SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
Managerial Economics


                     Business Economics Program
          Faculty of Liberal Arts and Management Sciences
          Prince of Songkla University, Surat Thani Campus

Email: drpazzpsu@gmail.com
Facebook: DrPazz Thammachote
Twitter: drpazzpsu
Slideshare: drpazzpsu
โครงสร้ างตลาดและการกาหนดราคาสินค้ า

•   ผู้ประกอบการ ผู้จัดการ
•   กลยุทธ์ ทางธุรกิจ
•   โครงสร้ างตลาด
•   การตัดสินใจทางธุรกิจในระยะสั้น และระยะยาว
คุณลักษณะของตลาด (Characteristics of Markets)
โครงสร้ างตลาด            นิยาม คาว่ า “ตลาด”
และการกาหนดราคาสิ นค้ า   กลุ่มของหน่ วยทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะบริษัท
                                                                                ่
                               (firms)และครั วเรือน (individual or household) ซึงมี
                               ปฏิสัมพันธ์ กันในสถานะผู้ขาย (seller) และผู้ซ้ือ (buyer)
                          ประเด็นอภิปราย: ประเภทหรือชนิดของสินค้ า จานวน
                                                  ้ ่
                               ของสินค้ า และพืนทีหรือขอบเขตในการจาหน่ าย
                               สินค้ ามีความสาคัญต่ อคานิยามของคาว่ าตลาด
                               หรือไม่ ?
                          เครื่องดื่ม Coca-Cola ควรถูกจัดอยู่ในตลาด carbonated
                               drinks, a soft drink หรือ Beverage market (relevant
                               market )
                          การนิยามตลาดเดียวกัน สาคัญอย่ างไร
                           Federal Trade Commission (FTC)
                          • กรณีการขอควบกิจการระหว่ าง Coca-Cola and Dr.
                               Pepper
                          • กรณีกาแฟ Proctor and Gamble’s Folgers กับ กาแฟ
                               ของ General Food Maxwell เกี่ยวกับการแข่ งขันทาง
                                         ่
                               การค้ าทีไม่ เป็ นธรรมในบางเมืองของสหรั ฐอเมริ กา
โครงสร้างตลาดและการกาหนดราคาสิ นค้า
คานิยามของตลาดจึงครอบคลุมไปถึงชนิดหรื อคุณลักษณะของสิ นค้ า
และขอบเขตในการจาหน่ ายทางภูมิศาสตร์ (geographical)

กรณี Co-Cola กับ Dr. Pepper พิจารณา relevant market คือ Carbonate Soft
  Drinks จากการทดแทนกันได้ ของสิ นค้ า (elasticity of substitution)

กรณี กาแฟ Folger พิจารณา relevant market ว่ าตลาดครอบคลุมทุกๆ เมืองใน
  สหรั ฐอเมริ กา ไม่ ใช่ เฉพาะบางเมือง
โครงสร้างตลาดและการกาหนดราคาสิ นค้า
ประเภทของโครงสร้ างตลาด (Type of Market Structure)
•   Perfect competition ตลาดแข่ งขันสมบูรณ์
•   Monopoly ตลาดผูกขาด
•   Monopolistic competition ตลาดกึ่งแข่ งขันกึ่งผูกขาด
•   Oligopoly ตลาดผู้ขายน้ อยราย
โครงสร้างตลาดและการกาหนดราคาสิ นค้า
เกณฑ์ ในการพิจารณาประเภทของโครงสร้ างตลาด (Type of Market Structure)

•   จานวนผู้ขาย ผู้ซื ้อ
•   ประเภทของสินค้ า
•   ข้ อกีดกันการเข้ ามาหรื อออกจากตลาด
•   อานาจในการกาหนดราคาสินค้ า
•   การแข่งขันที่ไม่ใช้ ราคา
โครงสร้างตลาดและการกาหนดราคาสิ นค้า
ความสัมพันธ์ ระหว่ าง structure, conduct and performance
• Structure: โครงสร้ างตลาด
• Conduct : Strategic behavior กลยทธ์ เช่ น การกาหนดราคา และ ปริมาณการ
                                      ุ
   ผลิต
• Performance : ผลการดาเนินงาน เช่ น กาไร และ ประสิทธิภาพ
การวิเคราะห์ โครงสร้ างตลาด
• เงื่อนไขของแต่ ละตลาด
• การวิเคราะห์ static, partial equilibrium
• การวิเคราะห์ โดยใช้ algebra
โครงสร้างตลาดและการกาหนดราคาสิ นค้า
                       ตลาดแข่ งขันสมบูรณ์
ตลาดแข่ งขันสมบูรณ์
• ผู้ขายและผู้ซื้อมากราย
• ผลิตภัณฑ์ เหมือนกันทุกประการ
• การเข้ าหรือออกจากตลาดทาได้ โดย
• ผู้ซื้อและผู้ขายมีข้อมูลข่ าวสารทีสมบูรณ์
                                    ่
• การเคลื่อนย้ ายสินค้ าและปั จจัยการผลิตทาได้ อย่ างไรเสรี

