SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
๑๒.๔ ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
ชาคริต สิทธิเวช
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
Source: https://californiainnocenceproject.org/wp-content/uploads/2014/10/compensation.jpg
คำถาม (๑)
“ข้อสัญญา “หมายความว่าอย่างไร
“ผู้บริโภค” หมายความว่าอย่างไร
“ผู้ประกอบธุรกิจการค้าหรือวิชาชีพ”
หมายความว่าอย่างไร
“สัญญาสำเร็จรูป” หมายความว่าอย่างไร
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมตามนัยมาตรา ๔ วรรค
หนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่
เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ มีลักษณะอย่างไร และมี
ผลอย่างไร
ในกรณีที่มีข้อสงสัย การตีความสัญญา
สำเร็จรูปต้องกระทำในลักษณะเช่นใด
ข้อตกลงที่มีลักษณะอย่างไร เป็นข้อตกลงที่
อาจถือได้ว่าทำให้คู่สัญญาฝ่ายหนึ่งได้เปรียบ
คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง ตามนัยมาตรา ๔ วรรค
สาม แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่
เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐
ในการพิจารณาข้อตกลงที่ทำให้ได้เปรียบคู่
สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งตามมาตรา ๔ วรรคสาม
แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็น
ธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ ว่าจะเป็นการได้เปรียบเกิน
สมควรหรือไม่ ต้องดำเนินการอย่างไร
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
2
คำถาม (๒)
ข้อตกลงลักษณะใดที่จัดว่าเป็นข้อตกลงที่
ทำให้ผู้ถูกจำกัดสิทธิ หรือเสรีภาพ ต้องรับ
ภาระมากกว่าที่จะพึงคาดหมายได้ตาม
ปกติ ตามนัยมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง แห่งพระ
ราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
พ.ศ. ๒๕๔๐ และมีผลอย่างไร
ในการวินิจฉัยว่าข้อตกลงตามมาตรา ๕
วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อ
สัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ ทำให้ผู้
ถูกจำกัดสิทธิ หรือเสรีภาพ ต้องรับภาระ
มากกว่าที่จะพึงคาดหมายได้หรือไม่ ต้อง
ดำเนินการอย่างไร
ข้อตกลงยกเว้น หรือจำกัดความรับผิด ใน
ลักษณะใด ที่ต้องห้ามตามนัยมาตรา
๖ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่
ไม่เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ มีข้อยกเว้น
ประการใด และข้อยกเว้นเช่นว่านั้นมีผลอ
ย่างไร
มาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อ
สัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ บัญญัติ
เกี่ยวกับสัญญาที่มีการให้สิ่งใดไว้เป็น
มัดจำไว้ประการใด
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
3
คำถาม (๓)
ข้อตกลง ประกาศ หรือคำแจ้งความ ที่ได้ทำไว้ล่วง
หน้า ในลักษณะใด ที่จะนำมาอ้างเป็นข้อยกเว้น หรือ
จำกัดความรับผิด ไม่ได้
ข้อตกลง ประกาศ หรือคำแจ้งความ ที่ได้ทำไว้ล่วง
หน้า เพื่อยกเว้น หรือจำกัดความรับผิด ในกรณีอื่น
นอกจากที่กล่าวในมาตรา ๘ วรรคหนึ่ง แห่งพระราช
บัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ ซึ่ง
ไม่เป็นโมฆะ มีผลอย่างไร
มาตรา ๙ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่
เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ บัญญัติให้ความตกลง หรือ
ความยินยอม ของผู้เสียหาย สำหรับการกระทำที่ต้อง
ห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย หรือขัดต่อความสงบ
เรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน มีผลอย่าง
ไร
ในการวินิจฉัยว่าข้อสัญญาจะมีผลบังคับเพียงใดจึงจะ
เป็นธรรม และพอสมควรแก่กรณี หรือไม่ มาตรา
๑๐ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็น
ธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ บัญญัติให้พิเคราะห์อย่างไร
ข้อสัญญาลักษณะใด ที่มาตรา ๑๑ แห่งพระราช
บัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐
บัญญัติให้เป็นโมฆะ
พระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ.
๒๕๔๐ ไม่ใช้บังคับแก่นิติกรรม หรือสัญญา ที่ทำขึ้น
เมื่อใด
มีกรณีใดบ้าง ที่ศาลอาจขอให้ผู้ทรงคุณวุฒิ หรือผู้
เชี่ยวชาญ มาให้ความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณา
พิพากษาได้
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
4
5
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
5
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ
เนื่องจากหลักกฎหมายเกี่ยวกับนิติกรรมหรือสัญญาที่ใช้บังคับอยู่มีพื้น
ฐานมาจากเสรีภาพของบุคคล ตามหลักของความศักดิ์สิทธิ์ของการ
แสดงเจตนา รัฐจะไม่เข้าแทรกแซงแม้ว่าคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งได้เปรียบคู่
สัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง เว้นแต่จะเป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมายหรือ
ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน แต่ในปัจจุบัน
สภาพสังคมเปลี่ยนแปลงไป ทำให้ผู้ซึ่งมีอำนาจต่อรองทางเศรษฐกิจ
เหนือกว่าถือโอกาสอาศัยหลักดังกล่าวเอาเปรียบคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง
ซึ่งมีอำนาจต่อรองทางเศรษฐกิจด้อยกว่าอย่างมาก ซึ่งทำให้เกิดความ
ไม่เป็นธรรมและไม่สงบสุขในสังคม สมควรที่รัฐจะกำหนดกรอบของการ
ใช้หลักความศักดิ์สิทธิ์ของการแสดงเจตนาและเสรีภาพของบุคคล เพื่อ
แก้ไขความไม่เป็นธรรมและความไม่สงบสุขในสังคมดังกล่าว โดย
กำหนดแนวทางให้แก่ศาลเพื่อใช้ในการพิจารณาว่าข้อสัญญาหรือข้อ
ตกลงใดที่ไม่เป็นธรรม และให้อำนาจแก่ศาลที่จะสั่งให้ข้อสัญญาหรือข้อ
ตกลงที่ไม่เป็นธรรมนั้นมีผลใช้บังคับเท่าที่เป็นธรรมและพอสมควรแก่
กรณี จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
6
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
6
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้
“ข้อสัญญา” หมายความว่า ข้อตกลง ความตกลง และความยินยอม
รวมทั้งประกาศ และคำแจ้งความเพื่อยกเว้นหรือจำกัดความรับผิดด้วย
