่าวทำให้เกิดความไม่สมดุลขึ้นของประจุไฟฟ้าในวัตถุทั้งสอง   เนื่องจากเกิดการถ่ายเทประจุไฟฟ้า   วัตถุทั้งสองจะแสดงศักย์ไฟฟ้าออกมาต่างกัน   วัตถุชนิดหนึ่งแสดงศักย์ไฟฟ้าบวก ( + ) ออกมา   วัตถุอีกชนิดหนึ่งแสดงศักย์ไฟฟ้าลบ (-) ออกมา
  • 11.  
  • 12. ไฟฟ้าเกิดจากการทำปฏิกิริยาทางเคมี เมื่อนำโลหะ 2 ชนิดที่แตกต่างกันเช่น สังกะสีกับทองแดง จุ่มลงในสารละลายอิเล็กโทรไลท์ โลหะทั้งสองจะทำปฏิกริยาเคมี กับสารละลายอิเล็กโทรไลท์ โดยอิเล็กตรอน ( ประจุลบ ) จากทองแดงจะถูกดูดเข้าไปยัง ขั้วของสังกะสี เมื่อทองแดงขาดประจุลบจะเปลี่ยนความต่างศักย์ไฟฟ้า เป็นบวกทันทีเรียกว่าขั้วบวก ส่วนสังกะสีจะเป็นขั้วลบตามความต่างศักย์ ส่วนประกอบของไฟฟ้าเกิดจากการทำปฏิกิริยาทางเคมี แบบเบื้องต้นนี้ ถูกเรียกว่า โวลตาอิกเซลล์ ดังรูป
  • 14. ไฟฟ้าเกิดจากความร้อน                เกิดขึ้นได้โดยนำแท่งโลหะหรือแผ่นโลหะต่างชนิดกันมา 2 แผ่น เช่น ทองแดง และเหล็ก นำปลายข้างหนึ่งของโลหะทั้งสองต่อติดกันโดยการเชื่อมด้วยหมุด   ปลายที่เหลืออีกด้านนำไปต่อกับเข้ามิเตอร์วัดแรงดัน   เมื่อให้ความร้อนที่ปลายด้านต่อติดกันของโลหะทั้งสอง   ส่งผลให้เกิดการแยกตัวของประจุไฟฟ้า   เกิดศักย์ไฟฟ้าขึ้นที่ปลายด้านเปิดของโลหะแสดงค่าออกมาที่มิเตอร์   ดังรูป
  • 15.  
  • 16. ไฟฟ้าเกิดจากแสงสว่าง           สารบางชนิดเมื่ออยู่ในที่มืดจะแสดงปฎิกิริยาออกมา แต่เมื่อถูกแสงแดดแล้วสารนั้นสามารถที่จะปล่อยอิเล็กตรอนได้ อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่เรียกว่า โฟโตวอลเทอิก เซลล์ เมื่อถูกกับแสงสว่างอิเล็กตรอน ที่เกิดขึ้นจะวิ่งจากด้านบนไป สู่โวลต์มิเตอร์แล้วไหลกลับมาชั้นล่างเมื่อดูที่เข็มของโวลต์ โฟโตเซลล์ จะเห็นว่ามีกระแสไฟฟ้าเกิดขึ้น ยังมีหลอดอีกชนิดหนึ่งที่เรียกว่า โฟโต - วอลเทอิกเซลล์ ( อิเล็กตริกอาย หรือ พี . อี . เซลล์ ) ใช้มากในวงการอุตสาหกรรม
  • 17.  
  • 18.   ไฟฟ้าเกิดจากแรงกดดัน             เมื่อเราพูดไปในไมโครโฟนหรือโทรศัพท์คลื่นของความแรงกดดันของพลังงานเสียงจะทำให้แผ่นไดอะแฟรม เคลื่อนไหว ซึ่งแผ่นไดอะแฟรมจะทำให้ขดลวดเคลื่อนที่ผ่านสนามแม่เหล็กจึงทำให้เกิดพลังงานไฟฟ้าซึ่งถูกส่ง ไปตามสายจนถึงเครื่องรับ ผลึกของวัตถุบางอย่างถ้า ถูกกรดจะทำให้เกิดประจุไฟฟ้าขึ้น
  • 19.  
  • 20. ไฟฟ้าเกิดจากสนามแม่เหล็ก             เมื่อนำแท่งแม่เหล็กเคลื่อนที่ผ่าน ขดลวดหรือนำ ขดลวดเคลื่อนที่ผ่านสนามแม่เหล็ก จะเกิดแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนำขึ้นในขดลวดนั้น กระแสไฟฟ้าจะเกิดได้มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ 1. จำนวนขดลวด 2. จำนวนเส้นแรงแม่เหล็ก 3. ความเร็วในการเคลื่อนที่ของแม่เหล็กผ่านสนามแม่เหล็ก