SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
1
ผลวิจัย
ภาพรวมพฤติกรรม
การใช้ ความนิยมใน
เครื่องสาอางสมุนไพร
2
ตอนที่ 1: ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
รายได้
ผู้ตอบแบบสอบถามมีรายได้ต่อเดือนระหว่าง 5,000 –
10,000 บาท มากที่ สุดอันดับหนึ่ ง มีสัดส่ วน
35.58% อันดับสองคือ 10,001 – 25,000 บาท
23.71% อันดับสามคือ ต่ากว่า 5,000 บาท 21.47% ส่วน
ของผู้ตอบแบบสอบถามที่มีน้อยที่สุด คือ 60,001 - 80,000
มีสัดส่วน 0.64% และมีตอบแบบสอบถามไม่ระบุรายได้ต่อ
เดือน 1.28%
สถานภาพ
ผู้ตอบแบบสอบถามมีสถานภาพโสดมากที่สุด
อันดับหนึ่ง มีสัดส่วน 51.28% อันดับสองคือ ไม่
โสด 44.55%
อายุ
ผู้ตอบแบบสอบถาม 57.06% เป็นผู้ที่อยู่ในช่วงอายุ 18-
35 ปี โดยอายุของผู้ตอบแบบสอบถามนี้ มากที่สุด
อันดั บห นึ่ งคือ ช่ ว งอ ายุ 18 -23 ปี มี สัด ส่ ว น
28.21% อันดับสองคือ อายุ 30-35 ปี 16.03% อันดับสาม
การศึกษา
ผู้ตอบแบบสอบถามมีการศึกษาระดับมัธยมศึกษา
หรือต่ากว่ามากที่สุดอันดับหนึ่ง มีสัดส่วน
38.46 อันดับสองคือ ปริญญาตรี 35.90% อันดับสาม
คือ ปวช. หรือ ปวส. 19.23% ผู้ตอบแบบสอบถามที่มี
21.47%
35.58%23.72%
9.94%
4.81%
0.64% 1.60%
0.96%1.28%
รายได้ต่อเดือน
ต่ากว่า
5,000
บาท
5,000-
10,000
บาท
51.28
44.55
4.17
0.00
20.00
40.00
60.00
โสด ไม่โสด ไม่ระบุ
สถานภาพ
5.13% 28.21%
12.82%16.03%
10.58%
10.58%
10.26% 4.17%
2.24% อายุ
อายุ 12-
17 ปี
อายุ 18-
23 ปี
อายุ 24-
29 ปี
38.46%
19.23%
35.90% 5.77%
0.32%
0.32%
การศึกษา
มัธยมศึกษ
า/ต่ากว่า
ปวช. หรือ
ปวส.
3
คือ อายุ 24-29 ปี 12.82% ผู้ที่อายุ 60 ปีขึ้นไป มีสัดส่วน
2.24% จัดว่ามีจานวนน้อยที่สุด
น้อยที่สุด คือ การศึกษาสูงกว่าปริญญาโท และไม่ระบุ
0.32% เท่ากัน
เพศ
ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็ นเพศหญิงมาก
ที่สุดอันดับหนึ่ง มีสัดส่วน 77.56% อันดับสองคือ
เพศชาย มีสัดส่วน 20.51% อันดับสามคือ เพศที่ 3 มี
สัดส่วน 1.92%
จากกลุ่มเพศที่ 3 ระบุเป็นกะเทยมากที่สุด
อันดับหนึ่ง มีสัดส่วน 33.33% อันดับสองคือ เกย์
และทอม มีสัดส่วน 16.67% เท่ากัน
อาชีพ
ผู้ตอบแบบสอบถามเป็ นนักเรียน/นักศึกษามาก
ที่สุดอันดับหนึ่ง มีสัดส่วน 30.45% อันดับสองคือ
พนักงานบริษัท/องค์กรเอกชน 21.47% อันดับสามคือ
ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว 19.23% ส่วนของผู้ ตอบ
แบบสอบถามที่มีน้อยที่สุด คือ ผู้ที่กาลังว่างงาน มี
สัดส่วน 0.32%
กลุ่มอาชีพอื่น ๆ ของผู้ตอบแบบสอบถามประกอบ
อาชีพแดนเซอร์มากที่สุดอันดับหนึ่ง มีสัดส่วน
36.84% อันดับสองคือ ทางานอิสระ 10.53% และมี
ตอบแบบสอบถามไม่ระบุสถานะ 4.17%
หญิง ชาย เพศที่ 3
77.56
20.51
1.92
เพศ
33.33 16.67 16.67
0.00
50.00
กะเทย เกย์ ทอม
ระบุเพศที่ 3
30.45%
19.23%21.47%
15.71%
6.41%
0.32%
6.41%
อาชีพ
นักเรียน/นักศึกษา
ค้าขาย/ธุรกิจ
ส่วนตัว
5.26%5.26% 5.26%
5.26%
36.84
%
10.53
%5.26%
5.26%
5.26%
5.26%10.53
%
ระบุอาชีพอื่น ๆ
กรรมกร
ก่อสร้าง
4
ภูมิภาค
ผู้ตอบแบบสอบถามอาศัยอยู่ในภาคกลางมากที่สุดอันดับหนึ่ง มีสัดส่วน
43.27% อันดับสองคือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 25.96% อันดับสามคือ ภาคใต้
16.35% ส่วนของผู้ตอบแบบสอบถามที่มีน้อยที่สุด คือ ภาคตะวันตก มีสัดส่วน 0.32%
และมีตอบแบบสอบถามไม่ระบุภูมิภาค 0.64%
จังหวัด
ผู้ตอบแบบสอบถามมีภูมิลาเนาอยู่ในกรุงเทพมหานครมากที่สุดอันดับหนึ่ง มี
สัดส่วน 22.45% อันดับสองคือ จังหวัดนครศรีธรรมราช 9.18% อันดับสามคือ จังหวัด
นนทบุรี 7.14% ส่วนของผู้ตอบแบบสอบถามที่มีน้อยที่สุด คือ นครราชสีมา มีสัดส่วน 2.04%
และมีตอบแบบสอบถามไม่ระบุภูมิภาค 0.64%
43.27
5.45 0.32 8.01 25.96 16.35 0.64
0.00
20.00
40.00
60.00
ภูมิภาค
22.45%
9.18%7.14%
6.12%
5.10%
4.08%
2.72% 2.72%
2.72%
2.04%
จังหวัด 10 อันดับแรก
กรุงเทพมหานคร
นครศรีธรรมราช
นนทบุรี
ยโสธร
ปทุมธานี
อุดรธานี
ระยอง
ศรีสะเกษ
อุบลราชธานี
นครราชสีมา
5
ตอนที่ 2: ข้อมูลพฤติกรรม ความนิยมเครื่องสาอาง
สมุนไพรสกัดจากธรรมชาติ
ตารางที่ 3-1 จานวนและร้อยละของเครื่องสาอางที่ใช้เป็นประจาที่ผลิตจากสมุนไพร หมวดดูแล
ผิวพรรณ (Skincare) (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
รายการ จานวน ร้อยละ
1. ครีมบารุงผิวกลางวัน 77 24.7
2. ครีมบารุงผิวกลางคืน 43 13.8
3. ครีมกันแดด 87 27.9
4. ครีมรักษาสิว ฝ้ า 64 20.5
5. ครีมทาบารุงผิวกาย 117 37.5
6. ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้ 74 23.7
จากตารางที่ 3-1 พบว่า เครื่องสาอางที่ใช้เป็นประจาที่ผลิตจากสมุนไพรในหมวด
ดูแลผิวพรรณ (Skincare) มากที่สุด คือ ครีมทาบารุงผิวกาย จานวน 117 คน (ร้อยละ
37.5) รองลงมา คือ ครีมกันแดด จานวน 87 คน (ร้อยละ 27.9) และ น้อยที่สุด คือ ครีม
บารุงผิวกลางคืน จานวน 43 คน (ร้อยละ 27.9)
ตารางที่ 3-2 จานวนและร้อยละของเครื่องสาอางที่ใช้เป็นประจาที่ผลิตจากสมุนไพร หมวด
แต่งหน้า (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
รายการ จานวน ร้อยละ
1. ลิปบาล์ม 87 27.9
2. ลิปสติกสี 34 10.9
3. แป้ งพัฟ 45 14.4
4. ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้ 163 52.2
จากตารางที่ 3-2 พบว่า เครื่องสาอางที่ใช้เป็นประจาที่ผลิตจากสมุนไพรในหมวด
แต่งหน้า มากที่สุด คือ ลิปบาล์ม จานวน 87 คน (ร้อยละ 27.9) รองลงมา คือ แป้ งพัฟ
จานวน 45 คน (ร้อยละ 14.4) และ น้อยที่สุด คือ ลิปสติกสี จานวน 34 คน (ร้อยละ 10.9)
ส่วนผู้ตอบที่ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้จานวน 163 คน (ร้อยละ 52.2)
6
ตารางที่ 3-3 จานวนและร้อยละของเครื่องสาอางที่ใช้เป็นประจาที่ผลิตจากสมุนไพร หมวดทา
ความสะอาด (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
รายการ จานวน ร้อยละ
1. โฟมล้างหน้า 127 40.7
2. ครีมขัด/พอกผิว 84 26.9
3. สบู่อาบน้า 145 46.5
4. ยาสีฟัน 160 51.3
5. ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้ 23 7.4
จากตารางที่ 3-3 พบว่า เครื่องสาอางที่ใช้เป็นประจาที่ผลิตจากสมุนไพรในหมวดทา
ความสะอาด มากที่สุด คือ ยาสีฟัน จานวน 160 คน (ร้อยละ 51.3) รองลงมา คือ สบู่
อาบน้า จานวน 145 คน (ร้อยละ 46.5) และ น้อยที่สุด คือ ครีมขัด/พอกผิว จานวน 84
คน (ร้อยละ 26.9) ส่วนผู้ตอบที่ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้จานวน 23 คน (ร้อยละ 7.4)
ตารางที่ 3-4 จานวนและร้อยละของเครื่องสาอางที่ใช้เป็นประจาที่ผลิตจากสมุนไพร หมวดดูแล
เส้นผม (Haircare) (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
รายการ จานวน ร้อยละ
1. ยาสระผม 179 57.4
2. ครีมนวดผม 110 35.3
3. ยาโกรกเปลี่ยนสีผม 36 11.5
4. โลชั่นบารุงผม 55 17.6
5. ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้ 85 27.2
จากตารางที่ 3-4 พบว่า เครื่องสาอางที่ใช้เป็นประจาที่ผลิตจากสมุนไพรในหมวด
ดูแลเส้นผม (Haircare) มากที่สุด คือ ยาสระผม จานวน 179 คน (ร้อยละ 57.4) รองลงมา
คือ ครีมนวดผมจานวน 110 คน (ร้อยละ 35.3) และ น้อยที่สุด คือ โลชั่นบารุงผม จานวน
55 คน (ร้อยละ 17.6) ส่วนผู้ตอบที่ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้จานวน 85 คน (ร้อยละ 27.2)
7
ตารางที่ 3-5 จานวนและร้อยละของการซื้อเครื่องสาอางสมุนไพร หมวดดูแลผิวพรรณ (Skincare)
รายการ จานวน ร้อยละ
1. รายสัปดาห์-1เดือน 77 24.7
2. 1-2 เดือน 98 31.4
3. 2-3 เดือน 39 12.5
4. มากกว่า 3 เดือนต่อครั้ง 51 16.3
ไม่ระบุ 47 15.1
รวม 312 100.0
จากตารางที่ 3-5 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรในหมวดดูแล
ผิวพรรณ (Skincare) ทุก 1-2 เดือน มากที่สุด จานวน 98 คน (ร้อยละ 31.4) รองลงมา คือ
รายสัปดาห์-1เดือน จานวน 77 คน (ร้อยละ 24.7) และ น้อยที่สุด คือ 2-3 เดือน จานวน 39 คน
(ร้อยละ 12.5)
ตารางที่ 3-6 จานวนและร้อยละของการซื้อเครื่องสาอางสมุนไพร หมวดแต่งหน้า
รายการ จานวน ร้อยละ
1. รายสัปดาห์-1เดือน 60 19.2
2. 1-2 เดือน 53 17.0
3. 2-3 เดือน 37 11.9
4. มากกว่า 3 เดือนต่อครั้ง 86 27.6
ไม่ระบุ 76 24.4
รวม 312 100.0
จากตารางที่ 3-6 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรในหมวด
แต่งหน้า มากกว่า 3 เดือนต่อครั้ง มากที่สุด จานวน 86 คน (ร้อยละ 27.6) รองลงมา คือ
รายสัปดาห์-1เดือน จานวน 60 คน (ร้อยละ 19.2) และ น้อยที่สุด คือ 2-3 เดือน จานวน 37 คน
(ร้อยละ 11.9) ส่วนผู้ตอบที่ไม่ระบุมีจานวน 76 คน (ร้อยละ 24.4)
8
ตารางที่ 3-7 จานวนและร้อยละของการซื้อเครื่องสาอางสมุนไพร หมวดทาความสะอาด
รายการ จานวน ร้อยละ
1. รายสัปดาห์-1เดือน 121 38.8
2. 1-2 เดือน 96 30.8
3. 2-3 เดือน 30 9.6
4. มากกว่า 3 เดือนต่อครั้ง 39 12.5
ไม่ระบุ 26 8.3
รวม 312 100.0
จากตารางที่ 3-7 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรในหมวดทา
ความสะอาด รายสัปดาห์-1เดือน มากที่สุด จานวน 121 คน (ร้อยละ 38.8) รองลงมา คือ 1-
2 เดือนจานวน 96 คน (ร้อยละ 30.8) และ น้อยที่สุด คือ 2-3 เดือน จานวน 30 คน (ร้อยละ 9.6)
ส่วนผู้ตอบที่ไม่ระบุมีจานวน 26 คน (ร้อยละ 8.3)
ตารางที่ 3-8 จานวนและร้อยละของการซื้อเครื่องสาอางสมุนไพร หมวดดูแลเส้นผม (Haircare)
รายการ จานวน ร้อยละ
1. รายสัปดาห์-1เดือน 86 27.6
2. 1-2 เดือน 96 30.8
3. 2-3 เดือน 30 9.6
4. มากกว่า 3 เดือนต่อครั้ง 59 18.9
ไม่ระบุ 41 13.1
รวม 312 100.0
จากตารางที่ 3-8 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรในหมวดดูแล
เส้นผม (Haircare) ทุก 1-2 เดือน จานวน 96 คน (ร้อยละ 30.8) รองลงมา คือ รายสัปดาห์-1
เดือน จานวน 86 คน (ร้อยละ 27.6) และ น้อยที่สุด คือ 2-3 เดือน จานวน 30 คน (ร้อยละ 9.6)
ส่วนผู้ตอบที่ไม่ระบุมีจานวน 41 คน (ร้อยละ 13.1)
9
ตารางที่ 3-9 จานวนและร้อยละของราคาโดยเฉลี่ย (ต่อชิ้น) ของเครื่องสาอางสมุนไพรที่เลือกใช้
หมวดดูแลผิวพรรณ (Skincare)
รายการ จานวน ร้อยละ
1. 200 บาท หรือต่ากว่า 108 34.6
2. 201-500 บาท 119 38.1
3. 501-1,000 บาท 33 10.6
4. 1,001-2,000 บาท 7 2.2
5. สูงกว่า 2000 บาท 1 0.3
ไม่ระบุ 44 14.1
รวม 312 100.0
จากตารางที่ 3-9 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรในหมวดดูแล
ผิวพรรณ (Skincare) ราคาโดยเฉลี่ย (ต่อชิ้น) 201-500 บาทมากที่สุด จานวน 119 คน
(ร้อยละ 38.1) ส่วน 200 บาท หรือต่ากว่า จานวน 108 คน (ร้อยละ 34.6) รองลงมา คือ และ
น้อยที่สุด คือ สูงกว่า 2000 บาท จานวน 1 คน (ร้อยละ 0.3) ส่วนผู้ตอบที่ไม่ระบุมีจานวน 44 คน
(ร้อยละ 14.1)
ตารางที่ 3-10 จานวนและร้อยละของราคาโดยเฉลี่ย (ต่อชิ้น) ของเครื่องสาอางสมุนไพรที่เลือกใช้
หมวดแต่งหน้า
รายการ จานวน ร้อยละ
1. 200 บาท หรือต่ากว่า 97 31.1
2. 201-500 บาท 89 28.5
3. 501-1,000 บาท 35 11.2
4. 1,001-2,000 บาท 8 2.6
5. สูงกว่า 2000 บาท 1 0.3
ไม่ระบุ 82 26.3
รวม 312 100.0
10
จากตารางที่ 3-10 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรในหมวด
แต่งหน้า ราคาโดยเฉลี่ย (ต่อชิ้น) 200 บาท หรือต่ากว่า มากที่สุด จานวน 97 คน (ร้อยละ
31.1) รองลงมา คือ 201-500 บาท จานวน 89 คน (ร้อยละ 28.5) และ น้อยที่สุด คือ สูงกว่า 2000
บาท จานวน 1 คน (ร้อยละ 0.3) ส่วนผู้ตอบที่ไม่ระบุมีจานวน 82 คน (ร้อยละ 26.3)
ตารางที่ 3-11 จานวนและร้อยละของราคาโดยเฉลี่ย (ต่อชิ้น) ของเครื่องสาอางสมุนไพรที่เลือกใช้
หมวดทาความสะอาด
รายการ จานวน ร้อยละ
1. 200 บาท หรือต่ากว่า 164 52.6
2. 201-500 บาท 90 28.8
3. 501-1,000 บาท 31 9.9
4. 1,001-2,000 บาท 4 1.3
5. สูงกว่า 2000 บาท 1 0.3
ไม่ระบุ 22 7.1
รวม 312 100.0
จากตารางที่ 3-11 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรในหมวดทา
ความสะอาดราคาโดยเฉลี่ย (ต่อชิ้น) 200 บาท หรือต่ากว่า มากที่สุด จานวน 164 คน
(ร้อยละ 52.6) รองลงมา คือ 201-500 บาท จานวน 90 คน (ร้อยละ 28.8) และ น้อยที่สุด คือ สูง
กว่า 2000 บาท จานวน 1 คน (ร้อยละ 0.3) ส่วนผู้ตอบที่ไม่ระบุมีจานวน 22 คน (ร้อยละ 7.1)
ตารางที่ 3-12 จานวนและร้อยละของราคาโดยเฉลี่ย (ต่อชิ้น) ของเครื่องสาอางสมุนไพรที่เลือกใช้
หมวดดูแลเส้นผม (Haircare)
รายการ จานวน ร้อยละ