“ผู้บริโภค” หมายความว่า ผู้เข้าทำสัญญาในฐานะผู้ซื้อ ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อ
ผู้กู้ ผู้เอาประกันภัย หรือผู้เข้าทำสัญญาอื่นใดเพื่อให้ได้มา ซึ่งทรัพย์สิน บริการ
หรือประโยชน์อื่นใดโดยมีค่าตอบแทน ทั้งนี้ การเข้าทำสัญญานั้นต้องเป็นไป
โดยมิใช่เพื่อการค้า ทรัพย์สิน บริการ หรือประโยชน์อื่นใดนั้น และให้
หมายความรวมถึงผู้เข้าทำสัญญาในฐานะผู้ค้ำประกันของบุคคลดังกล่าวซึ่งมิได้
กระทำเพื่อการค้าด้วย
“ผู้ประกอบธุรกิจการค้าหรือวิชาชีพ” หมายความว่า ผู้เข้าทำสัญญาใน
ฐานะผู้ขาย ผู้ให้เช่า ผู้ให้เช่าซื้อ ผู้ให้กู้ ผู้รับประกันภัย หรือผู้เข้าทำสัญญาอื่น
ใดเพื่อจัดให้ซึ่งทรัพย์สิน บริการ หรือประโยชน์อื่นใด ทั้งนี้ การเข้าทำสัญญา
นั้นต้องเป็นไปเพื่อการค้า ทรัพย์สิน บริการ หรือประโยชน์อื่นใดนั้นเป็นทางค้า
ปกติของตน
“สัญญาสำเร็จรูป” หมายความว่า สัญญาที่ทำเป็นลายลักษณ์อักษรโดย
มีการกำหนดข้อสัญญาที่เป็นสาระสำคัญไว้ล่วงหน้า ไม่ว่าจะทำในรูปแบบใด
ซึ่งคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดนำมาใช้ในการประกอบกิจการของตน
7
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
7
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
มาตรา ๔ ข้อตกลงในสัญญาระหว่างผู้บริโภคกับผู้ประกอบธุรกิจการค้า หรือวิชาชีพ หรือในสัญญา
สำเร็จรูป หรือในสัญญาขายฝากที่ทำให้ผู้ประกอบธุรกิจการค้า หรือวิชาชีพ หรือผู้กำหนดสัญญาสำเร็จรูป หรือ
ผู้ซื้อฝากได้เปรียบคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งเกินสมควร เป็นข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม และให้มีผลบังคับได้เพียงเท่าที่
เป็นธรรมและพอสมควรแก่กรณีเท่านั้น
ในกรณีที่มีข้อสงสัย ให้ตีความสัญญาสำเร็จรูปไปในทางที่เป็นคุณแก่ฝ่ายซึ่งมิได้เป็นผู้กำหนดสัญญา
สำเร็จรูปนั้น
ข้อตกลงที่มีลักษณะหรือมีผลให้คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งปฏิบัติหรือรับภาระเกินกว่าที่วิญญูชนจะพึงคาด
หมายได้ตามปกติ เป็นข้อตกลงที่อาจถือได้ว่าทำให้ได้เปรียบคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง เช่น
(๑) ข้อตกลงยกเว้นหรือจำกัดความรับผิดที่เกิดจากการผิดสัญญา
(๒) ข้อตกลงให้ต้องรับผิดหรือรับภาระมากกว่าที่กฎหมายกำหนด
(๓) ข้อตกลงให้สัญญาสิ้นสุดลงโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร หรือให้สิทธิบอกเลิกสัญญาได้โดยอีกฝ่าย
หนึ่งมิได้ผิดสัญญาในข้อสาระสำคัญ
(๔) ข้อตกลงให้สิทธิที่จะไม่ปฏิบัติตามสัญญาข้อหนึ่งข้อใด หรือปฏิบัติตามสัญญาในระยะเวลาที่
ล่าช้าได้โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร
(๕) ข้อตกลงให้สิทธิคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งเรียกร้องหรือกำหนดให้อีกฝ่ายหนึ่งต้องรับภาระเพิ่มขึ้น
มากกว่าภาระที่เป็นอยู่ในเวลาทำสัญญา
(๖) ข้อตกลงในสัญญาขายฝากที่ผู้ซื้อฝากกำหนดราคาสินไถ่สูงกว่าราคาขายบวกอัตราดอกเบี้ยเกิน
กว่าร้อยละสิบห้าต่อปี
(๗) ข้อตกลงในสัญญาเช่าซื้อที่กำหนดราคาค่าเช่าซื้อ หรือกำหนดให้ผู้เช่าซื้อต้องรับภาระสูงเกิน
กว่าที่ควร
(๘) ข้อตกลงในสัญญาบัตรเครดิตที่กำหนดให้ผู้บริโภคต้องชำระดอกเบี้ย เบี้ยปรับ ค่าใช้จ่ายหรือ
ประโยชน์อื่นใดสูงเกินกว่าที่ควรในกรณีที่ผิดนัดหรือที่เกี่ยวเนื่องกับการผิดนัดชำระหนี้
(๙) ข้อตกลงที่กำหนดวิธีคิดดอกเบี้ยทบต้นที่ทำให้ผู้บริโภคต้องรับภาระสูงเกินกว่าที่ควร
ในการพิจารณาข้อตกลงที่ทำให้ได้เปรียบคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งตามวรรคสาม จะเป็นการได้เปรียบ
เกินสมควรหรือไม่ ให้นำมาตรา ๑๐ มาใช้โดยอนุโลม
8
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
8
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
มาตรา ๕ ข้อตกลงจำกัดสิทธิหรือเสรีภาพในการประกอบ
อาชีพการงาน หรือการทำนิติกรรมที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจการ
ค้าหรือวิชาชีพซึ่งไม่เป็นโมฆะ แต่เป็นข้อตกลงที่ทำให้ผู้ถูกจำกัดสิทธิ
หรือเสรีภาพต้องรับภาระมากกว่าที่จะพึงคาดหมายได้ตามปกติ ให้มี
ผลบังคับได้เพียงเท่าที่เป็นธรรมและพอสมควรแก่กรณีเท่านั้น
ในการวินิจฉัยว่าข้อตกลงตามวรรคหนึ่งทำให้ผู้ถูกจำกัดสิทธิ
หรือเสรีภาพต้องรับภาระมากกว่าที่จะพึงคาดหมายได้หรือไม่ ให้
พิเคราะห์ถึงขอบเขตในด้านพื้นที่และระยะเวลาของการจำกัดสิทธิหรือ
เสรีภาพ รวมทั้งความสามารถและโอกาสในการประกอบอาชีพการ
งานหรือการทำนิติกรรมในรูปแบบอื่นหรือกับบุคคลอื่นของผู้ถูกจำกัด
สิทธิหรือเสรีภาพ ประกอบกับทางได้เสียทุกอย่างอันชอบด้วย
กฎหมายของคู่สัญญาด้วย
9
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
9
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
มาตรา ๖ สัญญาระหว่างผู้บริโภคกับผู้ประกอบธุรกิจ
การค้าหรือวิชาชีพที่มีการชำระหนี้ด้วยการส่งมอบทรัพย์สิน
ให้แก่ผู้บริโภค จะมีข้อตกลงยกเว้นหรือจำกัดความรับผิดของ
ผู้ประกอบธุรกิจการค้าหรือวิชาชีพเพื่อความชำรุดบกพร่อง
หรือเพื่อการรอนสิทธิไม่ได้ เว้นแต่ผู้บริโภคได้รู้ถึงความชำรุด
บกพร่องหรือเหตุแห่งการรอนสิทธิอยู่แล้วในขณะทำสัญญา
ในกรณีนี้ให้ข้อตกลงยกเว้นหรือจำกัดความรับผิดนั้นมีผล
บังคับได้เพียงเท่าที่เป็นธรรมและพอสมควรแก่กรณีเท่านั้น
10
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
10
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
มาตรา ๗ ในสัญญาที่มีการให้สิ่งใดไว้เป็นมัดจำ หากมี
กรณีที่จะต้องริบมัดจำถ้ามัดจำนั้นสูงเกินส่วน ศาลจะลดลงให้
ริบได้เพียงเท่าความเสียหายที่แท้จริงก็ได้
11
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
11
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
มาตรา ๘ ข้อตกลง ประกาศ หรือคำแจ้งความที่ได้ทำไว้
ล่วงหน้า เพื่อยกเว้นหรือจำกัดความรับผิดเพื่อละเมิดหรือผิด
สัญญาในความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนามัยของผู้อื่น
อันเกิดจากการกระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อของผู้
ตกลง ผู้ประกาศ ผู้แจ้งความ หรือของบุคคลอื่นซึ่งผู้ตกลง ผู้
ประกาศ หรือผู้แจ้งความต้องรับผิดด้วย จะนำมาอ้างเป็นข้อ