          ่
ภายใต้ เงือนไขข้ างต้ น ผู้ผลิตจะเป็ น price-taker
จะมีราคาตลาดเพียงราคาเดียวหรือสินค้ าจาหน่ ายในราคาเดียวกัน
                               ่                                               ่     ้
    จะเห็นว่ าหากพิจารณาเงือนไขของตลาดแข่ งขันสมบูรณ์ ค่อนข้ างยากทีจะเกิดขึนในความเป็ นจริง
   มีแต่ ใกล้ เคียง (หากมีองค์ ประกอบแค่ 4 ข้ อแรก เรี ยกว่ า pure competition ตลาดแข่ งขันอย่ างแท้ จริง)
   แต่ ประโยชน์ คือสามารถนาไปใช้ ในการวิเคราะห์ เปรียบเทียบกับโครงสร้ างตลาดแบบอื่นๆ
โครงสร้างตลาดและการกาหนดราคาสิ นค้า
                        ตลาดแข่ งขันสมบูรณ์
อุปสงค์ และอุปทาน
                ่
พิจารณาปั จจัยทีกาหนดอุปสงค์ และอุปทาน
***ข้ อควรระวัง อุปสงค์ ของหน่ วยธุรกิจหรื อผู้ผลิต vs อุปสงค์ ของตลาด (market)
อุปสงค์ของหน่วยธุรกิ จหรื อผูผลิ ต
                              ้
ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ผู้ผลิ ตหรื อหน่วยธุรกิ จไม่มีอิทธิ พลเหนือราคาสิ นค้า (เป็ น price taker)
ราคาของสิ นค้าในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ กาหนดขึ้นโดยอุปสงค์และอุปทานของตลาด (ไม่ใช่หน่วยธุรกิ จ)
นัยทางเศรษฐศาสตร์ : price taker คือ?
ผูผลิ ตเป็ น price taker ระดับราคาถูกกาหนดโดยอุปสงค์และอุปทานของตลาด
  ้
เส้นอุปสงค์ของผูผลิ ตจะเป็ นเส้นขนานกับแกนนอน ณ ระดับราคาดุลยภาพ
                 ้
และเมื อราคาสิ นค้าคงที ไม่ว่าปริ มาณขายจะเป็ นเท่าใด รายรับเฉลียต่อหน่วย (AR = TR/Q = (PQ/Q) ย่อมคงทีเ่ ท่ากับ
        ่               ่                                         ่
      ราคาต่อหน่วย (P) และรายรับหน่วยสุดท้าย (MR = dTR/dQ = d (PQ)/dQ = P)