1. 200 บาท หรือต่ากว่า 121 38.8
2. 201-500 บาท 117 37.5
3. 501-1,000 บาท 24 7.7
4. 1,001-2,000 บาท 2 0.6
5. สูงกว่า 2000 บาท 1 0.3
ไม่ระบุ 47 15.1
11
รายการ จานวน ร้อยละ
รวม 312 100.0
จากตารางที่ 3-12 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรในหมวดดูแล
เส้นผม (Haircare) ราคาโดยเฉลี่ย (ต่อชิ้น) 200 บาท หรือต่ากว่า มากที่สุด จานวน 121
คน (ร้อยละ 38.8) รองลงมา คือ 201-500 บาท จานวน 117 คน (ร้อยละ 37.5) และ น้อยที่สุด
คือ สูงกว่า 2000 บาท จานวน 1 คน (ร้อยละ 0.3) ส่วนผู้ตอบที่ไม่ระบุมีจานวน 47 คน (ร้อยละ
15.1)
ตารางที่ 3-13 จานวนและร้อยละของยี่ห้อเครื่องสาอางสมุนไพรที่เคยใช้ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
รายการ จานวน ร้อยละ
1. อภัยภูเบศร 109 34.9
2. กนก 20 6.4
3. เคอร์มินท์ (องค์การเภสัช) 28 9.0
4. โอเรียนทอล พริ้นเซส 127 40.7
5. สไบนาง 17 5.4
6. นิ่มพร 15 4.8
7. ดอกบัวคู่ 218 69.9
8. สุภาภรณ์ 80 25.6
9. ใบว่าน 11 3.5
10. อื่นๆ เช่น body shop, herbal, home made, panaran, red
earth, ก็กเลี้ยง, แกรนมัม, จาเป่ า, ดอลบาเด้น, ดาร์ลี่,
เดนทิสเต้, ธันยพรสมุนไพร, นกแก้ว, บ้านราช, ภูมิ
พฤกษา, แม่เลียบ, สุภามาส, ปางแก้ว, เบนเนท, ปัญจ
ศ,รี แม่พระยา, มาดามเฮง, เพียวเฮิร์บ, วังพรหม, สบู่ตา
ราเจดีย์, ไหมทอง, อิงอร ,อุทัยทพิย์ เป็นต้น
40 12.8
จากตารางที่ 3-13 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเคยใช้เครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อ
ดอกบัวคู่ มากที่สุด จานวน 218 คน (ร้อยละ 69.9) รองลงมา คือ โอเรียนทอล พริ้นเซส
จานวน 127 คน (ร้อยละ 40.7) และ น้อยที่สุด คือ ใบว่าน จานวน 11คน (ร้อยละ 3.5)
12
ตารางที่ 3-14 จานวนและร้อยละของยี่ห้อเครื่องสาอางสมุนไพรที่ชอบมากที่สุด
รายการ จานวน ร้อยละ
1. อภัยภูเบศร 45 14.4
2. กนก 7 2.2
3. เคอร์มินท์ (องค์การเภสัช) 8 2.6
4. โอเรียนทอล พริ้นเซส 73 23.4
5. สไบนาง 2 0.6
6. นิ่มพร 4 1.3
7. ดอกบัวคู่ 88 28.2
8. สุภาภรณ์ 25 8.0
9. ใบว่าน 4 1.3
10. อื่นๆ เช่น body shop, panaran, red earth, แกรนมัม,
จาเป่า, บัวหิมะ, นกแก้ว, บ้านราช, ภูมิพฤกษา, , เบน
เนท, ปัญจศ,รี แม่พระยา, มาดามเฮง, วังพรหม,
อุทัยทพิย์ เป็นต้น
26 8.3
ไม่ระบุ 30 9.6
รวม 312 100.0
จากตารางที่ 3-14 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามชอบใช้เครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อ
ดอกบัวคู่ มากที่สุด จานวน 88 คน (ร้อยละ 28.2) รองลงมา คือ โอเรียนทอล พริ้นเซส
จานวน 73 คน (ร้อยละ 23.4) และ น้อยที่สุด คือ สไบนาง จานวน 2 คน (ร้อยละ 0.6) ส่วนผู้ที่ไม่
ระบุ จานวน 30 คน (ร้อยละ 9.6)
13
ตารางที่ 3-15 จานวนและร้อยละของเหตุผลที่ทาให้เลือกใช้เครื่องสาอางสมุนไพรที่ชอบมากที่สุด
(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
รายการ จานวน ร้อยละ
1. ราคาไม่แพง สามารถจ่ายได้ 208 66.7
2. คุณภาพดี ใช้แล้วเห็นผล 200 64.1
3. มีโฆษณาทาให้น่าเชื่อถือ 44 14.1
4. รูปทรง แพ็คเก็จสวยดึงดูด 47 15.1
5. หมดแล้ว หาซื้อได้ง่าย 103 33.0
6. มีระบบสมาชิก ได้รับสิทธิพิเศษ 22 7.1
7. มีพนักงานให้คาแนะนาผลิตภัณฑ์ 26 8.3
8. อื่นๆ เช่น คนรู้จักแนะนา, ครอบครัว/คนรู้จักซื้อมาให้
ใช้, คิดว่าสมุนไพรมีประโยชน์, ใช้มานานแล้ว, เป็ น
ขององค์การเภสัช เป็นต้น
12 3.8
จากตารางที่ 3-15 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นว่าราคาไม่แพง สามารถจ่ายได้เป็น
เหตุผลที่ทาให้เลือกใช้เครื่องสาอางสมุนไพรมากที่สุด จานวน 208 คน (ร้อยละ 66.7)
รองลงมา คือ คุณภาพดี ใช้แล้วเห็นผล จานวน 200 คน (ร้อยละ 23.4) และ น้อยที่สุด คือ
อื่นๆ เช่น คนรู้จักแนะนา, ครอบครัว/คนรู้จักซื้อมาให้ใช้, คิดว่าสมุนไพรมีประโยชน์, ใช้มานานแล้ว
, เป็นขององค์การเภสัช เป็นต้น จานวน 12 คน (ร้อยละ 3.8)
ตารางที่ 3-16 จานวนและร้อยละของปัญหาที่ประสบบ่อยที่สุดจากการเครื่องสาอางสมุนไพร
รายการ จานวน ร้อยละ
1. ซึมซาบเข้าสู่ผิวช้า เหนียวเหนอะหนะ 106 34.0
2. ไม่ชอบกลิ่น/กลิ่นแรง/เหม็น 93 29.8
3. ใช้ไม่ได้ผล ไม่รู้สึกว่าผิวดีขึ้น 40 12.8
4. เนื้อสมุนไพรเสื่อมสภาพ เกาะเป็นก้อน 15 4.8
5. บรรจุภัณฑ์ที่ใช้ไม่สะดวก ชารุดง่าย 12 3.8
6. เกิดอาการแพ้ 25 8.0
7. อื่นๆ เช่น ต้องใช้นานจึงจะเห็นผล, ใช้แล้วหน้าแห้ง, ทา 12 3.8
14
รายการ จานวน ร้อยละ
ช่วงแรกหอม แต่หลังจากทาไปสักพักกลิ่นเปลี่ยน เป็นต้น
ไม่ระบุ 9 2.9
รวม 312 100.0
จากตารางที่ 3-16 ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นว่าซึมซาบเข้าสู่ผิวช้า เหนียวเหนอะหนะ
เป็นปัญหาที่ประสบบ่อยที่สุดจากการเครื่องสาอางสมุนไพรมากที่สุด จานวน 106 คน
(ร้อยละ 34.0) รองลงมา คือ ไม่ชอบกลิ่น/กลิ่นแรง/เหม็น จานวน 93 คน (ร้อยละ 29.8)
และ น้อยที่สุด คือ อื่นๆ ไม่ชอบกลิ่น, ใช้ไมได้ผล/ต้องใช้นานจึงจะเห็นผล, ใช้แล้วหน้าแห้ง, เนื้อ
เป็นก้อน, ทาช่วงแรกหอม แต่หลังจากทาไปสักพักกลิ่นเปลี่ยน เป็นต้น จานวน 12 คน (ร้อยละ
3.8) ส่วนผู้ที่ไม่ระบุ จานวน 9 คน (ร้อยละ 2.9)
ตารางที่ 3-17 จานวนและร้อยละของส่วนผสมหลักในเครื่องสาอางสมุนไพรที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
หมวดน้ามันสกัด (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
รายการ จานวน ร้อยละ
1. น้ามันมะพร้าว 130 41.7
2. น้ามันมะกอก 154 49.4
3. น้ามันราข้าว 86 27.6
4. น้ามันอัลมอนต์ 28 9.0
5. น้ามันทับทิม 19 6.1
6. น้ามันงา 50 16.0
7. อื่นๆ เช่น น้ามันมะรุม 5 1.6
จากตารางที่ 3-17 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นว่าน้ามันมะกอกเป็นส่วนผสมหลัก
ในเครื่องสาอางสมุนไพรที่ใช้อยู่ในปัจจุบันในหมวดน้ามันสกัด มากที่สุด จานวน 154คน
(ร้อยละ 49.4) รองลงมา คือ น้ามันมะพร้าว จานวน 130 คน (ร้อยละ 41.7) และ น้อยที่สุด
คือ อื่นๆ เช่น น้ามันมะรุม จานวน 5 คน (ร้อยละ 1.6)
15
ตารางที่ 3-18 จานวนและร้อยละของส่วนผสมหลักในเครื่องสาอางสมุนไพรที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
หมวดสมุนไพร (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
รายการ จานวน ร้อยละ
1. มะกรูด 132 42.3
2. ใบย่านาง 9 2.9
3. ขมิ้น 176 56.4
4. ดอกดาวเรือง 5 1.6
5. รากสามสิบ 3 1.0
6. ว่านหางจระเข้ 131 42.0
7. ว่านหอม 11 3.5
8. ส้ม มะนาว สับปะรด 45 14.4
9. ถั่วเขียว 8 2.6
10. ทานาคา 31 9.9
11. เฮนน่า 11 3.5
12. โสม 35 11.2
13. แตงกวา 110 35.3
14. มะหาด 34 10.9
15. มะขามป้ อม 64 20.5
16. มะขามเปียก 108 34.6
17. มะเฟือง 12 3.8
18. อื่นๆ เช่น แครอท, มะละกอ, อัญชัน, บัวหิมะ, ไพล,
เปบเบอร์มินท์ เป้ นต้น
13 4.2
จากตารางที่ 3-18 พบว่า พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นว่าขมิ้นเป็นส่วนผสมหลักใน
เครื่องสาอางสมุนไพรที่ใช้อยู่ในปัจจุบันในหมวดสมุนไพรมากที่สุด จานวน 176 คน (ร้อย
ละ 56.4) รองลงมา คือ มะกรูด จานวน 132 คน (ร้อยละ 42.3) และ น้อยที่สุด คือ มะเฟือง
จานวน 12 คน (ร้อยละ 3.8)
16
ตารางที่ 3-19 จานวนและร้อยละของแหล่งในการเลือกซื้อเครื่องสาอางสมุนไพร
รายการ จานวน ร้อยละ
1. ร้านขายเครื่องสาอาง ร้านค้าปลีกต่างๆ เช่น วัตสัน บู๊ทส์ 95 30.4
2. ร้านสุขภาพ เช่น ดอยคา เลมอนฟาร์ม 22 7.1
3. ซื้อจากระบบขายตรง เช่น เอวอน กิฟฟารีน 14 4.5
4. แหล่งตลาดนัด เช่น ตลาดหลังการบินไทย ตลาดห้วย
ขวาง
8 2.6
5. คลินิกเสริมความงาม แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาล 7 2.2
6. ในห้างสรรพสินค้า 113 36.2
7. ร้านสะดวกซื้อ เช่น 7-11 37 11.9
8. สั่งซื้อบนอินเตอร์เน็ต 5 1.6
9. ร้านขายยา เช่น Save Drug 6 1.9
10. อื่นๆ เช่น ร้านขายของชา 3 1.0
ไม่ระบุ 2 0.6
รวม 312 100.0
จากตารางที่ 3-19 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรจาก
ห้างสรรพสินค้ามากที่สุด จานวน 113 คน (ร้อยละ 36.2) รองลงมา คือ ร้านขาย
เครื่องสาอาง ร้านค้าปลีกต่างๆ เช่น วัตสัน บู๊ทส์ จานวน 95 คน (ร้อยละ 30.4) และ น้อย
ที่สุด คือ อื่นๆ เช่น ร้านขายของชา จานวน 3 คน (ร้อยละ 1.0) ส่วนผู้ที่ไม่ระบุ จานวน 2 คน (ร้อย
ละ 0.6)
ตารางที่ 3-20 จานวนและร้อยละคุณสมบัติที่สาคัญในการเลือกซื้อเครื่องสาอางสมุนไพร
รายการ จานวน ร้อยละ
1. ช่วยลดปัญหาเรื่องสิว ฝ้ า กระ 117 37.5
2. ชะลอการเกิดริ้วรอยก่อนวัย 52 16.7
3. หน้าใส ปรับสภาพทาให้ผิวขาว 58 18.6
4. ลดความมัน กระชับรูขุมขน 25 8.0
5. ลดความหมองคล้า ลดจุดด่างดา 42 13.5
17
รายการ จานวน ร้อยละ
6. เพิ่มความชุ่มชื้น คงความยืดหยุ่น 16 5.1
ไม่ระบุ 2 0.6
รวม 312 100.0
จากตารางที่ 3-20 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นว่าคุณสมบัติที่สาคัญในการเลือกซื้อ
เครื่องสาอางสมุนไพรมากที่สุด คือ ช่วยลดปัญหาเรื่องสิว ฝ้ า กระ จานวน 117 คน (ร้อยละ
37.5) รองลงมา คือ หน้าใส ปรับสภาพทาให้ผิวขาว จานวน 58 คน (ร้อยละ 18.6) และ
น้อยที่สุด คือ เพิ่มความชุ่มชื้น คงความยืดหยุ่น จานวน 16 คน (ร้อยละ 5.1) ส่วนผู้ที่ไม่ระบุ
จานวน 2 คน (ร้อยละ 0.6)
ตารางที่ 3-21 จานวนและร้อยละแหล่งในการเลือกซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อใหม่ ๆ
รายการ จานวน ร้อยละ
1. สื่อโฆษณาทั่วไป เช่น ทีวี นิตยสาร 180 57.7
2. สื่ออินเตอร์เน็ต 35 11.2
3. บุคคลรอบข้าง เช่น พ่อ/แม่ เพื่อน แฟน 55 17.6
4. ละคร รายการต่างๆ 3 1.0
5. ร้านขายเครื่องสาอางสมุนไพร 35 11.2
6. อื่นๆ เช่น งานแสดงสินค้า, ตามร้านค้าต่าง ๆ 3 1.0
ไม่ระบุ 1 0.3
รวม 312 100.0
จากตารางที่ 3-21 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นว่าสื่อโฆษณาทั่วไป เช่น ทีวี
นิตยสาร เป็นแหล่งในการเลือกซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อใหม่ ๆ มากที่สุด จานวน
180 คน (ร้อยละ 57.7) รองลงมา คือ บุคคลรอบข้าง เช่น พ่อ/แม่ เพื่อน แฟน จานวน 55
คน (ร้อยละ 17.6) และ น้อยที่สุด คือ ละคร รายการต่างๆ และอื่นๆ เช่น งานแสดงสินค้า, ตาม
ร้านค้าต่าง ๆ จานวน 3 คน (ร้อยละ 1.0) เท่ากัน ส่วนผู้ที่ไม่ระบุ จานวน 1 คน (ร้อยละ 0.3)
18
ตารางที่ 3-22 จานวนและร้อยละของการตัดสินใจเลือกซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อใหม่ ๆ
รายการ จานวน ร้อยละ
1. ได้รับการรับรองจากหน่วยงานของรัฐ เช่น อย. หรือ กรม
ส่งเสริมอุตสาหกรรม
177 56.7
2. ผ่านการทดสอบความปลอดภัยแล้วไม่ก่อให้เกิดการระคาย
เคือง
58 18.6
3. มี Tester ให้ทดลอง ทาให้ได้สัมผัสเนื้อผลิตภัณฑ์ 37 11.9
4. มีพนักงานมาสาธิตและให้คาแนะนาผลิตภัณฑ์ 17 5.4
5. มีการโฆษณาโดยใช้สื่อต่างๆ มีดาราเป็นพรีเซนเตอร์ 5 1.6
6. วางขายอยู่ในร้านที่น่าเชื่อถือ มีชื่อเสียง 8 2.6
7. มีข้อมูลส่วนผสมอธิบายสรรพคุณชัดเจนบนฉลาก/ในโบรชัวส์ 8 2.6
8. มีแหล่งผลิต หรือ ประเทศผู้ผลิตที่โด่งดังในด้านนี้ 2 0.6
รวม 312 100.0
จากตารางที่ 3-22 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นว่าเครื่องสาอางสมุนไพรที่ได้รับรอง
จากหน่วยงานของรัฐ เช่น อย. หรือ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เป็ นเหตุผลในการ
ตัดสินใจเลือกซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อใหม่ ๆ มากที่สุด จานวน 177 คน (ร้อยละ
56.7) รองลงมา คือ ผ่านการทดสอบความปลอดภัยแล้วไม่ก่อให้เกิดการระคายเคือง
จานวน 58 คน (ร้อยละ 18.6) สิ่งที่ช่วยในการตัดสินใจอันดับสามคือการมีสินค้าทดลอง
ณ จุดขาย มีผู้ตอบจานวน 37 คน (ร้อยละ 11.9) และ น้อยที่สุด คือ มีแหล่งผลิต หรือ มา
ประเทศผู้ผลิตที่โด่งดังในด้านนี้จานวน 2 คน (ร้อยละ 0.6)
19
ภาพรวมพฤติกรรมโดยสรุป
ลักษณะของกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถาม
จากผู้ตอบแบบสอบถาม 312 คน ส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ 18-35 ปี 3 ใน 4 ของ
ผู้ตอบเป็นผู้หญิง มีเพศที่สาม 6 คน เป็นคนโสด ยังเป็นนักเรียนและนักศึกษา
การศึกษาจึงอยู่ในระดับมัธยมและปริญญาตรี รายได้ไม่เกิน 10,000 บาท ภูมิลาเนา
เป็นคนภาคกลางและภาคอีสานเป็นส่วนใหญ่
พฤติกรรมการใช้สินค้าสมุนไพรที่เด่นๆคือ การใช้
1.ครีมทาผิวกาย
2. ลิปบาล์ม
3.ยาสีฟัน
4.ยาสระผม
