SlideShare a Scribd company logo
1 of 131
Download to read offline
THAI GOLF COURSE SUPERITENDENTS ASSOCIATION

 THAI GOLF COURSE SUPERITENDENTS ASSOCIATION
การบารารุงรัรักษาสนามกอล์ฟ ฟ
    การบุ ง ก ษาสนามกอล์
  GOLF COURSE MIANTERNANT
GOLF COURSE MAINTENANCE
การเตรียมการในการดูแลสนาม
• การเตรียมอัตรากาลังคน
• - จานวนคน
• - คุณภาพของคน
• การเตรียมเครื่องมือเครื่องจักร
• - จานวน
• - คุณภาพและสภาพ
• -เหมาะสมกับงาน
• แหล่งนาและระบบนา
         ้            ้
  - ปริมาณนาที่เพียงพอ
            ้
  - คุณภาพนา  ้
  - ระบบดี
• การเตรียมการจัดหาวัสดุอุปกรณ์
  - คุณภาพ
  - ราคา
ตารางเครื่ องจักรในการดูแลสนามกอล์ ฟ


                             เครื่องจักร                     9          18       27        ราคาต่ อ      รวม
                                                            หลุม       หลุม     หลุม        หน่ วย
รถตัดแฟร์ เวย์นงขับ 5 gang
               ั่                                           1 คัน      2คัน     3 คัน      1,800,000   5,400,000
รถตัด TEE-OFF นังขับ 3 gang
                ่                                           1 คัน      2 คัน       3       1,300,000   3,000,000
รถตัด COLLAR FAIRWAY 3 gang                                 1คัน       2 คัน    3 คัน      1,300,000   3,900,000
รถตัดรัฟนังขับ 5 gang
          ่                                                 1 คัน      2 คัน    3 คัน      2,500,000   7,500,000
เครื่ องตักรี นแบบเดินตาม                                     3        6          9        300,000     2,700,000
                                                            เครื่ อง เครื่ อง   เครื่ อง
FLY MOWตัดสโลปบังเกอร์                                        3        6          9         40,000     280,000
                                                            เครื่ อง เครื่ อง   เครื่ อง
เครื่ องตัดหญ้าสายสะพาย                                       5        10         15        9,000      135,000
                                                            เครื่ อง เครื่ อง   เครื่ อง
รถพ่นสารเคมีแบบนังขับ
                 ่                                          1 คัน      1 คัน    2 คัน      1,400,000   1,400,000
เครื่ องเจาะกรี น                                             1        1          1        900,000     900,000
                                                            เครื่ อง เครื่ อง   เครื่ อง
เครื่ องเจาะแฟร์เวย์                                          1        1          1        900,000     900,000
                                                            เครื่ อง เครื่ อง   เครื่ อง
เครื่ องกรี ดแฟร์ เวย์                                        1          1         1       500ล000     500,000
รถพ่นสารเคมีแบบนังขับ
                 ่                1 คัน        1 คัน        2 คัน       1,400,000    1,400,000
เครื่ องเจาะกรี น                1 เครื่ อง   1 เครื่ อง   1เครื่ อง    900,000       900,000
เครื่ องเจาะแฟร์เวย์             1 เครื่ อง   1 เครื่ อง   1เครื่ อง    900,000       900,000
เครื่ องกรี ดแฟร์ เวย์               1            1            1        500ล000       500,000
เครื่ อง TOPDRESS FAIRWAY            1            1            1        450,000       450,000
เครื่ อง TOPDRESS GREENS             1            1            1        1,400,000    1,400,000
เครื่ องดูดเก็บใบไม้             1 เครื่ อง   1 เครื่ อง   2เครื่ อง    1,000,000    2,000,000
เครื่ องเป่ าพ่วงท้ายแทรคเตอร์   1 เครื่ อง   2 เครื่ อง   3เครื่ อง    250,000       750,000
เครื่ องเป่ าสะพายหลัง           2 เครื่ อง   4 เครื่ อง   6 เครื่ อง    36,000       216,000
เครื่ องตัดขอบบังเกอร์           1 เครื่ อง   2 เครื่ อง   3เครื่ อง     36,000       108,000
รถขุดหน้าตักหลัง                  1 คัน         1คัน         1คัน       2,500,000    2,500,000
รถหกล้อดัม
         ๊                        1 คัน         1คัน         1คัน       900,000       900,000
           ่
แทรคเตอร์ พวงเครื่ องจักร         2 คัน        4 คัน        6 คัน       1,000,000    6,000,000
เครื่ องแซะหญ้า                  1 เครื่ อง   1 เครื่ อง   1เครื่ อง     250,000      250,000
เทลเล่อรับส่ งเครื่ องจักร        1 คัน        2 คัน         3คัน        120,000      360,000
รถคราดทราย                        1 คัน        2 คัน         3คัน       500,000      1,000,000
รถสาหรับงานระบบน้ า               1 คัน                      1คัน       100,000       100,000