**** ดังนันกรณี นีเ้ ป็ นเส้นอุปสงค์ของหน่วยธุรกิ จจึ งเป็ นเส้นเดียวกับเส้น AR และเส้น MR or (D=AR=MR=P)***
          ้
โครงสร้างตลาดและการกาหนดราคาสิ นค้า
                       ตลาดแข่ งขันสมบูรณ์
The firm’s supply function
• อุปทาน คือ ปริ มาณสิ นค้าทีผูผลิ ตต้องการผลิ ตเพือจาหน่ายในตลาดสิ นค้า ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง ณ ระดับราคา
                                  ่ ้              ่
       ต่างๆ
• ในการจะสร้างเส้นอุปทาน มีสมมติ ฐานทีสาคัญว่าผูผลิ ตต้องการแสวงหากาไรสูงสุด
                                          ่          ้
จุดทีให้กาไรสูงสุด คือจุดที ่ MC = MR
     ่
• ดังนันผูผลิ ตจะผลิ ตสิ นค้าทีระดับ MR = MC กาหนดระดับราคาและปริ มาณการผลิ ตสิ นค้า โดยจากเส้นอุปสงค์
         ้ ้ ้                  ่
       MR=AR=P ดังนัน MR=MC=AR=P คือจุดทีผูผลิ ตเลือกทีจะผลิ ต
                              ้                            ่ ้           ่
• เส้นอุปทานของผูผลิ ตในระยะสัน คือ เส้นต้นทุนส่วนเพิ่มซึ่งอยู่เหนือเส้น ?
                      ้               ้
• ถ้าระดับราคาสิ นค้าลดลงต่ากว่า AVC ผูผลิ ตจะขาดทุนและปิ ดโรงงาน เนืองจากราคาสิ นค้าไม่ครอบคลุมต้นทุน
                                                ้                          ่
       เฉลียแปรผัน (AVC) และปิ ดตัวลงในทีสด
           ่                                ่ ุ
โครงสร้ างตลาดและการกาหนดราคาสิ นค้ า
ตลาดแข่ งขันสมบูรณ์
Graphical Analysis of equilibrium
ดุลยภาพในระยะสั้น
ผู้ผลิตเป็ น price taker ดังนั้นราคาตลาดถูกกาหนดโดยอุปสงค์
และอุปทานของตลาด
•ระดับราคาอยู่ที่ ?
•หลังจากนั้นผู้ผลิตกาหนดปริ มาณการผลิตสิ นค้ า ตามราคา
ตลาดที่ ถกกาหนดมา
           ุ
•ปริ มาณการผลิตสิ นค้ าของผู้ผลิต อยู่ที่
 ซึ่ งเป้ นจุดที่ MC= MR ซึ่ งเป้ นจุดที่ ผ้ ผ้ลิตได้ กาไรสู งสุด
                                             ู
ดุลยภาพในระยะสัน       ้
•P > ATC กาไรเกิ นปกติ super normal profit
 (P-c)q
มี กาไรดูงดูดให้มีผูผลิ ตเข้ามาในระยะยาว
                     ้
•P < ATC should leave the business ใน
ระยะยาว
•P= ATC กาไรปกติ normal profit
•P < AVC (P = AVC shut down point)
ควรปิ ดกิ จการทันทีในระยะสัน เพราะไม่ครอบคลุมแม้กระทัง
                                  ้                               ้
ต้นทุนเฉลียนแปรผัน
              ่
โครงสร้ างตลาดและการกาหนดราคาสิ นค้ า
   ตลาดแข่ งขันสมบูรณ์
   Short-Run Equilibrium in Perfect Competition Market

Graphical Analysis of equilibrium
การวิ เคราะดุลยภาพในระยะสันและระยะยาว
                             ้
ดุลยภาพในระยะยาว
• ในระยะยาวผูผลิ ตสามารถเข้าออกจากตลาดได้ (ไม่ใช่ใน
               ้
ระยะสัน) ดังนันผูผลิ ตจะผลิ ตสิ นค้า ณ จุดที ่
        ้     ้ ้
    P= MR= LMC
ในกรณี นีหน่วยผลิ ตมี กาไรเกิ นปกติ P > ATC ทาให้
          ้
ดึงดูดให้ผูประกอบการรายใหม่เข้ามา
            ้
•เส้นอุปทานเคลื ่อนจาก S1 ไป S2 ระดับราคาลดลงจาก
P1 ไป P2 (สมมติ ไม่มีการเปลี ่ยนแปลงในด้านอุปสงค์ )
•จุดดุลยภาพในระยะยาวจุดใหม่คือจุดที ่ LAC = P โดย
ผูผลิ ต ผลิ ต ณ จุดที ่ SAC (SAC2) = LAC ณ
  ้
ปริ มาณ q2
•ณ ปริ มาณการผลิ ต q2 มี กาไรปกติ ทาให้ไม่มีการเข้าหรื อ
ออกของผูผลิ ต ซึ่งเป้ นจุดดุลยภาพระยะยาว
              ้
โครงสร้างตลาดและการกาหนดราคาสิ นค้า
                         ตลาดแข่ งขันสมบูรณ์
ในการวิ เคราะห์กราฟ สิ่ งทีตองควรคานึงถึง
                           ่ ้