ยกเว้นหรือจำกัดความรับผิดไม่ได้
ข้อตกลง ประกาศ หรือคำแจ้งความที่ได้ทำไว้ล่วงหน้า
เพื่อยกเว้นหรือจำกัดความรับผิดในกรณีอื่นนอกจากที่กล่าว
ในวรรคหนึ่ง ซึ่งไม่เป็นโมฆะ ให้มีผลบังคับได้เพียงเท่าที่เป็น
ธรรมและพอสมควรแก่กรณีเท่านั้น
12
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
12
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
มาตรา ๙ ความตกลงหรือความยินยอมของผู้เสียหาย
สำหรับการกระทำที่ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย หรือขัดต่อ
ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน จะนำมา
อ้างเป็นเหตุยกเว้นหรือจำกัดความรับผิดเพื่อละเมิดมิได้
13
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
13
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
มาตรา ๑๐ ในการวินิจฉัยว่าข้อสัญญาจะมีผลบังคับ
เพียงใดจึงจะเป็นธรรมและพอสมควรแก่กรณี ให้พิเคราะห์ถึง
พฤติการณ์ทั้งปวง รวมทั้ง
(๑) ความสุจริต อำนาจต่อรอง ฐานะทางเศรษฐกิจ
ความรู้ความเข้าใจ ความสันทัดจัดเจน ความคาดหมาย
แนวทางที่เคยปฏิบัติ ทางเลือกอย่างอื่น และทางได้เสียทุก
อย่างของคู่สัญญาตามสภาพที่เป็นจริง
(๒) ปกติประเพณีของสัญญาชนิดนั้น
(๓) เวลาและสถานที่ในการทำสัญญาหรือในการปฏิบัติ
ตามสัญญา
(๔) การรับภาระที่หนักกว่ามากของคู่สัญญาฝ่ายหนึ่ง
เมื่อเปรียบเทียบกับคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง
14
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
14
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
มาตรา ๑๑ ข้อสัญญาใดที่มิให้นำบทบัญญัติแห่งพระ
ราชบัญญัตินี้ไปใช้บังคับไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ข้อสัญญา
นั้นเป็นโมฆะ
คำถาม???
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
15
ดังนั้น (๑)
“ข้อสัญญา “หมายความว่าอย่างไร
“ผู้บริโภค” หมายความว่าอย่างไร
“ผู้ประกอบธุรกิจการค้าหรือวิชาชีพ”
หมายความว่าอย่างไร
“สัญญาสำเร็จรูป” หมายความว่าอย่างไร
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมตามนัยมาตรา ๔ วรรค
หนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่
เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ มีลักษณะอย่างไร และมี
ผลอย่างไร
ในกรณีที่มีข้อสงสัย การตีความสัญญา
สำเร็จรูปต้องกระทำในลักษณะเช่นใด
ข้อตกลงที่มีลักษณะอย่างไร เป็นข้อตกลงที่
อาจถือได้ว่าทำให้คู่สัญญาฝ่ายหนึ่งได้เปรียบ
คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง ตามนัยมาตรา ๔ วรรค
สาม แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่
เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐
ในการพิจารณาข้อตกลงที่ทำให้ได้เปรียบคู่
สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งตามมาตรา ๔ วรรคสาม
แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็น
ธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ ว่าจะเป็นการได้เปรียบเกิน
สมควรหรือไม่ ต้องดำเนินการอย่างไร
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
16
ดังนั้น (๒)
ข้อตกลงลักษณะใดที่จัดว่าเป็นข้อตกลงที่
ทำให้ผู้ถูกจำกัดสิทธิ หรือเสรีภาพ ต้องรับ
ภาระมากกว่าที่จะพึงคาดหมายได้ตาม
ปกติ ตามนัยมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง แห่งพระ
ราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
พ.ศ. ๒๕๔๐ และมีผลอย่างไร
ในการวินิจฉัยว่าข้อตกลงตามมาตรา ๕
วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อ
สัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ ทำให้ผู้
ถูกจำกัดสิทธิ หรือเสรีภาพ ต้องรับภาระ
มากกว่าที่จะพึงคาดหมายได้หรือไม่ ต้อง
ดำเนินการอย่างไร
ข้อตกลงยกเว้น หรือจำกัดความรับผิด ใน
ลักษณะใด ที่ต้องห้ามตามนัยมาตรา
๖ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่
ไม่เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ มีข้อยกเว้น
ประการใด และข้อยกเว้นเช่นว่านั้นมีผลอ
ย่างไร
มาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อ
สัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ บัญญัติ
เกี่ยวกับสัญญาที่มีการให้สิ่งใดไว้เป็น
มัดจำไว้ประการใด
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
17
ดังนั้น (๓)
ข้อตกลง ประกาศ หรือคำแจ้งความ ที่ได้ทำไว้ล่วง
หน้า ในลักษณะใด ที่จะนำมาอ้างเป็นข้อยกเว้น หรือ
จำกัดความรับผิด ไม่ได้
ข้อตกลง ประกาศ หรือคำแจ้งความ ที่ได้ทำไว้ล่วง
หน้า เพื่อยกเว้น หรือจำกัดความรับผิด ในกรณีอื่น
นอกจากที่กล่าวในมาตรา ๘ วรรคหนึ่ง แห่งพระราช
บัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ ซึ่ง
ไม่เป็นโมฆะ มีผลอย่างไร
มาตรา ๙ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่
เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ บัญญัติให้ความตกลง หรือ
ความยินยอม ของผู้เสียหาย สำหรับการกระทำที่ต้อง
ห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย หรือขัดต่อความสงบ
เรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน มีผลอย่าง
ไร
ในการวินิจฉัยว่าข้อสัญญาจะมีผลบังคับเพียงใดจึงจะ
เป็นธรรม และพอสมควรแก่กรณี หรือไม่ มาตรา
๑๐ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็น
ธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ บัญญัติให้พิเคราะห์อย่างไร
ข้อสัญญาลักษณะใด ที่มาตรา ๑๑ แห่งพระราช
บัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐
บัญญัติให้เป็นโมฆะ
พระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ.
๒๕๔๐ ไม่ใช้บังคับแก่นิติกรรม หรือสัญญา ที่ทำขึ้น
เมื่อใด
มีกรณีใดบ้าง ที่ศาลอาจขอให้ผู้ทรงคุณวุฒิ หรือผู้
เชี่ยวชาญ มาให้ความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณา
พิพากษาได้
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
18
คำถามเพิ่มเติม???
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
19
สัปดาห์หน้า
ความหมาย ลักษณะ และผล แห่งจัดการงานนอกสั่ง
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
20