โดยซึ้อเครื่องสาอางหมวดทาความสะอาดบ่อยที่สุดคือ ซื้อทุกเดือน ส่วนหมวด
ดูแลผิวพรรณและเส้นผมจะซื้อ 1-2 เดือน/ครั้ง หมวดแต่งหน้าเป็นหมวดที่ไม่ค่อยได้ซื้อคือ
ประมาณ 3 เดือน/ครั้ง หรือนานกว่านั้น โดยราคาที่จ่ายต่อชิ้นในหมวดดูแลผิวพรรณ จะ
สูงกว่าหมวดอื่นคือ ระหว่าง 200-500 บาท ในขณะที่หมวดอื่นจะจ่ายไม่เกิน 200 บาท/
ชิ้น
สมุนไพรที่นิยมใช้ 4 อันดับแรก คือ ขมิ้น มะกรูด ว่านหางจระเข้ แตงกวา
น้ามันสกัดที่นิยมใช้ 4 อันดับแรก คือ น้ามันมะกอก น้ามันมะพร้าว น้ามันราข้าว น้ามันงา
แบรนด์ที่ชอบ และคุ้นเคย 4 อันดับแรก คือ
ดอกบัวคู่ โอเรียนทอล พริ้นเซส อภัยภูเบศร สุภาภรณ์
เหตุผลที่ชอบ คือ 1.ราคาไม่แพงสามารถจ่ายได้
2.คุณภาพดีใช้แล้วเห็นผล
3.หมดแล้วหาซื้อง่าย
ปัญหาที่ประสบบ่อยๆจากการใช้เครื่องสาอางสมุนไพร
1.ซีมซาบสู่ใต้ผิวช้า เหนียวเหนอะหนะ
2.กลิ่นไม่ดี แรงเกินไป ไม่หอม
3.ใช้ไม่ค่อยได้ผล ไม่มีประสิทธิภาพ
20
ภาพรวมพฤติกรรมโดยสรุป(ต่อ)
สถานที่ซื้อเครื่องสาอางสมุนไพร 4 อันดับแรก
1.ห้างสรรพสินค้า
2.ร้านขายเครื่องสาอาง ร้านค้าปลีกในห้าง เช่น วัตสัน บู๊ทส์
3.ร้านสะดวกซื้อ เช่น 7-11
4.ร้านสุขภาพ เช่น ดอยคา
คุณสมบัติสาคัญในการเลือกใช้เครื่องสาอางสมุนไพร
1.ลดปัญหาสิว ฝ้ า
2.หน้าใส ทาให้ผิวขาว
3.ชะลอริ้วรอยก่อนวัย
4.ลดความหมองคล้า จุดด่างดา
สื่อโฆษณาที่รับข่าวสารเครื่องสาอางใหม่ๆสมุนไพร
1.ทีวี นิตยสาร
2.บุคคลรอบข้าง เพื่อน แฟน พ่อ/แม่
3.อินเทอร์เน็ต
4.ร้านขายเครื่องสาอาง
เกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินใจเลือกใช้เครื่องสาอางสมุนไพรใดๆคือ
1. ได้รับการรับรองจากหน่วยงานของรัฐ เช่น อย. หรือ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
2. ผ่านการทดสอบความปลอดภัยแล้วไม่ก่อให้เกิดการระคายเคือง
3. มี Tester ให้ทดลอง ทาให้ได้สัมผัสเนื้อผลิตภัณฑ์
4. มีพนักงานมาสาธิตและให้คาแนะนาผลิตภัณฑ์
21
ผลวิจัย
พฤติกรรมการใช้
ความนิยมในครื่อง
สาอางสมุนไพร
แยกกลุ่มอายุ
22
23
24
สรุปการใช้ผลิตภัณฑ์สมุนไพร ณ ปัจจุบัน
แบ่งออกเป็น 4 หมวด คือ หมวดผิวพรรณ หมวดแต่งหน้า หมวดทาความสะอาด หมวดูแลเส้นผม
กลุ่มอายุ 12-17 ปี
หมวดผิวพรรณ ใช้ครีมกันแดดมากที่สุด 37.5% รองลงมาคือครีมบารุงผิวกลางวัน
18.8% และน้อยที่สุดคือ 6.3% เท่ากันคือ ครีมบารุงผิวกลางคือ ครีมรักษาฝ้ า และ ครีม
ทาบารุงผิวกาย
หมวดแต่งหน้า ใช้ลิปบาล์มมากที่สุด 43.8% รองลงมาคือลิปสติกสี 12.5% และน้อย
ที่สุดคือ 6.3% แป้ งพัฟ
หมวดทาความสะอาด ใช้โฟมล้างหน้ามากที่สุด 50.0% รองลงมาคือยาสีฟัน 31.3% และ
น้อยที่สุดคือ ครีมขัด/พอกผิว 6.3%
หมวดดูแลเส้นผม (Haircare) ใช้ยาสระผม และครีมนวดผมมากที่สุด 50.0% เท่ากัน
รองลงมาคือไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้12.5% และน้อยที่สุดคือ โลชั่นบารุงผม 6.3%
กลุ่มอายุ 18 – 23 ปี
หมวดผิวพรรณ 33.0% เท่ากัน ใช้ครีมกันแดด และครีมทาบารุงผิวกายมากที่สุด
รองลงมาคือครีมบารุงผิวกลางวัน 27.3% และน้อยที่สุดคือ 11.4% ครีมบารุงผิวกลางคืน
หมวดแต่งหน้า ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้มากที่สุด 46.6% รองลงมาคือลิปบาล์ม
38.6% และน้อยที่สุดคือ 12.5% ลิปสติกสี
หมวดทาความสะอาด ใช้สบู่อาบน้ามากที่สุด 53.4% รองลงมาคือโฟมล้างหน้า
48.9% และน้อยที่สุดคือ ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้9.1%
หมวดดูแลเส้นผม (Haircare) ใช้ยาสระผมมากที่สุด 56.8% รองลงมาคือครีมนวดผม
35.2% และน้อยที่สุดคือ ยาโกรกเปลี่ยนสีผม 6.8%
กลุ่มอายุ 24 – 35 ปี
หมวดผิวพรรณ ใช้ครีมทาบารุงผิวกายมากที่สุด 47.8% รองลงมาคือครีมกันแดด
27.8% และน้อยที่สุดคือ 15.6% ครีมบารุงผิวกลางคืน
หมวดแต่งหน้า ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้มากที่สุด 58.9% รองลงมาคือลิปบาล์ม
38.6% และน้อยที่สุดคือ 12.5% ลิปสติกสี
หมวดทาความสะอาด ใช้ยาสีฟันมากที่สุด 53.3% รองลงมาคือสบู่อาบน้า43.3% และ
น้อยที่สุดคือ ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้6.7%
25
หมวดดูแลเส้นผม (Haircare) ใช้ยาสระผมมากที่สุด 46.7% รองลงมาคือไม่มีการใช้
สมุนไพรในหมวดนี้37.8% และน้อยที่สุดคือ ยาโกรกเปลี่ยนสีผม 10.0%
กลุ่มอายุ 36 – 47 ปี
หมวดผิวพรรณ ใช้ครีมทาบารุงผิวกายมากที่สุด 39.4% รองลงมาคือครีมบารุงผิว
กลางวัน 27.3% และน้อยที่สุดคือ 16.7% ครีมกันแดด
หมวดแต่งหน้า ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้มากที่สุด 48.5% รองลงมาคือลิปบาล์ม
24.2% และน้อยที่สุดคือ 10.6% ลิปสติกสี
หมวดทาความสะอาด ใช้ยาสีฟันมากที่สุด 59.1% รองลงมาคือสบู่อาบน้า 40.9% และ
น้อยที่สุดคือ ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้6.1%
หมวดดูแลเส้นผม (Haircare) ใช้ยาสระผมมากที่สุด 63.6% รองลงมาคือครีมนวดผม
37.9% และน้อยที่สุดคือ ยาโกรกเปลี่ยนสีผม 7.6%
กลุ่มอายุ 48 – 59 ปี
หมวดผิวพรรณ ใช้ครีมกันแดดมากที่สุด 35.6% รองลงมาคือครีมทาบารุงผิวกาย 31.1%
และน้อยที่สุดคือ 13.3% ครีมบารุงผิวกลางคืน
หมวดแต่งหน้า ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้มากที่สุด 60.0% รองลงมาคือลิปบาล์ม
17.8% และน้อยที่สุดคือ 11.1% ลิปสติกสี
หมวดทาความสะอาด ใช้สบู่อาบน้ามากที่สุด 55.6% รองลงมาคือยาสีฟัน 53.3% และ
น้อยที่สุดคือ ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้4.4%
หมวดดูแลเส้นผม (Haircare) ใช้ยาสระผมมากที่สุด 71.1% รองลงมาคือครีมนวดผม
35.6% และน้อยที่สุดคือ ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้8.9%
กลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป
หมวดผิวพรรณ ใช้ครีมทาบารุงผิวกายมากที่สุด 57.1% และไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวด
นี้42.9%
หมวดแต่งหน้า ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้มากที่สุด 71.4% และลิปบาล์ม 14.3%
หมวดทาความสะอาด ใช้ยาสีฟันมากที่สุด 71.4% รองลงมาคือสบู่อาบน้า 31.3% และ
น้อยที่สุดคือ ครีมขัด/พอกผิว 14.3%
หมวดดูแลเส้นผม (Haircare) ใช้ยาสระผมมากที่สุด 71.4% รองลงมาคือยาโกรกเปลี่ยนสี
ผม 42.9% และน้อยที่สุดคือ ครีมนวดผม และไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้ 14.3%
เท่ากัน
26
สรุปยี่ห้อเครื่องสาอางสมุนไพรที่คุ้นเคยและชอบพร้อมเหตุผล
มี 9 ยี่ห้อเครื่องสาอางสมุนไพรให้เลือกพร้อมอธิบายเหตุผลและปัญหาในการใช้
กลุ่มอายุ 12-17 ปี
เคยใช้เครื่องสาอางยี่ห้อดอกบัวคู่ 50.0% และ12.5% เท่ากัน ชื่นชอบเครื่องสาอางยี่ห้ออภัย
ภูเบศร, โอเรียนทอล พริ้นเซส, ดอกบัวคู่และใบว่าน
มีเหตุผลที่ชอบมากที่สุด คือ คุณภาพดี ใช้แล้วเห็นผล 75.0% และ43.8% มีปัญหาที่พบบ่อย
ที่สุด คือ ซึมซาบเข้าสู่ผิวช้า เหนียวเหนอะหนะ
กลุ่มอายุ 18 – 23 ปี
เคยใช้เครื่องสาอางยี่ห้อดอกบัวคู่ 61.4% และ31.8% ชื่นชอบเครื่องสาอางยี่ห้อโอเรียนทอล
พริ้นเซส
มีเหตุผลที่ชอบมากที่สุด คือ คุณภาพดี ใช้แล้วเห็นผล 69.3% และ38.6% มีปัญหาที่พบบ่อย
ที่สุด คือ ซึมซาบเข้าสู่ผิวช้า เหนียวเหนอะหนะ
กลุ่มอายุ 24 – 35 ปี
เคยใช้เครื่องสาอางยี่ห้อดอกบัวคู่ 72.2% และ35.6% ชื่นชอบเครื่องสาอางยี่ห้อดอกบัวคู่
มีเหตุผลที่ชอบมากที่สุด คือ ราคาไม่แพง สามารถจ่ายได้ 71.1% และ34.4% มีปัญหาที่พบ
บ่อยที่สุด คือ ซึมซาบเข้าสู่ผิวช้า เหนียวเหนอะหนะ
กลุ่มอายุ 36 – 47 ปี
เคยใช้เครื่องสาอางยี่ห้อดอกบัวคู่ 74.24% และ28.8% ชื่นชอบเครื่องสาอางยี่ห้อดอกบัวคู่
มีเหตุผลที่ชอบมากที่สุด คือ ราคาไม่แพง สามารถจ่ายได้ 78.8% และ28.8% เท่ากัน มีปัญหาที่
พบบ่อยที่สุด คือ ซึมซาบเข้าสู่ผิวช้า เหนียวเหนอะหนะ และไม่ชอบกลิ่น/กลิ่นแรง/เหม็น
กลุ่มอายุ 48 – 59 ปี
เคยใช้เครื่องสาอางยี่ห้อดอกบัวคู่ 77.8% และ24.4% ชื่นชอบเครื่องสาอางยี่ห้อดอกบัวคู่
มีเหตุผลที่ชอบมากที่สุด คือ คุณภาพดี ใช้แล้วเห็นผล 75.6% และ33.3% เท่ากัน มีปัญหาที่พบ
บ่อยที่สุด คือ ซึมซาบเข้าสู่ผิวช้า เหนียวเหนอะหนะ และไม่ชอบกลิ่น/กลิ่นแรง/เหม็น
กลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป
เคยใช้เครื่องสาอางยี่ห้อดอกบัวคู่ 100.0% และ42.9% ชื่นชอบเครื่องสาอางยี่ห้อดอกบัวคู่
มีเหตุผลที่ชอบมากที่สุด คือ คุณภาพดี ใช้แล้วเห็นผล 71.4% และ42.9% มีปัญหาที่พบบ่อย
ที่สุด คือ ไม่ชอบกลิ่น/กลิ่นแรง/เหม็น
27
สรุปแหล่งในการเลือกซื้อและ
การรับรู้เครื่องสาอางสมุนไพรใหม่ๆ
สถานที่ซื้อและการรับรู้ข่าวสารสมุนไพรพร้อมอธิบายเหตุผล
กลุ่มอายุ 12-17 ปี
สถานที่ซื้อ เครื่องสาอางสมุนไพรจากร้านขายเครื่องสาอาง ร้านค้าปลีกต่าง ๆ เช่น วัตสัน บู๊ทส์
มากที่สุด 50.0%
การรับรู้สมุนไพรใหม่ๆ กลุ่มนี้รับรู้จากสื่อโฆษณาทั่วไป เช่น ทีวี นิตยสาร เป็นแหล่งในการเลือก
ซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อใหม่ ๆ มากที่สุด 50.0%
เหตุผลในการตัดสินใจเลือกซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อใหม่ ๆ 68.8% เห็นว่าเครื่องสาอาง
สมุนไพรนั้นได้รับรองจากหน่วยงานของรัฐ เช่น อย. หรือ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เป็นต้น
กลุ่มอายุ 18 – 23 ปี
สถานที่ซื้อ ซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรจากห้างสรรพสินค้ามากที่สุด 34.1%
การรับรู้สมุนไพรใหม่ๆ กลุ่มนี้รับรู้จากสื่อโฆษณาทั่วไป เช่น ทีวี นิตยสาร เป็นแหล่งในการเลือก
ซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อใหม่ ๆ 62.5%
เหตุผลในการตัดสินใจเลือกซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อใหม่ ๆ 45.5% เห็นว่า เครื่องสาอาง
สมุนไพรนั้นได้รับรองจากหน่วยงานของรัฐ เช่น อย. หรือ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เป็นต้น
กลุ่มอายุ 24 – 35 ปี
สถานที่ซื้อ ซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรจากห้างสรรพสินค้ามากที่สุด 34.4%
การรับรู้สมุนไพรใหม่ๆ กลุ่มนี้รับรู้จากสื่อโฆษณาทั่วไป เช่น ทีวี นิตยสาร เป็นแหล่งในการเลือก
ซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อใหม่ ๆ 62.2%
เหตุผลในการตัดสินใจเลือกซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อใหม่ ๆ 64.4% เห็นว่า เครื่องสาอาง
สมุนไพรนั้นได้รับรองจากหน่วยงานของรัฐ เช่น อย. หรือ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เป็นต้น
กลุ่มอายุ 36 – 47 ปี
สถานที่ซื้อ ซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรจากห้างสรรพสินค้ามากที่สุด 40.9%
การรับรู้สมุนไพรใหม่ๆ กลุ่มนี้รับรู้จากสื่อโฆษณาทั่วไป เช่น ทีวี นิตยสาร เป็นแหล่งในการเลือก
ซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อใหม่ ๆ 50.0%
เหตุผลในการตัดสินใจเลือกซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อใหม่ ๆ 57.6% เห็นว่า เครื่องสาอาง
สมุนไพรนั้นได้รับรองจากหน่วยงานของรัฐ เช่น อย. หรือ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เป็นต้น
28
กลุ่มอายุ 48 – 59 ปี
สถานที่ซื้อ ซื้อเครื่องสาอางสมุนไพร57.6% จากห้างสรรพสินค้ามากที่สุด 35.6%
การรับรู้สมุนไพรใหม่ๆ กลุ่มนี้รับรู้จากสื่อโฆษณาทั่วไป เช่น ทีวี นิตยสาร เป็นแหล่งในการเลือก
ซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อใหม่ ๆ 53.3%
เหตุผลในการตัดสินใจเลือกซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อใหม่ ๆ 57.8% เห็นว่า เครื่องสาอาง
สมุนไพรนั้นได้รับรองจากหน่วยงานของรัฐ เช่น อย. หรือ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เป็นต้น
กลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป
สถานที่ซื้อ ซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรจากร้านขายเครื่องสาอาง ร้านค้าปลีกต่าง ๆ เช่น วัตสัน
บู๊ทส์ และ ห้างสรรพสินค้า 28.6% เท่ากัน
การรับรู้สมุนไพรใหม่ๆ กลุ่มนี้รับรู้จากสื่อโฆษณาทั่วไป เช่น ทีวี นิตยสาร เป็นแหล่งในการเลือก
ซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อใหม่ ๆ 57.1%
เหตุผลในการตัดสินใจเลือกซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อใหม่ ๆ 57.1% เห็นว่า เครื่องสาอาง
สมุนไพรนั้นได้รับรองจากหน่วยงานของรัฐ เช่น อย. หรือ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เป็นต้น