•   การกาหนดจุดแสวงหากาไรสูงสุด หรื อ จุดทีผูผลิ ตตัดสิ นใจผลิ ต โดยต้องพิจารณาค่า MC = MR
                                           ่ ้
•   การพิจารณากาไรหรื อขาดทุน โดยต้องพิจารณา P และ ATC
•   การพิจารณาจุด shut down point ต้องพิจารณา P และ AVC
•   ในดุลยภาพระยะยาว P = SMC = LMC = SAC = LAC = MR = AR
โครงสร้างตลาดและการกาหนดราคาสิ นค้า
                         ตลาดผกขาด
                               ู
ตลาดแข่ งขันผูกขาด
• ผู้ขายเพียงรายเดียว
• ผู้ซื ้อจานวนมาก
• สินค้ าไม่มีสินค้ าอื่นมาทดแทนกันได้
• มีข้อกีดขวางผู้อื่นเข้ ามาผลิตแข่งขัน
ตัวอย่างตลาดผูกขาด เช่น ไฟฟา ประปา สุรา (โดยรัฐเข้ ามาให้ สมปทานแก่เอกชน)
                                 ้                          ั
การกาหนดราคาขายสินค้ าของตลาดผู้ขาด
ราคาขายถูกกาหนดโดยอุปสงค์ต่อสินค้ าของผู้ซื ้อต่างๆ ในตลาด และอุปทานของสินค้ า คือ ปริ มาณ
    ผลิตของผู้ผกขาด
                ู
                                                                              ่
เส้นอุปสงค์สินค้าเป็ นเส้นที่เอียงลาดจากซ้อมไปขวา รายรับหน่วยสุ ดท้าย (MR) อยูต่ากว่าเส้นอุปสงค์
    (D=P=AR)
โครงสร้ างตลาดและการกาหนดราคาสิ นค้ า
   ตลาดผูกขาด

การวิ เคราะห์กราฟ
•กรณีตลาดผูกขาดผูผลิ ตกับอุตสาหกรรมคือคนๆ เดียวกัน
                      ้
•กราฟแสดงดุลยภาพในระยะสันและระยะยาว
                              ้
•กรณีนีไม่มีเส้นอุปทานในระยะยาวเนืองจากผูผลิ ตไม่ใช่
        ้                            ่       ้
price taker แต่เป็ น price maker
•กรณีของตลาดผูกขนาดเส้นอุปสงค์เป็ นเส้นชันลงตามกฏของ
อุปสงค์ ในการทีจะขายสิ นค้าให้มีปริ มาณสิ นค้าเพิ่มขึ้นจะต้อง
                 ่
ลดราคาสิ นค้าลง
•กรณีตลาดผูกขนาด D = AR แต่จะเป็ นคนละเส้น กับ
MC
•และ MR < AR (slope ครึ่ ง)
•ปริ มาณการผลิ ตทีมีกาไรสูงสุดคือ MC = MR ราคาPm
                    ่
•กาไร (Pm-AC1)Qm
ในระยะยาวมี แนวโน้มทีผูผลิ ตจะมี กาไรเกิ นปกติ มากกว่าในระยะ
                        ่ ้
สันเนืองจาก ผูบริ โภคมี อปสงค์มากขึ้น ผูผูกขาดขยายการผลิ ต
  ้ ่          ้          ุ             ้
และเกิ ดการประหยัดต่อขนาด
โครงสร้างตลาดและการกาหนดราคาสิ นค้า
                         ตลาดผกขาด
                               ู
ตลาดแข่ งขันผูกขาด
• ผู้ขายเพียงรายเดียว
• ผู้ซื ้อจานวนมาก
• สินค้ าไม่มีสินค้ าอื่นมาทดแทนกันได้
• มีข้อกีดขวางผู้อื่นเข้ ามาผลิตแข่งขัน
ตัวอย่างตลาดผูกขาด เช่น ไฟฟา ประปา สุรา (โดยรัฐเข้ ามาให้ สมปทานแก่เอกชน)
                                 ้                          ั
การกาหนดราคาขายสินค้ าของตลาดผู้ขาด
ราคาขายถูกกาหนดโดยอุปสงค์ต่อสินค้ าของผู้ซื ้อต่างๆ ในตลาด และอุปทานของสินค้ า คือ ปริ มาณ
    ผลิตของผู้ผกขาด
                ู
                                                                              ่
เส้นอุปสงค์สินค้าเป็ นเส้นที่เอียงลาดจากซ้อมไปขวา รายรับหน่วยสุ ดท้าย (MR) อยูต่ากว่าเส้นอุปสงค์
    (D=P=AR)
โครงสร้างตลาดและการกาหนดราคาสิ นค้า

การกาหนดราคาสิ นค้าในทางปฏิบติและการวัดอานาจการผูกขาดของผูผกขนาด
                                  ั                                 ู้
 ******ความสัมพันธ์ของ P MR และค่า price elasticity (ep)*********
MR = P(1+ (1/ep))
from TR = PQ : dTR/dQ = P + Q dP/dQ : multiply by (P/P) = P + P ((Q/P)*(dP/dQ) = P(1 + (1/ep))
Profit Maximization
MC = MR = P(1+ (1/ep))
P= MC ( (ep)/ ((ep)+1))
(P –MC)/ P = - (1/(ep))
• ค่า (P-MC) แสดงให้รู้อานาจของการผูกขนาด
• Lerner’s Degree of Monopoly : L = (P-MC)/P
• L มีค่าระหว่าง ศูนย์ ถึง หนึ่ง โดยตลาดแข่งขันสมบูรณ์ P = MC ดังนั้น L = 0
     L มีค่าสูงอานาจการผูกขาดสู ง แต่มิได้หมายความว่า กาไรจะสู งขึ้นด้วย