More Related Content

Viewers also liked

การประกอบอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
การประกอบอุตสาหกรรมปิโตรเลียมการประกอบอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
การประกอบอุตสาหกรรมปิโตรเลียมChacrit Sitdhiwej
 
Omass - Addressing and Overcoming Investment and M&A Difficulties : from Viet...
Omass - Addressing and Overcoming Investment and M&A Difficulties : from Viet...Omass - Addressing and Overcoming Investment and M&A Difficulties : from Viet...
Omass - Addressing and Overcoming Investment and M&A Difficulties : from Viet...Dr. Oliver Massmann
 
ความหมาย ลักษณะ และผล ของจัดการงานนอกสั่ง
ความหมาย ลักษณะ และผล ของจัดการงานนอกสั่งความหมาย ลักษณะ และผล ของจัดการงานนอกสั่ง
ความหมาย ลักษณะ และผล ของจัดการงานนอกสั่งChacrit Sitdhiwej
 
อายุความใช้สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายอันเกิดแต่มูลละเมิด
อายุความใช้สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายอันเกิดแต่มูลละเมิดอายุความใช้สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายอันเกิดแต่มูลละเมิด
อายุความใช้สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายอันเกิดแต่มูลละเมิดChacrit Sitdhiwej
 
ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายต่อเสรีภาพ
ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายต่อเสรีภาพค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายต่อเสรีภาพ
ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายต่อเสรีภาพChacrit Sitdhiwej
 
ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายต่อร่างกาย หรืออนามัย
ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายต่อร่างกาย หรืออนามัยค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายต่อร่างกาย หรืออนามัย
ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายต่อร่างกาย หรืออนามัยChacrit Sitdhiwej
 
ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายต่อทรัพย์
ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายต่อทรัพย์ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายต่อทรัพย์
ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายต่อทรัพย์Chacrit Sitdhiwej
 
ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายต่อชีวิต
ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายต่อชีวิตค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายต่อชีวิต
ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายต่อชีวิตChacrit Sitdhiwej
 
การพิจารณาปัญหา
การพิจารณาปัญหาการพิจารณาปัญหา
การพิจารณาปัญหาChacrit Sitdhiwej
 
การควบคุมอุตสาหกรรมปิโตรเลียม (๑)
การควบคุมอุตสาหกรรมปิโตรเลียม (๑)การควบคุมอุตสาหกรรมปิโตรเลียม (๑)
การควบคุมอุตสาหกรรมปิโตรเลียม (๑)Chacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากยานพาหนะอันเดินด้วยกำลังเครื่องจักรกล หรื...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากยานพาหนะอันเดินด้วยกำลังเครื่องจักรกล หรื...ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากยานพาหนะอันเดินด้วยกำลังเครื่องจักรกล หรื...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากยานพาหนะอันเดินด้วยกำลังเครื่องจักรกล หรื...Chacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อการก่อให้เกิด หรือเป็นแหล่งกำเนิดของการรั่วไหล หรือแพร่กระจายข...
ความรับผิดเพื่อการก่อให้เกิด หรือเป็นแหล่งกำเนิดของการรั่วไหล หรือแพร่กระจายข...ความรับผิดเพื่อการก่อให้เกิด หรือเป็นแหล่งกำเนิดของการรั่วไหล หรือแพร่กระจายข...
ความรับผิดเพื่อการก่อให้เกิด หรือเป็นแหล่งกำเนิดของการรั่วไหล หรือแพร่กระจายข...Chacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย
ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัยความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย
ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัยChacrit Sitdhiwej
 
กฎหมายว่าด้วยการจัดการที่ดิน (๑)
กฎหมายว่าด้วยการจัดการที่ดิน (๑)กฎหมายว่าด้วยการจัดการที่ดิน (๑)
กฎหมายว่าด้วยการจัดการที่ดิน (๑)Chacrit Sitdhiwej
 
An introduction to the petroleum industry
An introduction to the petroleum industryAn introduction to the petroleum industry
An introduction to the petroleum industryChacrit Sitdhiwej
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)Chacrit Sitdhiwej
 
ความหมาย ลักษณะ และผล ของลาภมิควรได้
ความหมาย ลักษณะ และผล ของลาภมิควรได้ความหมาย ลักษณะ และผล ของลาภมิควรได้
ความหมาย ลักษณะ และผล ของลาภมิควรได้Chacrit Sitdhiwej
 

Viewers also liked (19)

การประกอบอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
การประกอบอุตสาหกรรมปิโตรเลียมการประกอบอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
การประกอบอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
 
Warakorn Thongcharoen_CV
Warakorn Thongcharoen_CVWarakorn Thongcharoen_CV
Warakorn Thongcharoen_CV
 
Omass - Addressing and Overcoming Investment and M&A Difficulties : from Viet...
Omass - Addressing and Overcoming Investment and M&A Difficulties : from Viet...Omass - Addressing and Overcoming Investment and M&A Difficulties : from Viet...
Omass - Addressing and Overcoming Investment and M&A Difficulties : from Viet...
 