รถช่าง                            1 คัน        1 คัน        1 คัน       100,000       100,000
รถสาหรับหัวหน้างาน                1 คัน        2 คัน        3 คัน       100,000       300,000

                                                                          รวม       42,149,000
ส่ วนประกอบหลักของสนาม

•   THE PUTTING GREENS
•   THE TEE
•   THE FAIRWAY
•   THE ROUGH
•   THE BUNKER
•   LANDSCAPE
ส่ วนประกอบของสนาม

                             GREEN
                           BUNKER




                   ROUGH



      FAIRWAY

TEE

                   R          R R
                   O          O O
                              U U
                                G
THE PUTTING GREENS
THE PUTTING GREENS
• กรี นเป็ นส่ วนหนึ่งของสนามที่มีความสาคัญเป็ นอันดับหนึ่ งทั้งในด้านการดูแลรัษา
  และเกมส์กอล์ฟ ในการเล่นกอล์ฟแต่ละครั้งนักกอล์ฟจะให้ความสาคัญในการ
  เล่นบนกรี นมาก เฉลี่ย 2 shots /กรี น หรื อประมาณ 50% ( หรื อ >)
  ทั้งๆที่พ้ืนที่กรี นเป็ นพื้นที่ขนาดเล็กมีประมาณ 2 % ของพื้นที่สนามทั้งหมด
• ขนาดของของกรี นไม่ได้กาหนดตายตัวด้านขนาดและรู ปร่ างขนาดมีต้ งแต่ขนาด
                                                                      ั
  ร้อยกว่าตารางเมตรไปจนถึง 3000-4000 ตารางเมตร(ในกรณี กรี นแฝด)
                               ่ ั
  ขนาดและรู ปร่ างขึ้นอยูกบการออกแบบและความต้องการของเจ้าของ แต่
  โดยทัวไปจะคานึงถึงความสวยงามและความมีเหตุมีผลในการเล่นมากกวา
         ่
                                                                 ั
• การดูแลรักษา ผูดแลสนามจะต้องให้ความสาคัญและเอาใจใส่ กบกรี นเป็ นพิเศษ
                       ู้
  เพราะกรี นมีพ้นที่ขนาดเล็ก ตัดหญ้าสั้น เกิดการ compact จากการเหยียบยา
                    ื                                                           ่
  จากนักกอล์ฟ,แคดดี้ และการทางานของเครื่ องจักร
คุณสมบัติของกรี นที่ดี
     COMOPNENTS OF PUTTING GREEN QUALITY

•   โครงสร้างดี
•   พันธ์หญ้าเหมาะสมสาหรับภูมิประเทศนั้นๆ
•   รู ปทรงสวยงาม UNIFORMITY
•   ความเรี ยบของผิวกรี น SMOOTHNESS
•   ความสมบูรณ์ของกรี น FIRMNESS
•              ่
    ความยืดหยุนสามาถทนการเหยียบยาได้ RESILIANCY
                                  ่
•   สามารถตัดต่าได้ CLOSE MOWING
•   ไม่มีดอกหญ้าABSENCE OF GAIN
ปัจจัยที่มีผลต่อการเติบโตของหญ้า
•   ดิน
•   น้ า
•   อากาศ
•   แสง
•   ธาตุอาหาร
โครงสร้างกรี น



      •โครงสร้างดี




     USGA
USGA รายละเอียดเกียวกับดิน
                  ่
            กรวดละเอียด &                               ไม่ เกิน 10%
            ทรายหยาบมาก        1 - 3.4 มิลลิเมตร



            ทรายหยาบ           0.5 - 1 มิลลิเมตร
                                                        อย่ างน้ อย 60%
            ทรายหยาบปานกลาง 0.25 - 0.5 มิลลิเมตร