More Related Content

Featured

How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
ThinkNow
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 

Featured (20)

Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 

drpazzpsuBusEcon2011/1

  • 1. Managerial Economics Business Economics Program Faculty of Liberal Arts and Management Sciences Prince of Songkla University, Surat Thani Campus Email: drpazzpsu@gmail.com Facebook: DrPazz Thammachote Twitter: drpazzpsu Slideshare: drpazzpsu
  • 2. โครงสร้ างตลาดและการกาหนดราคาสินค้ า • ผู้ประกอบการ ผู้จัดการ • กลยุทธ์ ทางธุรกิจ • โครงสร้ างตลาด • การตัดสินใจทางธุรกิจในระยะสั้น และระยะยาว
  • 3. คุณลักษณะของตลาด (Characteristics of Markets) โครงสร้ างตลาด นิยาม คาว่ า “ตลาด” และการกาหนดราคาสิ นค้ า กลุ่มของหน่ วยทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะบริษัท ่ (firms)และครั วเรือน (individual or household) ซึงมี ปฏิสัมพันธ์ กันในสถานะผู้ขาย (seller) และผู้ซ้ือ (buyer) ประเด็นอภิปราย: ประเภทหรือชนิดของสินค้ า จานวน ้ ่ ของสินค้ า และพืนทีหรือขอบเขตในการจาหน่ าย สินค้ ามีความสาคัญต่ อคานิยามของคาว่ าตลาด หรือไม่ ? เครื่องดื่ม Coca-Cola ควรถูกจัดอยู่ในตลาด carbonated drinks, a soft drink หรือ Beverage market (relevant market ) การนิยามตลาดเดียวกัน สาคัญอย่ างไร Federal Trade Commission (FTC) • กรณีการขอควบกิจการระหว่ าง Coca-Cola and Dr. Pepper • กรณีกาแฟ Proctor and Gamble’s Folgers กับ กาแฟ ของ General Food Maxwell เกี่ยวกับการแข่ งขันทาง ่ การค้ าทีไม่ เป็ นธรรมในบางเมืองของสหรั ฐอเมริ กา
  • 4. โครงสร้างตลาดและการกาหนดราคาสิ นค้า คานิยามของตลาดจึงครอบคลุมไปถึงชนิดหรื อคุณลักษณะของสิ นค้ า และขอบเขตในการจาหน่ ายทางภูมิศาสตร์ (geographical) กรณี Co-Cola กับ Dr. Pepper พิจารณา relevant market คือ Carbonate Soft Drinks จากการทดแทนกันได้ ของสิ นค้ า (elasticity of substitution) กรณี กาแฟ Folger พิจารณา relevant market ว่ าตลาดครอบคลุมทุกๆ เมืองใน สหรั ฐอเมริ กา ไม่ ใช่ เฉพาะบางเมือง
  • 5. โครงสร้างตลาดและการกาหนดราคาสิ นค้า ประเภทของโครงสร้ างตลาด (Type of Market Structure) • Perfect competition ตลาดแข่ งขันสมบูรณ์ • Monopoly ตลาดผูกขาด • Monopolistic competition ตลาดกึ่งแข่ งขันกึ่งผูกขาด • Oligopoly ตลาดผู้ขายน้ อยราย
  • 6. โครงสร้างตลาดและการกาหนดราคาสิ นค้า เกณฑ์ ในการพิจารณาประเภทของโครงสร้ างตลาด (Type of Market Structure) • จานวนผู้ขาย ผู้ซื ้อ • ประเภทของสินค้ า • ข้ อกีดกันการเข้ ามาหรื อออกจากตลาด • อานาจในการกาหนดราคาสินค้ า • การแข่งขันที่ไม่ใช้ ราคา