Oil and gas thailand 2011 v f
Oil and gas thailand 2011 v fOil and gas thailand 2011 v f
Oil and gas thailand 2011 v f
 
ความหมาย ลักษณะ และผล ของจัดการงานนอกสั่ง
ความหมาย ลักษณะ และผล ของจัดการงานนอกสั่งความหมาย ลักษณะ และผล ของจัดการงานนอกสั่ง
ความหมาย ลักษณะ และผล ของจัดการงานนอกสั่ง
 
อายุความใช้สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายอันเกิดแต่มูลละเมิด
อายุความใช้สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายอันเกิดแต่มูลละเมิดอายุความใช้สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายอันเกิดแต่มูลละเมิด
อายุความใช้สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายอันเกิดแต่มูลละเมิด
 
ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายต่อเสรีภาพ
ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายต่อเสรีภาพค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายต่อเสรีภาพ
ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายต่อเสรีภาพ
 
ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายต่อร่างกาย หรืออนามัย
ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายต่อร่างกาย หรืออนามัยค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายต่อร่างกาย หรืออนามัย
ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายต่อร่างกาย หรืออนามัย
 
ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายต่อทรัพย์
ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายต่อทรัพย์ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายต่อทรัพย์
ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายต่อทรัพย์
 
ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายต่อชีวิต
ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายต่อชีวิตค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายต่อชีวิต
ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายต่อชีวิต
 
การพิจารณาปัญหา
การพิจารณาปัญหาการพิจารณาปัญหา
การพิจารณาปัญหา
 
การควบคุมอุตสาหกรรมปิโตรเลียม (๑)
การควบคุมอุตสาหกรรมปิโตรเลียม (๑)การควบคุมอุตสาหกรรมปิโตรเลียม (๑)
การควบคุมอุตสาหกรรมปิโตรเลียม (๑)
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากยานพาหนะอันเดินด้วยกำลังเครื่องจักรกล หรื...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากยานพาหนะอันเดินด้วยกำลังเครื่องจักรกล หรื...ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากยานพาหนะอันเดินด้วยกำลังเครื่องจักรกล หรื...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากยานพาหนะอันเดินด้วยกำลังเครื่องจักรกล หรื...
 
ความรับผิดเพื่อการก่อให้เกิด หรือเป็นแหล่งกำเนิดของการรั่วไหล หรือแพร่กระจายข...
ความรับผิดเพื่อการก่อให้เกิด หรือเป็นแหล่งกำเนิดของการรั่วไหล หรือแพร่กระจายข...ความรับผิดเพื่อการก่อให้เกิด หรือเป็นแหล่งกำเนิดของการรั่วไหล หรือแพร่กระจายข...
ความรับผิดเพื่อการก่อให้เกิด หรือเป็นแหล่งกำเนิดของการรั่วไหล หรือแพร่กระจายข...
 
ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย
ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัยความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย
ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย
 
กฎหมายว่าด้วยการจัดการที่ดิน (๑)
กฎหมายว่าด้วยการจัดการที่ดิน (๑)กฎหมายว่าด้วยการจัดการที่ดิน (๑)
กฎหมายว่าด้วยการจัดการที่ดิน (๑)
 
An introduction to the petroleum industry
An introduction to the petroleum industryAn introduction to the petroleum industry
An introduction to the petroleum industry
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)
 
ความหมาย ลักษณะ และผล ของลาภมิควรได้
ความหมาย ลักษณะ และผล ของลาภมิควรได้ความหมาย ลักษณะ และผล ของลาภมิควรได้
ความหมาย ลักษณะ และผล ของลาภมิควรได้
 

Similar to ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม

ข้อตกลงทางการค้า
ข้อตกลงทางการค้าข้อตกลงทางการค้า
ข้อตกลงทางการค้าmojimaesawing
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 

Similar to ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม (6)

แผ่นพับกิ๊บ
แผ่นพับกิ๊บแผ่นพับกิ๊บ
แผ่นพับกิ๊บ
 
แผ่นพับกิ๊บ
แผ่นพับกิ๊บแผ่นพับกิ๊บ
แผ่นพับกิ๊บ
 
ข้อตกลงทางการค้า
ข้อตกลงทางการค้าข้อตกลงทางการค้า
ข้อตกลงทางการค้า
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 

More from Chacrit Sitdhiwej

ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมChacrit Sitdhiwej
 
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพสิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพChacrit Sitdhiwej
 
นิรโทษกรรม
นิรโทษกรรมนิรโทษกรรม
นิรโทษกรรมChacrit Sitdhiwej
 
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิดข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิดChacrit Sitdhiwej
 
Management of archaeological sites in Thailand
Management of archaeological sites in ThailandManagement of archaeological sites in Thailand
Management of archaeological sites in ThailandChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...Chacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์Chacrit Sitdhiwej
 
การร่วมกันทำละเมิด
การร่วมกันทำละเมิดการร่วมกันทำละเมิด
การร่วมกันทำละเมิดChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริตความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริตChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้างความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้างChacrit Sitdhiwej
 
Control of petroleum industry
Control of petroleum industryControl of petroleum industry
Control of petroleum industryChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่Chacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้างความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้างChacrit Sitdhiwej
 
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลายการกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลายChacrit Sitdhiwej
 
การทำละเมิด (๒)
การทำละเมิด (๒)การทำละเมิด (๒)
การทำละเมิด (๒)Chacrit Sitdhiwej
 
การทำละเมิด (๑)
การทำละเมิด (๑)การทำละเมิด (๑)
การทำละเมิด (๑)Chacrit Sitdhiwej
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้Chacrit Sitdhiwej
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)Chacrit Sitdhiwej
 
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐Chacrit Sitdhiwej
 

More from Chacrit Sitdhiwej (20)

ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
 
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพสิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
 
นิรโทษกรรม
นิรโทษกรรมนิรโทษกรรม
นิรโทษกรรม
 
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิดข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
 
Management of archaeological sites in Thailand
Management of archaeological sites in ThailandManagement of archaeological sites in Thailand
Management of archaeological sites in Thailand
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
 
การร่วมกันทำละเมิด
การร่วมกันทำละเมิดการร่วมกันทำละเมิด
การร่วมกันทำละเมิด
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริตความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้างความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
 
Control of petroleum industry
Control of petroleum industryControl of petroleum industry
Control of petroleum industry
 
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้างความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
 
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลายการกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
 
การทำละเมิด (๒)
การทำละเมิด (๒)การทำละเมิด (๒)
การทำละเมิด (๒)
 
การทำละเมิด (๑)
การทำละเมิด (๑)การทำละเมิด (๑)
การทำละเมิด (๑)
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
 