More Related Content

More from dewberry

โอกาสทางการตลาดของธุรกิจอาหารแปรรูปตามเส้นทางการค้าห้าเชียง#3
โอกาสทางการตลาดของธุรกิจอาหารแปรรูปตามเส้นทางการค้าห้าเชียง#3โอกาสทางการตลาดของธุรกิจอาหารแปรรูปตามเส้นทางการค้าห้าเชียง#3
โอกาสทางการตลาดของธุรกิจอาหารแปรรูปตามเส้นทางการค้าห้าเชียง#3dewberry
 
โอกาสทางการตลาดของธุรกิจอาหารแปรรูปตามเส้นทางการค้าเมืองห้าเชียง#2
โอกาสทางการตลาดของธุรกิจอาหารแปรรูปตามเส้นทางการค้าเมืองห้าเชียง#2โอกาสทางการตลาดของธุรกิจอาหารแปรรูปตามเส้นทางการค้าเมืองห้าเชียง#2
โอกาสทางการตลาดของธุรกิจอาหารแปรรูปตามเส้นทางการค้าเมืองห้าเชียง#2dewberry
 
Business Model Canvas
Business Model CanvasBusiness Model Canvas
Business Model Canvasdewberry
 
Managing franchise branding
Managing franchise brandingManaging franchise branding
Managing franchise brandingdewberry
 