  • 7. โครงสร้างตลาดและการกาหนดราคาสิ นค้า ความสัมพันธ์ ระหว่ าง structure, conduct and performance • Structure: โครงสร้ างตลาด • Conduct : Strategic behavior กลยทธ์ เช่ น การกาหนดราคา และ ปริมาณการ ุ ผลิต • Performance : ผลการดาเนินงาน เช่ น กาไร และ ประสิทธิภาพ การวิเคราะห์ โครงสร้ างตลาด • เงื่อนไขของแต่ ละตลาด • การวิเคราะห์ static, partial equilibrium • การวิเคราะห์ โดยใช้ algebra
  • 8. โครงสร้างตลาดและการกาหนดราคาสิ นค้า ตลาดแข่ งขันสมบูรณ์ ตลาดแข่ งขันสมบูรณ์ • ผู้ขายและผู้ซื้อมากราย • ผลิตภัณฑ์ เหมือนกันทุกประการ • การเข้ าหรือออกจากตลาดทาได้ โดย • ผู้ซื้อและผู้ขายมีข้อมูลข่ าวสารทีสมบูรณ์ ่ • การเคลื่อนย้ ายสินค้ าและปั จจัยการผลิตทาได้ อย่ างไรเสรี ่ ภายใต้ เงือนไขข้ างต้ น ผู้ผลิตจะเป็ น price-taker จะมีราคาตลาดเพียงราคาเดียวหรือสินค้ าจาหน่ ายในราคาเดียวกัน ่ ่ ้ จะเห็นว่ าหากพิจารณาเงือนไขของตลาดแข่ งขันสมบูรณ์ ค่อนข้ างยากทีจะเกิดขึนในความเป็ นจริง มีแต่ ใกล้ เคียง (หากมีองค์ ประกอบแค่ 4 ข้ อแรก เรี ยกว่ า pure competition ตลาดแข่ งขันอย่ างแท้ จริง) แต่ ประโยชน์ คือสามารถนาไปใช้ ในการวิเคราะห์ เปรียบเทียบกับโครงสร้ างตลาดแบบอื่นๆ
  • 9. โครงสร้างตลาดและการกาหนดราคาสิ นค้า ตลาดแข่ งขันสมบูรณ์ อุปสงค์ และอุปทาน ่ พิจารณาปั จจัยทีกาหนดอุปสงค์ และอุปทาน ***ข้ อควรระวัง อุปสงค์ ของหน่ วยธุรกิจหรื อผู้ผลิต vs อุปสงค์ ของตลาด (market) อุปสงค์ของหน่วยธุรกิ จหรื อผูผลิ ต ้ ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ผู้ผลิ ตหรื อหน่วยธุรกิ จไม่มีอิทธิ พลเหนือราคาสิ นค้า (เป็ น price taker) ราคาของสิ นค้าในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ กาหนดขึ้นโดยอุปสงค์และอุปทานของตลาด (ไม่ใช่หน่วยธุรกิ จ) นัยทางเศรษฐศาสตร์ : price taker คือ? ผูผลิ ตเป็ น price taker ระดับราคาถูกกาหนดโดยอุปสงค์และอุปทานของตลาด ้ เส้นอุปสงค์ของผูผลิ ตจะเป็ นเส้นขนานกับแกนนอน ณ ระดับราคาดุลยภาพ ้ และเมื อราคาสิ นค้าคงที ไม่ว่าปริ มาณขายจะเป็ นเท่าใด รายรับเฉลียต่อหน่วย (AR = TR/Q = (PQ/Q) ย่อมคงทีเ่ ท่ากับ ่ ่ ่ ราคาต่อหน่วย (P) และรายรับหน่วยสุดท้าย (MR = dTR/dQ = d (PQ)/dQ = P) **** ดังนันกรณี นีเ้ ป็ นเส้นอุปสงค์ของหน่วยธุรกิ จจึ งเป็ นเส้นเดียวกับเส้น AR และเส้น MR or (D=AR=MR=P)*** ้