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
 

ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม

  • 1. ๑๒.๔ ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม ชาคริต สิทธิเวช chacrit.wordpress.com น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒) Source: https://californiainnocenceproject.org/wp-content/uploads/2014/10/compensation.jpg
  • 2. คำถาม (๑) “ข้อสัญญา “หมายความว่าอย่างไร “ผู้บริโภค” หมายความว่าอย่างไร “ผู้ประกอบธุรกิจการค้าหรือวิชาชีพ” หมายความว่าอย่างไร “สัญญาสำเร็จรูป” หมายความว่าอย่างไร ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมตามนัยมาตรา ๔ วรรค หนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่ เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ มีลักษณะอย่างไร และมี ผลอย่างไร ในกรณีที่มีข้อสงสัย การตีความสัญญา สำเร็จรูปต้องกระทำในลักษณะเช่นใด ข้อตกลงที่มีลักษณะอย่างไร เป็นข้อตกลงที่ อาจถือได้ว่าทำให้คู่สัญญาฝ่ายหนึ่งได้เปรียบ คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง ตามนัยมาตรา ๔ วรรค สาม แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่ เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ ในการพิจารณาข้อตกลงที่ทำให้ได้เปรียบคู่ สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งตามมาตรา ๔ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็น ธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ ว่าจะเป็นการได้เปรียบเกิน สมควรหรือไม่ ต้องดำเนินการอย่างไร chacrit.wordpress.com น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒) 2
  • 3. คำถาม (๒) ข้อตกลงลักษณะใดที่จัดว่าเป็นข้อตกลงที่ ทำให้ผู้ถูกจำกัดสิทธิ หรือเสรีภาพ ต้องรับ ภาระมากกว่าที่จะพึงคาดหมายได้ตาม ปกติ ตามนัยมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง แห่งพระ ราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ และมีผลอย่างไร ในการวินิจฉัยว่าข้อตกลงตามมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อ สัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ ทำให้ผู้ ถูกจำกัดสิทธิ หรือเสรีภาพ ต้องรับภาระ มากกว่าที่จะพึงคาดหมายได้หรือไม่ ต้อง ดำเนินการอย่างไร ข้อตกลงยกเว้น หรือจำกัดความรับผิด ใน ลักษณะใด ที่ต้องห้ามตามนัยมาตรา ๖ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ ไม่เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ มีข้อยกเว้น ประการใด และข้อยกเว้นเช่นว่านั้นมีผลอ ย่างไร มาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อ สัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ บัญญัติ เกี่ยวกับสัญญาที่มีการให้สิ่งใดไว้เป็น มัดจำไว้ประการใด chacrit.wordpress.com น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒) 3
  • 4. คำถาม (๓) ข้อตกลง ประกาศ หรือคำแจ้งความ ที่ได้ทำไว้ล่วง หน้า ในลักษณะใด ที่จะนำมาอ้างเป็นข้อยกเว้น หรือ จำกัดความรับผิด ไม่ได้ ข้อตกลง ประกาศ หรือคำแจ้งความ ที่ได้ทำไว้ล่วง หน้า เพื่อยกเว้น หรือจำกัดความรับผิด ในกรณีอื่น นอกจากที่กล่าวในมาตรา ๘ วรรคหนึ่ง แห่งพระราช บัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ ซึ่ง ไม่เป็นโมฆะ มีผลอย่างไร มาตรา ๙ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่ เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ บัญญัติให้ความตกลง หรือ ความยินยอม ของผู้เสียหาย สำหรับการกระทำที่ต้อง ห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย หรือขัดต่อความสงบ เรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน มีผลอย่าง ไร ในการวินิจฉัยว่าข้อสัญญาจะมีผลบังคับเพียงใดจึงจะ เป็นธรรม และพอสมควรแก่กรณี หรือไม่ มาตรา ๑๐ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็น ธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ บัญญัติให้พิเคราะห์อย่างไร ข้อสัญญาลักษณะใด ที่มาตรา ๑๑ แห่งพระราช บัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ บัญญัติให้เป็นโมฆะ พระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ ไม่ใช้บังคับแก่นิติกรรม หรือสัญญา ที่ทำขึ้น เมื่อใด มีกรณีใดบ้าง ที่ศาลอาจขอให้ผู้ทรงคุณวุฒิ หรือผู้ เชี่ยวชาญ มาให้ความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณา พิพากษาได้ chacrit.wordpress.com น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒) 4
  • 6. 5 chacrit.wordpress.com น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒) หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากหลักกฎหมายเกี่ยวกับนิติกรรมหรือสัญญาที่ใช้บังคับอยู่มีพื้น ฐานมาจากเสรีภาพของบุคคล ตามหลักของความศักดิ์สิทธิ์ของการ แสดงเจตนา รัฐจะไม่เข้าแทรกแซงแม้ว่าคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งได้เปรียบคู่ สัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง เว้นแต่จะเป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมายหรือ ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน แต่ในปัจจุบัน สภาพสังคมเปลี่ยนแปลงไป ทำให้ผู้ซึ่งมีอำนาจต่อรองทางเศรษฐกิจ เหนือกว่าถือโอกาสอาศัยหลักดังกล่าวเอาเปรียบคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง ซึ่งมีอำนาจต่อรองทางเศรษฐกิจด้อยกว่าอย่างมาก ซึ่งทำให้เกิดความ ไม่เป็นธรรมและไม่สงบสุขในสังคม สมควรที่รัฐจะกำหนดกรอบของการ ใช้หลักความศักดิ์สิทธิ์ของการแสดงเจตนาและเสรีภาพของบุคคล เพื่อ แก้ไขความไม่เป็นธรรมและความไม่สงบสุขในสังคมดังกล่าว โดย กำหนดแนวทางให้แก่ศาลเพื่อใช้ในการพิจารณาว่าข้อสัญญาหรือข้อ ตกลงใดที่ไม่เป็นธรรม และให้อำนาจแก่ศาลที่จะสั่งให้ข้อสัญญาหรือข้อ ตกลงที่ไม่เป็นธรรมนั้นมีผลใช้บังคับเท่าที่เป็นธรรมและพอสมควรแก่ กรณี จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