Foodinnovationstd 141102084347-conversion-gate01
Foodinnovationstd 141102084347-conversion-gate01Foodinnovationstd 141102084347-conversion-gate01
Foodinnovationstd 141102084347-conversion-gate01dewberry
 

More from dewberry (6)

โอกาสทางการตลาดของธุรกิจอาหารแปรรูปตามเส้นทางการค้าห้าเชียง#3
โอกาสทางการตลาดของธุรกิจอาหารแปรรูปตามเส้นทางการค้าห้าเชียง#3โอกาสทางการตลาดของธุรกิจอาหารแปรรูปตามเส้นทางการค้าห้าเชียง#3
โอกาสทางการตลาดของธุรกิจอาหารแปรรูปตามเส้นทางการค้าห้าเชียง#3
 
โอกาสทางการตลาดของธุรกิจอาหารแปรรูปตามเส้นทางการค้าเมืองห้าเชียง#2
โอกาสทางการตลาดของธุรกิจอาหารแปรรูปตามเส้นทางการค้าเมืองห้าเชียง#2โอกาสทางการตลาดของธุรกิจอาหารแปรรูปตามเส้นทางการค้าเมืองห้าเชียง#2
โอกาสทางการตลาดของธุรกิจอาหารแปรรูปตามเส้นทางการค้าเมืองห้าเชียง#2
 
Business Model Canvas
Business Model CanvasBusiness Model Canvas
Business Model Canvas
 
Managing franchise branding
Managing franchise brandingManaging franchise branding
Managing franchise branding
 
Foodinnovationstd 141102084347-conversion-gate01
Foodinnovationstd 141102084347-conversion-gate01Foodinnovationstd 141102084347-conversion-gate01
Foodinnovationstd 141102084347-conversion-gate01
 
Bmc std
Bmc stdBmc std
Bmc std
 

สรุปผลวิจัยการใช้เครื่องสำอางสมุนไพรไทย (Herbal Cosmetic Survey)