  • 10. โครงสร้างตลาดและการกาหนดราคาสิ นค้า ตลาดแข่ งขันสมบูรณ์ The firm’s supply function • อุปทาน คือ ปริ มาณสิ นค้าทีผูผลิ ตต้องการผลิ ตเพือจาหน่ายในตลาดสิ นค้า ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง ณ ระดับราคา ่ ้ ่ ต่างๆ • ในการจะสร้างเส้นอุปทาน มีสมมติ ฐานทีสาคัญว่าผูผลิ ตต้องการแสวงหากาไรสูงสุด ่ ้ จุดทีให้กาไรสูงสุด คือจุดที ่ MC = MR ่ • ดังนันผูผลิ ตจะผลิ ตสิ นค้าทีระดับ MR = MC กาหนดระดับราคาและปริ มาณการผลิ ตสิ นค้า โดยจากเส้นอุปสงค์ ้ ้ ้ ่ MR=AR=P ดังนัน MR=MC=AR=P คือจุดทีผูผลิ ตเลือกทีจะผลิ ต ้ ่ ้ ่ • เส้นอุปทานของผูผลิ ตในระยะสัน คือ เส้นต้นทุนส่วนเพิ่มซึ่งอยู่เหนือเส้น ? ้ ้ • ถ้าระดับราคาสิ นค้าลดลงต่ากว่า AVC ผูผลิ ตจะขาดทุนและปิ ดโรงงาน เนืองจากราคาสิ นค้าไม่ครอบคลุมต้นทุน ้ ่ เฉลียแปรผัน (AVC) และปิ ดตัวลงในทีสด ่ ่ ุ
  • 11. โครงสร้ างตลาดและการกาหนดราคาสิ นค้ า ตลาดแข่ งขันสมบูรณ์ Graphical Analysis of equilibrium ดุลยภาพในระยะสั้น ผู้ผลิตเป็ น price taker ดังนั้นราคาตลาดถูกกาหนดโดยอุปสงค์ และอุปทานของตลาด •ระดับราคาอยู่ที่ ? •หลังจากนั้นผู้ผลิตกาหนดปริ มาณการผลิตสิ นค้ า ตามราคา ตลาดที่ ถกกาหนดมา ุ •ปริ มาณการผลิตสิ นค้ าของผู้ผลิต อยู่ที่ ซึ่ งเป้ นจุดที่ MC= MR ซึ่ งเป้ นจุดที่ ผ้ ผ้ลิตได้ กาไรสู งสุด ู ดุลยภาพในระยะสัน ้ •P > ATC กาไรเกิ นปกติ super normal profit (P-c)q มี กาไรดูงดูดให้มีผูผลิ ตเข้ามาในระยะยาว ้ •P < ATC should leave the business ใน ระยะยาว •P= ATC กาไรปกติ normal profit •P < AVC (P = AVC shut down point) ควรปิ ดกิ จการทันทีในระยะสัน เพราะไม่ครอบคลุมแม้กระทัง ้ ้ ต้นทุนเฉลียนแปรผัน ่
  • 12. โครงสร้ างตลาดและการกาหนดราคาสิ นค้ า ตลาดแข่ งขันสมบูรณ์ Short-Run Equilibrium in Perfect Competition Market Graphical Analysis of equilibrium การวิ เคราะดุลยภาพในระยะสันและระยะยาว ้ ดุลยภาพในระยะยาว • ในระยะยาวผูผลิ ตสามารถเข้าออกจากตลาดได้ (ไม่ใช่ใน ้ ระยะสัน) ดังนันผูผลิ ตจะผลิ ตสิ นค้า ณ จุดที ่ ้ ้ ้ P= MR= LMC ในกรณี นีหน่วยผลิ ตมี กาไรเกิ นปกติ P > ATC ทาให้ ้ ดึงดูดให้ผูประกอบการรายใหม่เข้ามา ้ •เส้นอุปทานเคลื ่อนจาก S1 ไป S2 ระดับราคาลดลงจาก P1 ไป P2 (สมมติ ไม่มีการเปลี ่ยนแปลงในด้านอุปสงค์ ) •จุดดุลยภาพในระยะยาวจุดใหม่คือจุดที ่ LAC = P โดย ผูผลิ ต ผลิ ต ณ จุดที ่ SAC (SAC2) = LAC ณ ้ ปริ มาณ q2 •ณ ปริ มาณการผลิ ต q2 มี กาไรปกติ ทาให้ไม่มีการเข้าหรื อ ออกของผูผลิ ต ซึ่งเป้ นจุดดุลยภาพระยะยาว ้
  • 13. โครงสร้างตลาดและการกาหนดราคาสิ นค้า ตลาดแข่ งขันสมบูรณ์ ในการวิ เคราะห์กราฟ สิ่ งทีตองควรคานึงถึง ่ ้ • การกาหนดจุดแสวงหากาไรสูงสุด หรื อ จุดทีผูผลิ ตตัดสิ นใจผลิ ต โดยต้องพิจารณาค่า MC = MR ่ ้ • การพิจารณากาไรหรื อขาดทุน โดยต้องพิจารณา P และ ATC • การพิจารณาจุด shut down point ต้องพิจารณา P และ AVC • ในดุลยภาพระยะยาว P = SMC = LMC = SAC = LAC = MR = AR