  • 8. 6 chacrit.wordpress.com น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒) มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “ข้อสัญญา” หมายความว่า ข้อตกลง ความตกลง และความยินยอม รวมทั้งประกาศ และคำแจ้งความเพื่อยกเว้นหรือจำกัดความรับผิดด้วย “ผู้บริโภค” หมายความว่า ผู้เข้าทำสัญญาในฐานะผู้ซื้อ ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อ ผู้กู้ ผู้เอาประกันภัย หรือผู้เข้าทำสัญญาอื่นใดเพื่อให้ได้มา ซึ่งทรัพย์สิน บริการ หรือประโยชน์อื่นใดโดยมีค่าตอบแทน ทั้งนี้ การเข้าทำสัญญานั้นต้องเป็นไป โดยมิใช่เพื่อการค้า ทรัพย์สิน บริการ หรือประโยชน์อื่นใดนั้น และให้ หมายความรวมถึงผู้เข้าทำสัญญาในฐานะผู้ค้ำประกันของบุคคลดังกล่าวซึ่งมิได้ กระทำเพื่อการค้าด้วย “ผู้ประกอบธุรกิจการค้าหรือวิชาชีพ” หมายความว่า ผู้เข้าทำสัญญาใน ฐานะผู้ขาย ผู้ให้เช่า ผู้ให้เช่าซื้อ ผู้ให้กู้ ผู้รับประกันภัย หรือผู้เข้าทำสัญญาอื่น ใดเพื่อจัดให้ซึ่งทรัพย์สิน บริการ หรือประโยชน์อื่นใด ทั้งนี้ การเข้าทำสัญญา นั้นต้องเป็นไปเพื่อการค้า ทรัพย์สิน บริการ หรือประโยชน์อื่นใดนั้นเป็นทางค้า ปกติของตน “สัญญาสำเร็จรูป” หมายความว่า สัญญาที่ทำเป็นลายลักษณ์อักษรโดย มีการกำหนดข้อสัญญาที่เป็นสาระสำคัญไว้ล่วงหน้า ไม่ว่าจะทำในรูปแบบใด ซึ่งคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดนำมาใช้ในการประกอบกิจการของตน
  • 10. 7 chacrit.wordpress.com น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒) มาตรา ๔ ข้อตกลงในสัญญาระหว่างผู้บริโภคกับผู้ประกอบธุรกิจการค้า หรือวิชาชีพ หรือในสัญญา สำเร็จรูป หรือในสัญญาขายฝากที่ทำให้ผู้ประกอบธุรกิจการค้า หรือวิชาชีพ หรือผู้กำหนดสัญญาสำเร็จรูป หรือ ผู้ซื้อฝากได้เปรียบคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งเกินสมควร เป็นข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม และให้มีผลบังคับได้เพียงเท่าที่ เป็นธรรมและพอสมควรแก่กรณีเท่านั้น ในกรณีที่มีข้อสงสัย ให้ตีความสัญญาสำเร็จรูปไปในทางที่เป็นคุณแก่ฝ่ายซึ่งมิได้เป็นผู้กำหนดสัญญา สำเร็จรูปนั้น ข้อตกลงที่มีลักษณะหรือมีผลให้คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งปฏิบัติหรือรับภาระเกินกว่าที่วิญญูชนจะพึงคาด หมายได้ตามปกติ เป็นข้อตกลงที่อาจถือได้ว่าทำให้ได้เปรียบคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง เช่น (๑) ข้อตกลงยกเว้นหรือจำกัดความรับผิดที่เกิดจากการผิดสัญญา (๒) ข้อตกลงให้ต้องรับผิดหรือรับภาระมากกว่าที่กฎหมายกำหนด (๓) ข้อตกลงให้สัญญาสิ้นสุดลงโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร หรือให้สิทธิบอกเลิกสัญญาได้โดยอีกฝ่าย หนึ่งมิได้ผิดสัญญาในข้อสาระสำคัญ (๔) ข้อตกลงให้สิทธิที่จะไม่ปฏิบัติตามสัญญาข้อหนึ่งข้อใด หรือปฏิบัติตามสัญญาในระยะเวลาที่ ล่าช้าได้โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร (๕) ข้อตกลงให้สิทธิคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งเรียกร้องหรือกำหนดให้อีกฝ่ายหนึ่งต้องรับภาระเพิ่มขึ้น มากกว่าภาระที่เป็นอยู่ในเวลาทำสัญญา (๖) ข้อตกลงในสัญญาขายฝากที่ผู้ซื้อฝากกำหนดราคาสินไถ่สูงกว่าราคาขายบวกอัตราดอกเบี้ยเกิน กว่าร้อยละสิบห้าต่อปี (๗) ข้อตกลงในสัญญาเช่าซื้อที่กำหนดราคาค่าเช่าซื้อ หรือกำหนดให้ผู้เช่าซื้อต้องรับภาระสูงเกิน กว่าที่ควร (๘) ข้อตกลงในสัญญาบัตรเครดิตที่กำหนดให้ผู้บริโภคต้องชำระดอกเบี้ย เบี้ยปรับ ค่าใช้จ่ายหรือ ประโยชน์อื่นใดสูงเกินกว่าที่ควรในกรณีที่ผิดนัดหรือที่เกี่ยวเนื่องกับการผิดนัดชำระหนี้ (๙) ข้อตกลงที่กำหนดวิธีคิดดอกเบี้ยทบต้นที่ทำให้ผู้บริโภคต้องรับภาระสูงเกินกว่าที่ควร ในการพิจารณาข้อตกลงที่ทำให้ได้เปรียบคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งตามวรรคสาม จะเป็นการได้เปรียบ เกินสมควรหรือไม่ ให้นำมาตรา ๑๐ มาใช้โดยอนุโลม
  • 12. 8 chacrit.wordpress.com น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒) มาตรา ๕ ข้อตกลงจำกัดสิทธิหรือเสรีภาพในการประกอบ อาชีพการงาน หรือการทำนิติกรรมที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจการ ค้าหรือวิชาชีพซึ่งไม่เป็นโมฆะ แต่เป็นข้อตกลงที่ทำให้ผู้ถูกจำกัดสิทธิ หรือเสรีภาพต้องรับภาระมากกว่าที่จะพึงคาดหมายได้ตามปกติ ให้มี ผลบังคับได้เพียงเท่าที่เป็นธรรมและพอสมควรแก่กรณีเท่านั้น ในการวินิจฉัยว่าข้อตกลงตามวรรคหนึ่งทำให้ผู้ถูกจำกัดสิทธิ หรือเสรีภาพต้องรับภาระมากกว่าที่จะพึงคาดหมายได้หรือไม่ ให้ พิเคราะห์ถึงขอบเขตในด้านพื้นที่และระยะเวลาของการจำกัดสิทธิหรือ เสรีภาพ รวมทั้งความสามารถและโอกาสในการประกอบอาชีพการ งานหรือการทำนิติกรรมในรูปแบบอื่นหรือกับบุคคลอื่นของผู้ถูกจำกัด สิทธิหรือเสรีภาพ ประกอบกับทางได้เสียทุกอย่างอันชอบด้วย กฎหมายของคู่สัญญาด้วย
  • 14. 9 chacrit.wordpress.com น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒) มาตรา ๖ สัญญาระหว่างผู้บริโภคกับผู้ประกอบธุรกิจ การค้าหรือวิชาชีพที่มีการชำระหนี้ด้วยการส่งมอบทรัพย์สิน ให้แก่ผู้บริโภค จะมีข้อตกลงยกเว้นหรือจำกัดความรับผิดของ ผู้ประกอบธุรกิจการค้าหรือวิชาชีพเพื่อความชำรุดบกพร่อง หรือเพื่อการรอนสิทธิไม่ได้ เว้นแต่ผู้บริโภคได้รู้ถึงความชำรุด บกพร่องหรือเหตุแห่งการรอนสิทธิอยู่แล้วในขณะทำสัญญา ในกรณีนี้ให้ข้อตกลงยกเว้นหรือจำกัดความรับผิดนั้นมีผล บังคับได้เพียงเท่าที่เป็นธรรมและพอสมควรแก่กรณีเท่านั้น
  • 16. 10 chacrit.wordpress.com น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒) มาตรา ๗ ในสัญญาที่มีการให้สิ่งใดไว้เป็นมัดจำ หากมี กรณีที่จะต้องริบมัดจำถ้ามัดจำนั้นสูงเกินส่วน ศาลจะลดลงให้ ริบได้เพียงเท่าความเสียหายที่แท้จริงก็ได้
  • 18. 11 chacrit.wordpress.com น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒) มาตรา ๘ ข้อตกลง ประกาศ หรือคำแจ้งความที่ได้ทำไว้ ล่วงหน้า เพื่อยกเว้นหรือจำกัดความรับผิดเพื่อละเมิดหรือผิด สัญญาในความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนามัยของผู้อื่น อันเกิดจากการกระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อของผู้ ตกลง ผู้ประกาศ ผู้แจ้งความ หรือของบุคคลอื่นซึ่งผู้ตกลง ผู้ ประกาศ หรือผู้แจ้งความต้องรับผิดด้วย จะนำมาอ้างเป็นข้อ ยกเว้นหรือจำกัดความรับผิดไม่ได้ ข้อตกลง ประกาศ หรือคำแจ้งความที่ได้ทำไว้ล่วงหน้า เพื่อยกเว้นหรือจำกัดความรับผิดในกรณีอื่นนอกจากที่กล่าว ในวรรคหนึ่ง ซึ่งไม่เป็นโมฆะ ให้มีผลบังคับได้เพียงเท่าที่เป็น ธรรมและพอสมควรแก่กรณีเท่านั้น