  • 2. 2 ตอนที่ 1: ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม รายได้ ผู้ตอบแบบสอบถามมีรายได้ต่อเดือนระหว่าง 5,000 – 10,000 บาท มากที่ สุดอันดับหนึ่ ง มีสัดส่ วน 35.58% อันดับสองคือ 10,001 – 25,000 บาท 23.71% อันดับสามคือ ต่ากว่า 5,000 บาท 21.47% ส่วน ของผู้ตอบแบบสอบถามที่มีน้อยที่สุด คือ 60,001 - 80,000 มีสัดส่วน 0.64% และมีตอบแบบสอบถามไม่ระบุรายได้ต่อ เดือน 1.28% สถานภาพ ผู้ตอบแบบสอบถามมีสถานภาพโสดมากที่สุด อันดับหนึ่ง มีสัดส่วน 51.28% อันดับสองคือ ไม่ โสด 44.55% อายุ ผู้ตอบแบบสอบถาม 57.06% เป็นผู้ที่อยู่ในช่วงอายุ 18- 35 ปี โดยอายุของผู้ตอบแบบสอบถามนี้ มากที่สุด อันดั บห นึ่ งคือ ช่ ว งอ ายุ 18 -23 ปี มี สัด ส่ ว น 28.21% อันดับสองคือ อายุ 30-35 ปี 16.03% อันดับสาม การศึกษา ผู้ตอบแบบสอบถามมีการศึกษาระดับมัธยมศึกษา หรือต่ากว่ามากที่สุดอันดับหนึ่ง มีสัดส่วน 38.46 อันดับสองคือ ปริญญาตรี 35.90% อันดับสาม คือ ปวช. หรือ ปวส. 19.23% ผู้ตอบแบบสอบถามที่มี 21.47% 35.58%23.72% 9.94% 4.81% 0.64% 1.60% 0.96%1.28% รายได้ต่อเดือน ต่ากว่า 5,000 บาท 5,000- 10,000 บาท 51.28 44.55 4.17 0.00 20.00 40.00 60.00 โสด ไม่โสด ไม่ระบุ สถานภาพ 5.13% 28.21% 12.82%16.03% 10.58% 10.58% 10.26% 4.17% 2.24% อายุ อายุ 12- 17 ปี อายุ 18- 23 ปี อายุ 24- 29 ปี 38.46% 19.23% 35.90% 5.77% 0.32% 0.32% การศึกษา มัธยมศึกษ า/ต่ากว่า ปวช. หรือ ปวส.
  • 3. 3 คือ อายุ 24-29 ปี 12.82% ผู้ที่อายุ 60 ปีขึ้นไป มีสัดส่วน 2.24% จัดว่ามีจานวนน้อยที่สุด น้อยที่สุด คือ การศึกษาสูงกว่าปริญญาโท และไม่ระบุ 0.32% เท่ากัน เพศ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็ นเพศหญิงมาก ที่สุดอันดับหนึ่ง มีสัดส่วน 77.56% อันดับสองคือ เพศชาย มีสัดส่วน 20.51% อันดับสามคือ เพศที่ 3 มี สัดส่วน 1.92% จากกลุ่มเพศที่ 3 ระบุเป็นกะเทยมากที่สุด อันดับหนึ่ง มีสัดส่วน 33.33% อันดับสองคือ เกย์ และทอม มีสัดส่วน 16.67% เท่ากัน อาชีพ ผู้ตอบแบบสอบถามเป็ นนักเรียน/นักศึกษามาก ที่สุดอันดับหนึ่ง มีสัดส่วน 30.45% อันดับสองคือ พนักงานบริษัท/องค์กรเอกชน 21.47% อันดับสามคือ ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว 19.23% ส่วนของผู้ ตอบ แบบสอบถามที่มีน้อยที่สุด คือ ผู้ที่กาลังว่างงาน มี สัดส่วน 0.32% กลุ่มอาชีพอื่น ๆ ของผู้ตอบแบบสอบถามประกอบ อาชีพแดนเซอร์มากที่สุดอันดับหนึ่ง มีสัดส่วน 36.84% อันดับสองคือ ทางานอิสระ 10.53% และมี ตอบแบบสอบถามไม่ระบุสถานะ 4.17% หญิง ชาย เพศที่ 3 77.56 20.51 1.92 เพศ 33.33 16.67 16.67 0.00 50.00 กะเทย เกย์ ทอม ระบุเพศที่ 3 30.45% 19.23%21.47% 15.71% 6.41% 0.32% 6.41% อาชีพ นักเรียน/นักศึกษา ค้าขาย/ธุรกิจ ส่วนตัว 5.26%5.26% 5.26% 5.26% 36.84 % 10.53 %5.26% 5.26% 5.26% 5.26%10.53 % ระบุอาชีพอื่น ๆ กรรมกร ก่อสร้าง
  • 4. 4 ภูมิภาค ผู้ตอบแบบสอบถามอาศัยอยู่ในภาคกลางมากที่สุดอันดับหนึ่ง มีสัดส่วน 43.27% อันดับสองคือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 25.96% อันดับสามคือ ภาคใต้ 16.35% ส่วนของผู้ตอบแบบสอบถามที่มีน้อยที่สุด คือ ภาคตะวันตก มีสัดส่วน 0.32% และมีตอบแบบสอบถามไม่ระบุภูมิภาค 0.64% จังหวัด ผู้ตอบแบบสอบถามมีภูมิลาเนาอยู่ในกรุงเทพมหานครมากที่สุดอันดับหนึ่ง มี สัดส่วน 22.45% อันดับสองคือ จังหวัดนครศรีธรรมราช 9.18% อันดับสามคือ จังหวัด นนทบุรี 7.14% ส่วนของผู้ตอบแบบสอบถามที่มีน้อยที่สุด คือ นครราชสีมา มีสัดส่วน 2.04% และมีตอบแบบสอบถามไม่ระบุภูมิภาค 0.64% 43.27 5.45 0.32 8.01 25.96 16.35 0.64 0.00 20.00 40.00 60.00 ภูมิภาค 22.45% 9.18%7.14% 6.12% 5.10% 4.08% 2.72% 2.72% 2.72% 2.04% จังหวัด 10 อันดับแรก กรุงเทพมหานคร นครศรีธรรมราช นนทบุรี ยโสธร ปทุมธานี อุดรธานี ระยอง ศรีสะเกษ อุบลราชธานี นครราชสีมา
  • 5. 5 ตอนที่ 2: ข้อมูลพฤติกรรม ความนิยมเครื่องสาอาง สมุนไพรสกัดจากธรรมชาติ ตารางที่ 3-1 จานวนและร้อยละของเครื่องสาอางที่ใช้เป็นประจาที่ผลิตจากสมุนไพร หมวดดูแล ผิวพรรณ (Skincare) (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) รายการ จานวน ร้อยละ 1. ครีมบารุงผิวกลางวัน 77 24.7 2. ครีมบารุงผิวกลางคืน 43 13.8 3. ครีมกันแดด 87 27.9 4. ครีมรักษาสิว ฝ้ า 64 20.5 5. ครีมทาบารุงผิวกาย 117 37.5 6. ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้ 74 23.7 จากตารางที่ 3-1 พบว่า เครื่องสาอางที่ใช้เป็นประจาที่ผลิตจากสมุนไพรในหมวด ดูแลผิวพรรณ (Skincare) มากที่สุด คือ ครีมทาบารุงผิวกาย จานวน 117 คน (ร้อยละ 37.5) รองลงมา คือ ครีมกันแดด จานวน 87 คน (ร้อยละ 27.9) และ น้อยที่สุด คือ ครีม บารุงผิวกลางคืน จานวน 43 คน (ร้อยละ 27.9) ตารางที่ 3-2 จานวนและร้อยละของเครื่องสาอางที่ใช้เป็นประจาที่ผลิตจากสมุนไพร หมวด แต่งหน้า (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) รายการ จานวน ร้อยละ 1. ลิปบาล์ม 87 27.9 2. ลิปสติกสี 34 10.9 3. แป้ งพัฟ 45 14.4 4. ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้ 163 52.2 จากตารางที่ 3-2 พบว่า เครื่องสาอางที่ใช้เป็นประจาที่ผลิตจากสมุนไพรในหมวด แต่งหน้า มากที่สุด คือ ลิปบาล์ม จานวน 87 คน (ร้อยละ 27.9) รองลงมา คือ แป้ งพัฟ จานวน 45 คน (ร้อยละ 14.4) และ น้อยที่สุด คือ ลิปสติกสี จานวน 34 คน (ร้อยละ 10.9) ส่วนผู้ตอบที่ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้จานวน 163 คน (ร้อยละ 52.2)
  • 6. 6 ตารางที่ 3-3 จานวนและร้อยละของเครื่องสาอางที่ใช้เป็นประจาที่ผลิตจากสมุนไพร หมวดทา ความสะอาด (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) รายการ จานวน ร้อยละ 1. โฟมล้างหน้า 127 40.7 2. ครีมขัด/พอกผิว 84 26.9 3. สบู่อาบน้า 145 46.5 4. ยาสีฟัน 160 51.3 5. ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้ 23 7.4 จากตารางที่ 3-3 พบว่า เครื่องสาอางที่ใช้เป็นประจาที่ผลิตจากสมุนไพรในหมวดทา ความสะอาด มากที่สุด คือ ยาสีฟัน จานวน 160 คน (ร้อยละ 51.3) รองลงมา คือ สบู่ อาบน้า จานวน 145 คน (ร้อยละ 46.5) และ น้อยที่สุด คือ ครีมขัด/พอกผิว จานวน 84 คน (ร้อยละ 26.9) ส่วนผู้ตอบที่ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้จานวน 23 คน (ร้อยละ 7.4) ตารางที่ 3-4 จานวนและร้อยละของเครื่องสาอางที่ใช้เป็นประจาที่ผลิตจากสมุนไพร หมวดดูแล เส้นผม (Haircare) (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) รายการ จานวน ร้อยละ 1. ยาสระผม 179 57.4 2. ครีมนวดผม 110 35.3 3. ยาโกรกเปลี่ยนสีผม 36 11.5 4. โลชั่นบารุงผม 55 17.6 5. ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้ 85 27.2 จากตารางที่ 3-4 พบว่า เครื่องสาอางที่ใช้เป็นประจาที่ผลิตจากสมุนไพรในหมวด ดูแลเส้นผม (Haircare) มากที่สุด คือ ยาสระผม จานวน 179 คน (ร้อยละ 57.4) รองลงมา คือ ครีมนวดผมจานวน 110 คน (ร้อยละ 35.3) และ น้อยที่สุด คือ โลชั่นบารุงผม จานวน 55 คน (ร้อยละ 17.6) ส่วนผู้ตอบที่ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้จานวน 85 คน (ร้อยละ 27.2)
  • 7. 7 ตารางที่ 3-5 จานวนและร้อยละของการซื้อเครื่องสาอางสมุนไพร หมวดดูแลผิวพรรณ (Skincare) รายการ จานวน ร้อยละ 1. รายสัปดาห์-1เดือน 77 24.7 2. 1-2 เดือน 98 31.4 3. 2-3 เดือน 39 12.5 4. มากกว่า 3 เดือนต่อครั้ง 51 16.3 ไม่ระบุ 47 15.1 รวม 312 100.0 จากตารางที่ 3-5 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรในหมวดดูแล ผิวพรรณ (Skincare) ทุก 1-2 เดือน มากที่สุด จานวน 98 คน (ร้อยละ 31.4) รองลงมา คือ รายสัปดาห์-1เดือน จานวน 77 คน (ร้อยละ 24.7) และ น้อยที่สุด คือ 2-3 เดือน จานวน 39 คน (ร้อยละ 12.5) ตารางที่ 3-6 จานวนและร้อยละของการซื้อเครื่องสาอางสมุนไพร หมวดแต่งหน้า รายการ จานวน ร้อยละ 1. รายสัปดาห์-1เดือน 60 19.2 2. 1-2 เดือน 53 17.0 3. 2-3 เดือน 37 11.9 4. มากกว่า 3 เดือนต่อครั้ง 86 27.6 ไม่ระบุ 76 24.4 รวม 312 100.0 จากตารางที่ 3-6 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรในหมวด แต่งหน้า มากกว่า 3 เดือนต่อครั้ง มากที่สุด จานวน 86 คน (ร้อยละ 27.6) รองลงมา คือ รายสัปดาห์-1เดือน จานวน 60 คน (ร้อยละ 19.2) และ น้อยที่สุด คือ 2-3 เดือน จานวน 37 คน (ร้อยละ 11.9) ส่วนผู้ตอบที่ไม่ระบุมีจานวน 76 คน (ร้อยละ 24.4)
  • 8. 8 ตารางที่ 3-7 จานวนและร้อยละของการซื้อเครื่องสาอางสมุนไพร หมวดทาความสะอาด รายการ จานวน ร้อยละ 1. รายสัปดาห์-1เดือน 121 38.8 2. 1-2 เดือน 96 30.8 3. 2-3 เดือน 30 9.6 4. มากกว่า 3 เดือนต่อครั้ง 39 12.5 ไม่ระบุ 26 8.3 รวม 312 100.0 จากตารางที่ 3-7 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรในหมวดทา ความสะอาด รายสัปดาห์-1เดือน มากที่สุด จานวน 121 คน (ร้อยละ 38.8) รองลงมา คือ 1- 2 เดือนจานวน 96 คน (ร้อยละ 30.8) และ น้อยที่สุด คือ 2-3 เดือน จานวน 30 คน (ร้อยละ 9.6) ส่วนผู้ตอบที่ไม่ระบุมีจานวน 26 คน (ร้อยละ 8.3) ตารางที่ 3-8 จานวนและร้อยละของการซื้อเครื่องสาอางสมุนไพร หมวดดูแลเส้นผม (Haircare) รายการ จานวน ร้อยละ 1. รายสัปดาห์-1เดือน 86 27.6 2. 1-2 เดือน 96 30.8 3. 2-3 เดือน 30 9.6 4. มากกว่า 3 เดือนต่อครั้ง 59 18.9 ไม่ระบุ 41 13.1 รวม 312 100.0 จากตารางที่ 3-8 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรในหมวดดูแล เส้นผม (Haircare) ทุก 1-2 เดือน จานวน 96 คน (ร้อยละ 30.8) รองลงมา คือ รายสัปดาห์-1 เดือน จานวน 86 คน (ร้อยละ 27.6) และ น้อยที่สุด คือ 2-3 เดือน จานวน 30 คน (ร้อยละ 9.6) ส่วนผู้ตอบที่ไม่ระบุมีจานวน 41 คน (ร้อยละ 13.1)
  • 9. 9 ตารางที่ 3-9 จานวนและร้อยละของราคาโดยเฉลี่ย (ต่อชิ้น) ของเครื่องสาอางสมุนไพรที่เลือกใช้ หมวดดูแลผิวพรรณ (Skincare) รายการ จานวน ร้อยละ 1. 200 บาท หรือต่ากว่า 108 34.6 2. 201-500 บาท 119 38.1 3. 501-1,000 บาท 33 10.6 4. 1,001-2,000 บาท 7 2.2 5. สูงกว่า 2000 บาท 1 0.3 ไม่ระบุ 44 14.1 รวม 312 100.0 จากตารางที่ 3-9 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรในหมวดดูแล ผิวพรรณ (Skincare) ราคาโดยเฉลี่ย (ต่อชิ้น) 201-500 บาทมากที่สุด จานวน 119 คน (ร้อยละ 38.1) ส่วน 200 บาท หรือต่ากว่า จานวน 108 คน (ร้อยละ 34.6) รองลงมา คือ และ น้อยที่สุด คือ สูงกว่า 2000 บาท จานวน 1 คน (ร้อยละ 0.3) ส่วนผู้ตอบที่ไม่ระบุมีจานวน 44 คน (ร้อยละ 14.1) ตารางที่ 3-10 จานวนและร้อยละของราคาโดยเฉลี่ย (ต่อชิ้น) ของเครื่องสาอางสมุนไพรที่เลือกใช้ หมวดแต่งหน้า รายการ จานวน ร้อยละ 1. 200 บาท หรือต่ากว่า 97 31.1 2. 201-500 บาท 89 28.5 3. 501-1,000 บาท 35 11.2 4. 1,001-2,000 บาท 8 2.6 5. สูงกว่า 2000 บาท 1 0.3 ไม่ระบุ 82 26.3 รวม 312 100.0
  • 10. 10 จากตารางที่ 3-10 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรในหมวด แต่งหน้า ราคาโดยเฉลี่ย (ต่อชิ้น) 200 บาท หรือต่ากว่า มากที่สุด จานวน 97 คน (ร้อยละ 31.1) รองลงมา คือ 201-500 บาท จานวน 89 คน (ร้อยละ 28.5) และ น้อยที่สุด คือ สูงกว่า 2000 บาท จานวน 1 คน (ร้อยละ 0.3) ส่วนผู้ตอบที่ไม่ระบุมีจานวน 82 คน (ร้อยละ 26.3) ตารางที่ 3-11 จานวนและร้อยละของราคาโดยเฉลี่ย (ต่อชิ้น) ของเครื่องสาอางสมุนไพรที่เลือกใช้ หมวดทาความสะอาด รายการ จานวน ร้อยละ 1. 200 บาท หรือต่ากว่า 164 52.6 2. 201-500 บาท 90 28.8 3. 501-1,000 บาท 31 9.9 4. 1,001-2,000 บาท 4 1.3 5. สูงกว่า 2000 บาท 1 0.3 ไม่ระบุ 22 7.1 รวม 312 100.0 จากตารางที่ 3-11 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรในหมวดทา ความสะอาดราคาโดยเฉลี่ย (ต่อชิ้น) 200 บาท หรือต่ากว่า มากที่สุด จานวน 164 คน (ร้อยละ 52.6) รองลงมา คือ 201-500 บาท จานวน 90 คน (ร้อยละ 28.8) และ น้อยที่สุด คือ สูง กว่า 2000 บาท จานวน 1 คน (ร้อยละ 0.3) ส่วนผู้ตอบที่ไม่ระบุมีจานวน 22 คน (ร้อยละ 7.1) ตารางที่ 3-12 จานวนและร้อยละของราคาโดยเฉลี่ย (ต่อชิ้น) ของเครื่องสาอางสมุนไพรที่เลือกใช้ หมวดดูแลเส้นผม (Haircare) รายการ จานวน ร้อยละ 1. 200 บาท หรือต่ากว่า 121 38.8 2. 201-500 บาท 117 37.5 3. 501-1,000 บาท 24 7.7 4. 1,001-2,000 บาท 2 0.6 5. สูงกว่า 2000 บาท 1 0.3 ไม่ระบุ 47 15.1