  • 14. โครงสร้างตลาดและการกาหนดราคาสิ นค้า ตลาดผกขาด ู ตลาดแข่ งขันผูกขาด • ผู้ขายเพียงรายเดียว • ผู้ซื ้อจานวนมาก • สินค้ าไม่มีสินค้ าอื่นมาทดแทนกันได้ • มีข้อกีดขวางผู้อื่นเข้ ามาผลิตแข่งขัน ตัวอย่างตลาดผูกขาด เช่น ไฟฟา ประปา สุรา (โดยรัฐเข้ ามาให้ สมปทานแก่เอกชน) ้ ั การกาหนดราคาขายสินค้ าของตลาดผู้ขาด ราคาขายถูกกาหนดโดยอุปสงค์ต่อสินค้ าของผู้ซื ้อต่างๆ ในตลาด และอุปทานของสินค้ า คือ ปริ มาณ ผลิตของผู้ผกขาด ู ่ เส้นอุปสงค์สินค้าเป็ นเส้นที่เอียงลาดจากซ้อมไปขวา รายรับหน่วยสุ ดท้าย (MR) อยูต่ากว่าเส้นอุปสงค์ (D=P=AR)
  • 15. โครงสร้ างตลาดและการกาหนดราคาสิ นค้ า ตลาดผูกขาด การวิ เคราะห์กราฟ •กรณีตลาดผูกขาดผูผลิ ตกับอุตสาหกรรมคือคนๆ เดียวกัน ้ •กราฟแสดงดุลยภาพในระยะสันและระยะยาว ้ •กรณีนีไม่มีเส้นอุปทานในระยะยาวเนืองจากผูผลิ ตไม่ใช่ ้ ่ ้ price taker แต่เป็ น price maker •กรณีของตลาดผูกขนาดเส้นอุปสงค์เป็ นเส้นชันลงตามกฏของ อุปสงค์ ในการทีจะขายสิ นค้าให้มีปริ มาณสิ นค้าเพิ่มขึ้นจะต้อง ่ ลดราคาสิ นค้าลง •กรณีตลาดผูกขนาด D = AR แต่จะเป็ นคนละเส้น กับ MC •และ MR < AR (slope ครึ่ ง) •ปริ มาณการผลิ ตทีมีกาไรสูงสุดคือ MC = MR ราคาPm ่ •กาไร (Pm-AC1)Qm ในระยะยาวมี แนวโน้มทีผูผลิ ตจะมี กาไรเกิ นปกติ มากกว่าในระยะ ่ ้ สันเนืองจาก ผูบริ โภคมี อปสงค์มากขึ้น ผูผูกขาดขยายการผลิ ต ้ ่ ้ ุ ้ และเกิ ดการประหยัดต่อขนาด
  • 16. โครงสร้างตลาดและการกาหนดราคาสิ นค้า ตลาดผกขาด ู ตลาดแข่ งขันผูกขาด • ผู้ขายเพียงรายเดียว • ผู้ซื ้อจานวนมาก • สินค้ าไม่มีสินค้ าอื่นมาทดแทนกันได้ • มีข้อกีดขวางผู้อื่นเข้ ามาผลิตแข่งขัน ตัวอย่างตลาดผูกขาด เช่น ไฟฟา ประปา สุรา (โดยรัฐเข้ ามาให้ สมปทานแก่เอกชน) ้ ั การกาหนดราคาขายสินค้ าของตลาดผู้ขาด ราคาขายถูกกาหนดโดยอุปสงค์ต่อสินค้ าของผู้ซื ้อต่างๆ ในตลาด และอุปทานของสินค้ า คือ ปริ มาณ ผลิตของผู้ผกขาด ู ่ เส้นอุปสงค์สินค้าเป็ นเส้นที่เอียงลาดจากซ้อมไปขวา รายรับหน่วยสุ ดท้าย (MR) อยูต่ากว่าเส้นอุปสงค์ (D=P=AR)
  • 17. โครงสร้างตลาดและการกาหนดราคาสิ นค้า การกาหนดราคาสิ นค้าในทางปฏิบติและการวัดอานาจการผูกขาดของผูผกขนาด ั ู้ ******ความสัมพันธ์ของ P MR และค่า price elasticity (ep)********* MR = P(1+ (1/ep)) from TR = PQ : dTR/dQ = P + Q dP/dQ : multiply by (P/P) = P + P ((Q/P)*(dP/dQ) = P(1 + (1/ep)) Profit Maximization MC = MR = P(1+ (1/ep)) P= MC ( (ep)/ ((ep)+1)) (P –MC)/ P = - (1/(ep)) • ค่า (P-MC) แสดงให้รู้อานาจของการผูกขนาด • Lerner’s Degree of Monopoly : L = (P-MC)/P • L มีค่าระหว่าง ศูนย์ ถึง หนึ่ง โดยตลาดแข่งขันสมบูรณ์ P = MC ดังนั้น L = 0 L มีค่าสูงอานาจการผูกขาดสู ง แต่มิได้หมายความว่า กาไรจะสู งขึ้นด้วย