  • 20. 12 chacrit.wordpress.com น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒) มาตรา ๙ ความตกลงหรือความยินยอมของผู้เสียหาย สำหรับการกระทำที่ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย หรือขัดต่อ ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน จะนำมา อ้างเป็นเหตุยกเว้นหรือจำกัดความรับผิดเพื่อละเมิดมิได้
  • 22. 13 chacrit.wordpress.com น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒) มาตรา ๑๐ ในการวินิจฉัยว่าข้อสัญญาจะมีผลบังคับ เพียงใดจึงจะเป็นธรรมและพอสมควรแก่กรณี ให้พิเคราะห์ถึง พฤติการณ์ทั้งปวง รวมทั้ง (๑) ความสุจริต อำนาจต่อรอง ฐานะทางเศรษฐกิจ ความรู้ความเข้าใจ ความสันทัดจัดเจน ความคาดหมาย แนวทางที่เคยปฏิบัติ ทางเลือกอย่างอื่น และทางได้เสียทุก อย่างของคู่สัญญาตามสภาพที่เป็นจริง (๒) ปกติประเพณีของสัญญาชนิดนั้น (๓) เวลาและสถานที่ในการทำสัญญาหรือในการปฏิบัติ ตามสัญญา (๔) การรับภาระที่หนักกว่ามากของคู่สัญญาฝ่ายหนึ่ง เมื่อเปรียบเทียบกับคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง
  • 24. 14 chacrit.wordpress.com น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒) มาตรา ๑๑ ข้อสัญญาใดที่มิให้นำบทบัญญัติแห่งพระ ราชบัญญัตินี้ไปใช้บังคับไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ข้อสัญญา นั้นเป็นโมฆะ
  • 26. ดังนั้น (๑) “ข้อสัญญา “หมายความว่าอย่างไร “ผู้บริโภค” หมายความว่าอย่างไร “ผู้ประกอบธุรกิจการค้าหรือวิชาชีพ” หมายความว่าอย่างไร “สัญญาสำเร็จรูป” หมายความว่าอย่างไร ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมตามนัยมาตรา ๔ วรรค หนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่ เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ มีลักษณะอย่างไร และมี ผลอย่างไร ในกรณีที่มีข้อสงสัย การตีความสัญญา สำเร็จรูปต้องกระทำในลักษณะเช่นใด ข้อตกลงที่มีลักษณะอย่างไร เป็นข้อตกลงที่ อาจถือได้ว่าทำให้คู่สัญญาฝ่ายหนึ่งได้เปรียบ คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง ตามนัยมาตรา ๔ วรรค สาม แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่ เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ ในการพิจารณาข้อตกลงที่ทำให้ได้เปรียบคู่ สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งตามมาตรา ๔ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็น ธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ ว่าจะเป็นการได้เปรียบเกิน สมควรหรือไม่ ต้องดำเนินการอย่างไร chacrit.wordpress.com น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒) 16
  • 27. ดังนั้น (๒) ข้อตกลงลักษณะใดที่จัดว่าเป็นข้อตกลงที่ ทำให้ผู้ถูกจำกัดสิทธิ หรือเสรีภาพ ต้องรับ ภาระมากกว่าที่จะพึงคาดหมายได้ตาม ปกติ ตามนัยมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง แห่งพระ ราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ และมีผลอย่างไร ในการวินิจฉัยว่าข้อตกลงตามมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อ สัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ ทำให้ผู้ ถูกจำกัดสิทธิ หรือเสรีภาพ ต้องรับภาระ มากกว่าที่จะพึงคาดหมายได้หรือไม่ ต้อง ดำเนินการอย่างไร ข้อตกลงยกเว้น หรือจำกัดความรับผิด ใน ลักษณะใด ที่ต้องห้ามตามนัยมาตรา ๖ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ ไม่เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ มีข้อยกเว้น ประการใด และข้อยกเว้นเช่นว่านั้นมีผลอ ย่างไร มาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อ สัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ บัญญัติ เกี่ยวกับสัญญาที่มีการให้สิ่งใดไว้เป็น มัดจำไว้ประการใด chacrit.wordpress.com น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒) 17
  • 28. ดังนั้น (๓) ข้อตกลง ประกาศ หรือคำแจ้งความ ที่ได้ทำไว้ล่วง หน้า ในลักษณะใด ที่จะนำมาอ้างเป็นข้อยกเว้น หรือ จำกัดความรับผิด ไม่ได้ ข้อตกลง ประกาศ หรือคำแจ้งความ ที่ได้ทำไว้ล่วง หน้า เพื่อยกเว้น หรือจำกัดความรับผิด ในกรณีอื่น นอกจากที่กล่าวในมาตรา ๘ วรรคหนึ่ง แห่งพระราช บัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ ซึ่ง ไม่เป็นโมฆะ มีผลอย่างไร มาตรา ๙ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่ เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ บัญญัติให้ความตกลง หรือ ความยินยอม ของผู้เสียหาย สำหรับการกระทำที่ต้อง ห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย หรือขัดต่อความสงบ เรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน มีผลอย่าง ไร ในการวินิจฉัยว่าข้อสัญญาจะมีผลบังคับเพียงใดจึงจะ เป็นธรรม และพอสมควรแก่กรณี หรือไม่ มาตรา ๑๐ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็น ธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ บัญญัติให้พิเคราะห์อย่างไร ข้อสัญญาลักษณะใด ที่มาตรา ๑๑ แห่งพระราช บัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ บัญญัติให้เป็นโมฆะ พระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ ไม่ใช้บังคับแก่นิติกรรม หรือสัญญา ที่ทำขึ้น เมื่อใด มีกรณีใดบ้าง ที่ศาลอาจขอให้ผู้ทรงคุณวุฒิ หรือผู้ เชี่ยวชาญ มาให้ความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณา พิพากษาได้ chacrit.wordpress.com น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒) 18
  • 30. สัปดาห์หน้า ความหมาย ลักษณะ และผล แห่งจัดการงานนอกสั่ง chacrit.wordpress.com น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒) 20