  • 11. 11 รายการ จานวน ร้อยละ รวม 312 100.0 จากตารางที่ 3-12 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรในหมวดดูแล เส้นผม (Haircare) ราคาโดยเฉลี่ย (ต่อชิ้น) 200 บาท หรือต่ากว่า มากที่สุด จานวน 121 คน (ร้อยละ 38.8) รองลงมา คือ 201-500 บาท จานวน 117 คน (ร้อยละ 37.5) และ น้อยที่สุด คือ สูงกว่า 2000 บาท จานวน 1 คน (ร้อยละ 0.3) ส่วนผู้ตอบที่ไม่ระบุมีจานวน 47 คน (ร้อยละ 15.1) ตารางที่ 3-13 จานวนและร้อยละของยี่ห้อเครื่องสาอางสมุนไพรที่เคยใช้ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) รายการ จานวน ร้อยละ 1. อภัยภูเบศร 109 34.9 2. กนก 20 6.4 3. เคอร์มินท์ (องค์การเภสัช) 28 9.0 4. โอเรียนทอล พริ้นเซส 127 40.7 5. สไบนาง 17 5.4 6. นิ่มพร 15 4.8 7. ดอกบัวคู่ 218 69.9 8. สุภาภรณ์ 80 25.6 9. ใบว่าน 11 3.5 10. อื่นๆ เช่น body shop, herbal, home made, panaran, red earth, ก็กเลี้ยง, แกรนมัม, จาเป่ า, ดอลบาเด้น, ดาร์ลี่, เดนทิสเต้, ธันยพรสมุนไพร, นกแก้ว, บ้านราช, ภูมิ พฤกษา, แม่เลียบ, สุภามาส, ปางแก้ว, เบนเนท, ปัญจ ศ,รี แม่พระยา, มาดามเฮง, เพียวเฮิร์บ, วังพรหม, สบู่ตา ราเจดีย์, ไหมทอง, อิงอร ,อุทัยทพิย์ เป็นต้น 40 12.8 จากตารางที่ 3-13 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเคยใช้เครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อ ดอกบัวคู่ มากที่สุด จานวน 218 คน (ร้อยละ 69.9) รองลงมา คือ โอเรียนทอล พริ้นเซส จานวน 127 คน (ร้อยละ 40.7) และ น้อยที่สุด คือ ใบว่าน จานวน 11คน (ร้อยละ 3.5)
  • 12. 12 ตารางที่ 3-14 จานวนและร้อยละของยี่ห้อเครื่องสาอางสมุนไพรที่ชอบมากที่สุด รายการ จานวน ร้อยละ 1. อภัยภูเบศร 45 14.4 2. กนก 7 2.2 3. เคอร์มินท์ (องค์การเภสัช) 8 2.6 4. โอเรียนทอล พริ้นเซส 73 23.4 5. สไบนาง 2 0.6 6. นิ่มพร 4 1.3 7. ดอกบัวคู่ 88 28.2 8. สุภาภรณ์ 25 8.0 9. ใบว่าน 4 1.3 10. อื่นๆ เช่น body shop, panaran, red earth, แกรนมัม, จาเป่า, บัวหิมะ, นกแก้ว, บ้านราช, ภูมิพฤกษา, , เบน เนท, ปัญจศ,รี แม่พระยา, มาดามเฮง, วังพรหม, อุทัยทพิย์ เป็นต้น 26 8.3 ไม่ระบุ 30 9.6 รวม 312 100.0 จากตารางที่ 3-14 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามชอบใช้เครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อ ดอกบัวคู่ มากที่สุด จานวน 88 คน (ร้อยละ 28.2) รองลงมา คือ โอเรียนทอล พริ้นเซส จานวน 73 คน (ร้อยละ 23.4) และ น้อยที่สุด คือ สไบนาง จานวน 2 คน (ร้อยละ 0.6) ส่วนผู้ที่ไม่ ระบุ จานวน 30 คน (ร้อยละ 9.6)
  • 13. 13 ตารางที่ 3-15 จานวนและร้อยละของเหตุผลที่ทาให้เลือกใช้เครื่องสาอางสมุนไพรที่ชอบมากที่สุด (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) รายการ จานวน ร้อยละ 1. ราคาไม่แพง สามารถจ่ายได้ 208 66.7 2. คุณภาพดี ใช้แล้วเห็นผล 200 64.1 3. มีโฆษณาทาให้น่าเชื่อถือ 44 14.1 4. รูปทรง แพ็คเก็จสวยดึงดูด 47 15.1 5. หมดแล้ว หาซื้อได้ง่าย 103 33.0 6. มีระบบสมาชิก ได้รับสิทธิพิเศษ 22 7.1 7. มีพนักงานให้คาแนะนาผลิตภัณฑ์ 26 8.3 8. อื่นๆ เช่น คนรู้จักแนะนา, ครอบครัว/คนรู้จักซื้อมาให้ ใช้, คิดว่าสมุนไพรมีประโยชน์, ใช้มานานแล้ว, เป็ น ขององค์การเภสัช เป็นต้น 12 3.8 จากตารางที่ 3-15 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นว่าราคาไม่แพง สามารถจ่ายได้เป็น เหตุผลที่ทาให้เลือกใช้เครื่องสาอางสมุนไพรมากที่สุด จานวน 208 คน (ร้อยละ 66.7) รองลงมา คือ คุณภาพดี ใช้แล้วเห็นผล จานวน 200 คน (ร้อยละ 23.4) และ น้อยที่สุด คือ อื่นๆ เช่น คนรู้จักแนะนา, ครอบครัว/คนรู้จักซื้อมาให้ใช้, คิดว่าสมุนไพรมีประโยชน์, ใช้มานานแล้ว , เป็นขององค์การเภสัช เป็นต้น จานวน 12 คน (ร้อยละ 3.8) ตารางที่ 3-16 จานวนและร้อยละของปัญหาที่ประสบบ่อยที่สุดจากการเครื่องสาอางสมุนไพร รายการ จานวน ร้อยละ 1. ซึมซาบเข้าสู่ผิวช้า เหนียวเหนอะหนะ 106 34.0 2. ไม่ชอบกลิ่น/กลิ่นแรง/เหม็น 93 29.8 3. ใช้ไม่ได้ผล ไม่รู้สึกว่าผิวดีขึ้น 40 12.8 4. เนื้อสมุนไพรเสื่อมสภาพ เกาะเป็นก้อน 15 4.8 5. บรรจุภัณฑ์ที่ใช้ไม่สะดวก ชารุดง่าย 12 3.8 6. เกิดอาการแพ้ 25 8.0 7. อื่นๆ เช่น ต้องใช้นานจึงจะเห็นผล, ใช้แล้วหน้าแห้ง, ทา 12 3.8
  • 14. 14 รายการ จานวน ร้อยละ ช่วงแรกหอม แต่หลังจากทาไปสักพักกลิ่นเปลี่ยน เป็นต้น ไม่ระบุ 9 2.9 รวม 312 100.0 จากตารางที่ 3-16 ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นว่าซึมซาบเข้าสู่ผิวช้า เหนียวเหนอะหนะ เป็นปัญหาที่ประสบบ่อยที่สุดจากการเครื่องสาอางสมุนไพรมากที่สุด จานวน 106 คน (ร้อยละ 34.0) รองลงมา คือ ไม่ชอบกลิ่น/กลิ่นแรง/เหม็น จานวน 93 คน (ร้อยละ 29.8) และ น้อยที่สุด คือ อื่นๆ ไม่ชอบกลิ่น, ใช้ไมได้ผล/ต้องใช้นานจึงจะเห็นผล, ใช้แล้วหน้าแห้ง, เนื้อ เป็นก้อน, ทาช่วงแรกหอม แต่หลังจากทาไปสักพักกลิ่นเปลี่ยน เป็นต้น จานวน 12 คน (ร้อยละ 3.8) ส่วนผู้ที่ไม่ระบุ จานวน 9 คน (ร้อยละ 2.9) ตารางที่ 3-17 จานวนและร้อยละของส่วนผสมหลักในเครื่องสาอางสมุนไพรที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน หมวดน้ามันสกัด (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) รายการ จานวน ร้อยละ 1. น้ามันมะพร้าว 130 41.7 2. น้ามันมะกอก 154 49.4 3. น้ามันราข้าว 86 27.6 4. น้ามันอัลมอนต์ 28 9.0 5. น้ามันทับทิม 19 6.1 6. น้ามันงา 50 16.0 7. อื่นๆ เช่น น้ามันมะรุม 5 1.6 จากตารางที่ 3-17 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นว่าน้ามันมะกอกเป็นส่วนผสมหลัก ในเครื่องสาอางสมุนไพรที่ใช้อยู่ในปัจจุบันในหมวดน้ามันสกัด มากที่สุด จานวน 154คน (ร้อยละ 49.4) รองลงมา คือ น้ามันมะพร้าว จานวน 130 คน (ร้อยละ 41.7) และ น้อยที่สุด คือ อื่นๆ เช่น น้ามันมะรุม จานวน 5 คน (ร้อยละ 1.6)
  • 15. 15 ตารางที่ 3-18 จานวนและร้อยละของส่วนผสมหลักในเครื่องสาอางสมุนไพรที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน หมวดสมุนไพร (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) รายการ จานวน ร้อยละ 1. มะกรูด 132 42.3 2. ใบย่านาง 9 2.9 3. ขมิ้น 176 56.4 4. ดอกดาวเรือง 5 1.6 5. รากสามสิบ 3 1.0 6. ว่านหางจระเข้ 131 42.0 7. ว่านหอม 11 3.5 8. ส้ม มะนาว สับปะรด 45 14.4 9. ถั่วเขียว 8 2.6 10. ทานาคา 31 9.9 11. เฮนน่า 11 3.5 12. โสม 35 11.2 13. แตงกวา 110 35.3 14. มะหาด 34 10.9 15. มะขามป้ อม 64 20.5 16. มะขามเปียก 108 34.6 17. มะเฟือง 12 3.8 18. อื่นๆ เช่น แครอท, มะละกอ, อัญชัน, บัวหิมะ, ไพล, เปบเบอร์มินท์ เป้ นต้น 13 4.2 จากตารางที่ 3-18 พบว่า พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นว่าขมิ้นเป็นส่วนผสมหลักใน เครื่องสาอางสมุนไพรที่ใช้อยู่ในปัจจุบันในหมวดสมุนไพรมากที่สุด จานวน 176 คน (ร้อย ละ 56.4) รองลงมา คือ มะกรูด จานวน 132 คน (ร้อยละ 42.3) และ น้อยที่สุด คือ มะเฟือง จานวน 12 คน (ร้อยละ 3.8)
  • 16. 16 ตารางที่ 3-19 จานวนและร้อยละของแหล่งในการเลือกซื้อเครื่องสาอางสมุนไพร รายการ จานวน ร้อยละ 1. ร้านขายเครื่องสาอาง ร้านค้าปลีกต่างๆ เช่น วัตสัน บู๊ทส์ 95 30.4 2. ร้านสุขภาพ เช่น ดอยคา เลมอนฟาร์ม 22 7.1 3. ซื้อจากระบบขายตรง เช่น เอวอน กิฟฟารีน 14 4.5 4. แหล่งตลาดนัด เช่น ตลาดหลังการบินไทย ตลาดห้วย ขวาง 8 2.6 5. คลินิกเสริมความงาม แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาล 7 2.2 6. ในห้างสรรพสินค้า 113 36.2 7. ร้านสะดวกซื้อ เช่น 7-11 37 11.9 8. สั่งซื้อบนอินเตอร์เน็ต 5 1.6 9. ร้านขายยา เช่น Save Drug 6 1.9 10. อื่นๆ เช่น ร้านขายของชา 3 1.0 ไม่ระบุ 2 0.6 รวม 312 100.0 จากตารางที่ 3-19 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรจาก ห้างสรรพสินค้ามากที่สุด จานวน 113 คน (ร้อยละ 36.2) รองลงมา คือ ร้านขาย เครื่องสาอาง ร้านค้าปลีกต่างๆ เช่น วัตสัน บู๊ทส์ จานวน 95 คน (ร้อยละ 30.4) และ น้อย ที่สุด คือ อื่นๆ เช่น ร้านขายของชา จานวน 3 คน (ร้อยละ 1.0) ส่วนผู้ที่ไม่ระบุ จานวน 2 คน (ร้อย ละ 0.6) ตารางที่ 3-20 จานวนและร้อยละคุณสมบัติที่สาคัญในการเลือกซื้อเครื่องสาอางสมุนไพร รายการ จานวน ร้อยละ 1. ช่วยลดปัญหาเรื่องสิว ฝ้ า กระ 117 37.5 2. ชะลอการเกิดริ้วรอยก่อนวัย 52 16.7 3. หน้าใส ปรับสภาพทาให้ผิวขาว 58 18.6 4. ลดความมัน กระชับรูขุมขน 25 8.0 5. ลดความหมองคล้า ลดจุดด่างดา 42 13.5
  • 17. 17 รายการ จานวน ร้อยละ 6. เพิ่มความชุ่มชื้น คงความยืดหยุ่น 16 5.1 ไม่ระบุ 2 0.6 รวม 312 100.0 จากตารางที่ 3-20 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นว่าคุณสมบัติที่สาคัญในการเลือกซื้อ เครื่องสาอางสมุนไพรมากที่สุด คือ ช่วยลดปัญหาเรื่องสิว ฝ้ า กระ จานวน 117 คน (ร้อยละ 37.5) รองลงมา คือ หน้าใส ปรับสภาพทาให้ผิวขาว จานวน 58 คน (ร้อยละ 18.6) และ น้อยที่สุด คือ เพิ่มความชุ่มชื้น คงความยืดหยุ่น จานวน 16 คน (ร้อยละ 5.1) ส่วนผู้ที่ไม่ระบุ จานวน 2 คน (ร้อยละ 0.6) ตารางที่ 3-21 จานวนและร้อยละแหล่งในการเลือกซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อใหม่ ๆ รายการ จานวน ร้อยละ 1. สื่อโฆษณาทั่วไป เช่น ทีวี นิตยสาร 180 57.7 2. สื่ออินเตอร์เน็ต 35 11.2 3. บุคคลรอบข้าง เช่น พ่อ/แม่ เพื่อน แฟน 55 17.6 4. ละคร รายการต่างๆ 3 1.0 5. ร้านขายเครื่องสาอางสมุนไพร 35 11.2 6. อื่นๆ เช่น งานแสดงสินค้า, ตามร้านค้าต่าง ๆ 3 1.0 ไม่ระบุ 1 0.3 รวม 312 100.0 จากตารางที่ 3-21 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นว่าสื่อโฆษณาทั่วไป เช่น ทีวี นิตยสาร เป็นแหล่งในการเลือกซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อใหม่ ๆ มากที่สุด จานวน 180 คน (ร้อยละ 57.7) รองลงมา คือ บุคคลรอบข้าง เช่น พ่อ/แม่ เพื่อน แฟน จานวน 55 คน (ร้อยละ 17.6) และ น้อยที่สุด คือ ละคร รายการต่างๆ และอื่นๆ เช่น งานแสดงสินค้า, ตาม ร้านค้าต่าง ๆ จานวน 3 คน (ร้อยละ 1.0) เท่ากัน ส่วนผู้ที่ไม่ระบุ จานวน 1 คน (ร้อยละ 0.3)
  • 18. 18 ตารางที่ 3-22 จานวนและร้อยละของการตัดสินใจเลือกซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อใหม่ ๆ รายการ จานวน ร้อยละ 1. ได้รับการรับรองจากหน่วยงานของรัฐ เช่น อย. หรือ กรม ส่งเสริมอุตสาหกรรม 177 56.7 2. ผ่านการทดสอบความปลอดภัยแล้วไม่ก่อให้เกิดการระคาย เคือง 58 18.6 3. มี Tester ให้ทดลอง ทาให้ได้สัมผัสเนื้อผลิตภัณฑ์ 37 11.9 4. มีพนักงานมาสาธิตและให้คาแนะนาผลิตภัณฑ์ 17 5.4 5. มีการโฆษณาโดยใช้สื่อต่างๆ มีดาราเป็นพรีเซนเตอร์ 5 1.6 6. วางขายอยู่ในร้านที่น่าเชื่อถือ มีชื่อเสียง 8 2.6 7. มีข้อมูลส่วนผสมอธิบายสรรพคุณชัดเจนบนฉลาก/ในโบรชัวส์ 8 2.6 8. มีแหล่งผลิต หรือ ประเทศผู้ผลิตที่โด่งดังในด้านนี้ 2 0.6 รวม 312 100.0 จากตารางที่ 3-22 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นว่าเครื่องสาอางสมุนไพรที่ได้รับรอง จากหน่วยงานของรัฐ เช่น อย. หรือ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เป็ นเหตุผลในการ ตัดสินใจเลือกซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อใหม่ ๆ มากที่สุด จานวน 177 คน (ร้อยละ 56.7) รองลงมา คือ ผ่านการทดสอบความปลอดภัยแล้วไม่ก่อให้เกิดการระคายเคือง จานวน 58 คน (ร้อยละ 18.6) สิ่งที่ช่วยในการตัดสินใจอันดับสามคือการมีสินค้าทดลอง ณ จุดขาย มีผู้ตอบจานวน 37 คน (ร้อยละ 11.9) และ น้อยที่สุด คือ มีแหล่งผลิต หรือ มา ประเทศผู้ผลิตที่โด่งดังในด้านนี้จานวน 2 คน (ร้อยละ 0.6)
  • 19. 19 ภาพรวมพฤติกรรมโดยสรุป ลักษณะของกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถาม จากผู้ตอบแบบสอบถาม 312 คน ส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ 18-35 ปี 3 ใน 4 ของ ผู้ตอบเป็นผู้หญิง มีเพศที่สาม 6 คน เป็นคนโสด ยังเป็นนักเรียนและนักศึกษา การศึกษาจึงอยู่ในระดับมัธยมและปริญญาตรี รายได้ไม่เกิน 10,000 บาท ภูมิลาเนา เป็นคนภาคกลางและภาคอีสานเป็นส่วนใหญ่ พฤติกรรมการใช้สินค้าสมุนไพรที่เด่นๆคือ การใช้ 1.ครีมทาผิวกาย 2. ลิปบาล์ม 3.ยาสีฟัน 4.ยาสระผม โดยซึ้อเครื่องสาอางหมวดทาความสะอาดบ่อยที่สุดคือ ซื้อทุกเดือน ส่วนหมวด ดูแลผิวพรรณและเส้นผมจะซื้อ 1-2 เดือน/ครั้ง หมวดแต่งหน้าเป็นหมวดที่ไม่ค่อยได้ซื้อคือ ประมาณ 3 เดือน/ครั้ง หรือนานกว่านั้น โดยราคาที่จ่ายต่อชิ้นในหมวดดูแลผิวพรรณ จะ สูงกว่าหมวดอื่นคือ ระหว่าง 200-500 บาท ในขณะที่หมวดอื่นจะจ่ายไม่เกิน 200 บาท/ ชิ้น สมุนไพรที่นิยมใช้ 4 อันดับแรก คือ ขมิ้น มะกรูด ว่านหางจระเข้ แตงกวา น้ามันสกัดที่นิยมใช้ 4 อันดับแรก คือ น้ามันมะกอก น้ามันมะพร้าว น้ามันราข้าว น้ามันงา แบรนด์ที่ชอบ และคุ้นเคย 4 อันดับแรก คือ ดอกบัวคู่ โอเรียนทอล พริ้นเซส อภัยภูเบศร สุภาภรณ์ เหตุผลที่ชอบ คือ 1.ราคาไม่แพงสามารถจ่ายได้ 2.คุณภาพดีใช้แล้วเห็นผล 3.หมดแล้วหาซื้อง่าย ปัญหาที่ประสบบ่อยๆจากการใช้เครื่องสาอางสมุนไพร 1.ซีมซาบสู่ใต้ผิวช้า เหนียวเหนอะหนะ 2.กลิ่นไม่ดี แรงเกินไป ไม่หอม 3.ใช้ไม่ค่อยได้ผล ไม่มีประสิทธิภาพ
  • 20. 20 ภาพรวมพฤติกรรมโดยสรุป(ต่อ) สถานที่ซื้อเครื่องสาอางสมุนไพร 4 อันดับแรก 1.ห้างสรรพสินค้า 2.ร้านขายเครื่องสาอาง ร้านค้าปลีกในห้าง เช่น วัตสัน บู๊ทส์ 3.ร้านสะดวกซื้อ เช่น 7-11 4.ร้านสุขภาพ เช่น ดอยคา คุณสมบัติสาคัญในการเลือกใช้เครื่องสาอางสมุนไพร 1.ลดปัญหาสิว ฝ้ า 2.หน้าใส ทาให้ผิวขาว 3.ชะลอริ้วรอยก่อนวัย 4.ลดความหมองคล้า จุดด่างดา สื่อโฆษณาที่รับข่าวสารเครื่องสาอางใหม่ๆสมุนไพร 1.ทีวี นิตยสาร 2.บุคคลรอบข้าง เพื่อน แฟน พ่อ/แม่ 3.อินเทอร์เน็ต 4.ร้านขายเครื่องสาอาง เกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินใจเลือกใช้เครื่องสาอางสมุนไพรใดๆคือ 1. ได้รับการรับรองจากหน่วยงานของรัฐ เช่น อย. หรือ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม 2. ผ่านการทดสอบความปลอดภัยแล้วไม่ก่อให้เกิดการระคายเคือง 3. มี Tester ให้ทดลอง ทาให้ได้สัมผัสเนื้อผลิตภัณฑ์ 4. มีพนักงานมาสาธิตและให้คาแนะนาผลิตภัณฑ์
  • 22. 22
  • 23. 23
  • 24. 24 สรุปการใช้ผลิตภัณฑ์สมุนไพร ณ ปัจจุบัน แบ่งออกเป็น 4 หมวด คือ หมวดผิวพรรณ หมวดแต่งหน้า หมวดทาความสะอาด หมวดูแลเส้นผม กลุ่มอายุ 12-17 ปี หมวดผิวพรรณ ใช้ครีมกันแดดมากที่สุด 37.5% รองลงมาคือครีมบารุงผิวกลางวัน 18.8% และน้อยที่สุดคือ 6.3% เท่ากันคือ ครีมบารุงผิวกลางคือ ครีมรักษาฝ้ า และ ครีม ทาบารุงผิวกาย หมวดแต่งหน้า ใช้ลิปบาล์มมากที่สุด 43.8% รองลงมาคือลิปสติกสี 12.5% และน้อย ที่สุดคือ 6.3% แป้ งพัฟ หมวดทาความสะอาด ใช้โฟมล้างหน้ามากที่สุด 50.0% รองลงมาคือยาสีฟัน 31.3% และ น้อยที่สุดคือ ครีมขัด/พอกผิว 6.3% หมวดดูแลเส้นผม (Haircare) ใช้ยาสระผม และครีมนวดผมมากที่สุด 50.0% เท่ากัน รองลงมาคือไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้12.5% และน้อยที่สุดคือ โลชั่นบารุงผม 6.3% กลุ่มอายุ 18 – 23 ปี หมวดผิวพรรณ 33.0% เท่ากัน ใช้ครีมกันแดด และครีมทาบารุงผิวกายมากที่สุด รองลงมาคือครีมบารุงผิวกลางวัน 27.3% และน้อยที่สุดคือ 11.4% ครีมบารุงผิวกลางคืน หมวดแต่งหน้า ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้มากที่สุด 46.6% รองลงมาคือลิปบาล์ม 38.6% และน้อยที่สุดคือ 12.5% ลิปสติกสี หมวดทาความสะอาด ใช้สบู่อาบน้ามากที่สุด 53.4% รองลงมาคือโฟมล้างหน้า 48.9% และน้อยที่สุดคือ ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้9.1% หมวดดูแลเส้นผม (Haircare) ใช้ยาสระผมมากที่สุด 56.8% รองลงมาคือครีมนวดผม 35.2% และน้อยที่สุดคือ ยาโกรกเปลี่ยนสีผม 6.8% กลุ่มอายุ 24 – 35 ปี หมวดผิวพรรณ ใช้ครีมทาบารุงผิวกายมากที่สุด 47.8% รองลงมาคือครีมกันแดด 27.8% และน้อยที่สุดคือ 15.6% ครีมบารุงผิวกลางคืน หมวดแต่งหน้า ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้มากที่สุด 58.9% รองลงมาคือลิปบาล์ม 38.6% และน้อยที่สุดคือ 12.5% ลิปสติกสี หมวดทาความสะอาด ใช้ยาสีฟันมากที่สุด 53.3% รองลงมาคือสบู่อาบน้า43.3% และ น้อยที่สุดคือ ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้6.7%
  • 25. 25 หมวดดูแลเส้นผม (Haircare) ใช้ยาสระผมมากที่สุด 46.7% รองลงมาคือไม่มีการใช้ สมุนไพรในหมวดนี้37.8% และน้อยที่สุดคือ ยาโกรกเปลี่ยนสีผม 10.0% กลุ่มอายุ 36 – 47 ปี หมวดผิวพรรณ ใช้ครีมทาบารุงผิวกายมากที่สุด 39.4% รองลงมาคือครีมบารุงผิว กลางวัน 27.3% และน้อยที่สุดคือ 16.7% ครีมกันแดด หมวดแต่งหน้า ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้มากที่สุด 48.5% รองลงมาคือลิปบาล์ม 24.2% และน้อยที่สุดคือ 10.6% ลิปสติกสี หมวดทาความสะอาด ใช้ยาสีฟันมากที่สุด 59.1% รองลงมาคือสบู่อาบน้า 40.9% และ น้อยที่สุดคือ ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้6.1% หมวดดูแลเส้นผม (Haircare) ใช้ยาสระผมมากที่สุด 63.6% รองลงมาคือครีมนวดผม 37.9% และน้อยที่สุดคือ ยาโกรกเปลี่ยนสีผม 7.6% กลุ่มอายุ 48 – 59 ปี หมวดผิวพรรณ ใช้ครีมกันแดดมากที่สุด 35.6% รองลงมาคือครีมทาบารุงผิวกาย 31.1% และน้อยที่สุดคือ 13.3% ครีมบารุงผิวกลางคืน หมวดแต่งหน้า ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้มากที่สุด 60.0% รองลงมาคือลิปบาล์ม 17.8% และน้อยที่สุดคือ 11.1% ลิปสติกสี หมวดทาความสะอาด ใช้สบู่อาบน้ามากที่สุด 55.6% รองลงมาคือยาสีฟัน 53.3% และ น้อยที่สุดคือ ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้4.4% หมวดดูแลเส้นผม (Haircare) ใช้ยาสระผมมากที่สุด 71.1% รองลงมาคือครีมนวดผม 35.6% และน้อยที่สุดคือ ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้8.9% กลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป หมวดผิวพรรณ ใช้ครีมทาบารุงผิวกายมากที่สุด 57.1% และไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวด นี้42.9% หมวดแต่งหน้า ไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้มากที่สุด 71.4% และลิปบาล์ม 14.3% หมวดทาความสะอาด ใช้ยาสีฟันมากที่สุด 71.4% รองลงมาคือสบู่อาบน้า 31.3% และ น้อยที่สุดคือ ครีมขัด/พอกผิว 14.3% หมวดดูแลเส้นผม (Haircare) ใช้ยาสระผมมากที่สุด 71.4% รองลงมาคือยาโกรกเปลี่ยนสี ผม 42.9% และน้อยที่สุดคือ ครีมนวดผม และไม่มีการใช้สมุนไพรในหมวดนี้ 14.3% เท่ากัน
  • 26. 26 สรุปยี่ห้อเครื่องสาอางสมุนไพรที่คุ้นเคยและชอบพร้อมเหตุผล มี 9 ยี่ห้อเครื่องสาอางสมุนไพรให้เลือกพร้อมอธิบายเหตุผลและปัญหาในการใช้ กลุ่มอายุ 12-17 ปี เคยใช้เครื่องสาอางยี่ห้อดอกบัวคู่ 50.0% และ12.5% เท่ากัน ชื่นชอบเครื่องสาอางยี่ห้ออภัย ภูเบศร, โอเรียนทอล พริ้นเซส, ดอกบัวคู่และใบว่าน มีเหตุผลที่ชอบมากที่สุด คือ คุณภาพดี ใช้แล้วเห็นผล 75.0% และ43.8% มีปัญหาที่พบบ่อย ที่สุด คือ ซึมซาบเข้าสู่ผิวช้า เหนียวเหนอะหนะ กลุ่มอายุ 18 – 23 ปี เคยใช้เครื่องสาอางยี่ห้อดอกบัวคู่ 61.4% และ31.8% ชื่นชอบเครื่องสาอางยี่ห้อโอเรียนทอล พริ้นเซส มีเหตุผลที่ชอบมากที่สุด คือ คุณภาพดี ใช้แล้วเห็นผล 69.3% และ38.6% มีปัญหาที่พบบ่อย ที่สุด คือ ซึมซาบเข้าสู่ผิวช้า เหนียวเหนอะหนะ กลุ่มอายุ 24 – 35 ปี เคยใช้เครื่องสาอางยี่ห้อดอกบัวคู่ 72.2% และ35.6% ชื่นชอบเครื่องสาอางยี่ห้อดอกบัวคู่ มีเหตุผลที่ชอบมากที่สุด คือ ราคาไม่แพง สามารถจ่ายได้ 71.1% และ34.4% มีปัญหาที่พบ บ่อยที่สุด คือ ซึมซาบเข้าสู่ผิวช้า เหนียวเหนอะหนะ กลุ่มอายุ 36 – 47 ปี เคยใช้เครื่องสาอางยี่ห้อดอกบัวคู่ 74.24% และ28.8% ชื่นชอบเครื่องสาอางยี่ห้อดอกบัวคู่ มีเหตุผลที่ชอบมากที่สุด คือ ราคาไม่แพง สามารถจ่ายได้ 78.8% และ28.8% เท่ากัน มีปัญหาที่ พบบ่อยที่สุด คือ ซึมซาบเข้าสู่ผิวช้า เหนียวเหนอะหนะ และไม่ชอบกลิ่น/กลิ่นแรง/เหม็น กลุ่มอายุ 48 – 59 ปี เคยใช้เครื่องสาอางยี่ห้อดอกบัวคู่ 77.8% และ24.4% ชื่นชอบเครื่องสาอางยี่ห้อดอกบัวคู่ มีเหตุผลที่ชอบมากที่สุด คือ คุณภาพดี ใช้แล้วเห็นผล 75.6% และ33.3% เท่ากัน มีปัญหาที่พบ บ่อยที่สุด คือ ซึมซาบเข้าสู่ผิวช้า เหนียวเหนอะหนะ และไม่ชอบกลิ่น/กลิ่นแรง/เหม็น กลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป เคยใช้เครื่องสาอางยี่ห้อดอกบัวคู่ 100.0% และ42.9% ชื่นชอบเครื่องสาอางยี่ห้อดอกบัวคู่ มีเหตุผลที่ชอบมากที่สุด คือ คุณภาพดี ใช้แล้วเห็นผล 71.4% และ42.9% มีปัญหาที่พบบ่อย ที่สุด คือ ไม่ชอบกลิ่น/กลิ่นแรง/เหม็น
  • 27. 27 สรุปแหล่งในการเลือกซื้อและ การรับรู้เครื่องสาอางสมุนไพรใหม่ๆ สถานที่ซื้อและการรับรู้ข่าวสารสมุนไพรพร้อมอธิบายเหตุผล กลุ่มอายุ 12-17 ปี สถานที่ซื้อ เครื่องสาอางสมุนไพรจากร้านขายเครื่องสาอาง ร้านค้าปลีกต่าง ๆ เช่น วัตสัน บู๊ทส์ มากที่สุด 50.0% การรับรู้สมุนไพรใหม่ๆ กลุ่มนี้รับรู้จากสื่อโฆษณาทั่วไป เช่น ทีวี นิตยสาร เป็นแหล่งในการเลือก ซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อใหม่ ๆ มากที่สุด 50.0% เหตุผลในการตัดสินใจเลือกซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อใหม่ ๆ 68.8% เห็นว่าเครื่องสาอาง สมุนไพรนั้นได้รับรองจากหน่วยงานของรัฐ เช่น อย. หรือ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เป็นต้น กลุ่มอายุ 18 – 23 ปี สถานที่ซื้อ ซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรจากห้างสรรพสินค้ามากที่สุด 34.1% การรับรู้สมุนไพรใหม่ๆ กลุ่มนี้รับรู้จากสื่อโฆษณาทั่วไป เช่น ทีวี นิตยสาร เป็นแหล่งในการเลือก ซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อใหม่ ๆ 62.5% เหตุผลในการตัดสินใจเลือกซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อใหม่ ๆ 45.5% เห็นว่า เครื่องสาอาง สมุนไพรนั้นได้รับรองจากหน่วยงานของรัฐ เช่น อย. หรือ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เป็นต้น กลุ่มอายุ 24 – 35 ปี สถานที่ซื้อ ซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรจากห้างสรรพสินค้ามากที่สุด 34.4% การรับรู้สมุนไพรใหม่ๆ กลุ่มนี้รับรู้จากสื่อโฆษณาทั่วไป เช่น ทีวี นิตยสาร เป็นแหล่งในการเลือก ซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อใหม่ ๆ 62.2% เหตุผลในการตัดสินใจเลือกซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อใหม่ ๆ 64.4% เห็นว่า เครื่องสาอาง สมุนไพรนั้นได้รับรองจากหน่วยงานของรัฐ เช่น อย. หรือ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เป็นต้น กลุ่มอายุ 36 – 47 ปี สถานที่ซื้อ ซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรจากห้างสรรพสินค้ามากที่สุด 40.9% การรับรู้สมุนไพรใหม่ๆ กลุ่มนี้รับรู้จากสื่อโฆษณาทั่วไป เช่น ทีวี นิตยสาร เป็นแหล่งในการเลือก ซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อใหม่ ๆ 50.0% เหตุผลในการตัดสินใจเลือกซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อใหม่ ๆ 57.6% เห็นว่า เครื่องสาอาง สมุนไพรนั้นได้รับรองจากหน่วยงานของรัฐ เช่น อย. หรือ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เป็นต้น
  • 28. 28 กลุ่มอายุ 48 – 59 ปี สถานที่ซื้อ ซื้อเครื่องสาอางสมุนไพร57.6% จากห้างสรรพสินค้ามากที่สุด 35.6% การรับรู้สมุนไพรใหม่ๆ กลุ่มนี้รับรู้จากสื่อโฆษณาทั่วไป เช่น ทีวี นิตยสาร เป็นแหล่งในการเลือก ซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อใหม่ ๆ 53.3% เหตุผลในการตัดสินใจเลือกซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อใหม่ ๆ 57.8% เห็นว่า เครื่องสาอาง สมุนไพรนั้นได้รับรองจากหน่วยงานของรัฐ เช่น อย. หรือ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เป็นต้น กลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป สถานที่ซื้อ ซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรจากร้านขายเครื่องสาอาง ร้านค้าปลีกต่าง ๆ เช่น วัตสัน บู๊ทส์ และ ห้างสรรพสินค้า 28.6% เท่ากัน การรับรู้สมุนไพรใหม่ๆ กลุ่มนี้รับรู้จากสื่อโฆษณาทั่วไป เช่น ทีวี นิตยสาร เป็นแหล่งในการเลือก ซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อใหม่ ๆ 57.1% เหตุผลในการตัดสินใจเลือกซื้อเครื่องสาอางสมุนไพรยี่ห้อใหม่ ๆ 57.1% เห็นว่า เครื่องสาอาง สมุนไพรนั้นได้รับรองจากหน่วยงานของรัฐ เช่น อย. หรือ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เป็นต้น