            ทรายละเอียด        0.15 - 0.25 มิลลิเมตร      ไม่ เกิน 20%

            ทรายละเอียดมาก     0.05 - 0.15 มิลลิเมตร
            ทรายแปง้           0.002 - 0.05 มิลลิเมตร      ไม่ เกิน 10%
       .    ดินเหนียว          < 0.002 มิลลิเมตร
GREEN MAINTENCE
•   การตัดกรี น
•   การให้น้ า
•   การให้ปุ๋ย
•   การกาจัดศัตรู พืช
•   การป้ องกันกาจัดโรคพืช
•   การป้ องกันกาจัดวัชพืช
•   การเขตกรรม
การตัดกรี น
• เครื่องจักรสภาพต้องมีความสมบูรณ์ ใบมีดล่างและใบมีดพวงต้องคมและ
    ปรับตั้งความสู งของใบมีดให้เหมาะสม ตรวจเช็คสภาพลูกปื นลูกกลิ้งและพวงมีด
•   ผูใช้เครื่ องจักรตัดกรี น ตอ้งมีความรู ้และเข้าใจเกี่ยวกับเครื่ องจักรและการใช้เป้ นอ
      ้
    ย่างดี
•   ความถี่ในการตัด ตัดทุกวันยกเว้นกรณี ที่มีการแข่งขันอาจจะต้องตัดมากกว่าหนึ่ ง
    ครั้งเพื่อให้ได้ความเร็ วของกรี นตามที่ผจดการแข่งขันกาหนด
                                              ู้ ั
•   ทิศทางการตัด( line) ไม่ควรตัดในทิศทางเดียวกันทุกวันเพราะจะทาให้ตนหญ้า           ้
    ล้มไปในทิศทางเดียวกัน จะมีผลต่อการพัทของนักกอล์ฟ
•                                 ่ ั
    ความสู งของการตัด ขึ้นอยูกบ พันธุ์หญ้า ความสมบูรณ์ของหญ้า สภาพภูมิอากาศ
    และความต้องการของสนามนั้นๆเป็ นผูกาหนด การตัดครั้งแรกไม่ควรตัดเกิน 1
                                                ้
    ใน3ของความสู งของหญ้า
การกระทบกระเทือนเนื่องจากการตัด
รอยตัดคม                                            รอยตัดทื่อ
                 ศึกษาทีมหาวิทยาลัยไอโอวาสเตท
                         ่
                                   โดย
                  Nick Christians and
                 Mark Howeison
                 ปลายใบจะถูกทาลายจากการ
                 ปรับตั้งใบมีดตัด จากใบมีดพวง ถึง
                 ใบมีดล่ าง

                 bentgrass, fairway
                 height
Triplex Clean-up Ring

รอยยาง (Tire abrasion)                  รอยถลอกของหญ้า (Scalping)




รอยตัดซ้อนกัน (Overlap stripes)        ความรุ นแรงเกิดจากการเลี้ยวแคบ
                                       ( Most severe in tight turn
ผลของการตัดหญ้ า
การตัดเป็ นความเครียดอย่างหนึ่งสาหรับหญ้า ซึ่งหญ้าไม่ได้รบประโยชน์ใดๆจาก
                                                         ั
   การตัด (เนื่องจากการสูญเสียใบ)
    ลดอัตราการสังเคราะห์แสงเนื่องจากสูญเสียเนื้อเยือใบ (การลดลงของพื้ นที่ใบ: Leaf area
                                                   ่
   index (LAI) ) โดยมีผลทาให้เกิด
         - ลดการสังเคราะห์คาร์โบไฮเดรตและการกักเก็บคาร์โบไฮเดรต
         - เพิ่มการเจริญเติบโตของยอด (พืชตอบสนองต่อพื้นที่สงเคราะห์แสง)
                                                            ั
    การลดลงของน้ าหนักรากและความยาวราก
   คาร์โบไฮเดรตที่สงเคราะห์ข้ ึนถูกแบ่งไปที่สวนบนของต้น (สามารถนากลับคืนได้)
                   ั                         ่
   สารควบคุมการเจริญของรากอาจถูกสร้างขึ้นที่ใบ
   เนื้อเยื่อที่มีบาดแผล ทาให้เกิดการสูญเสียน้ าและเกิดการเข้าทาลายของเชื้อรา

     เพิ่มความหนาแน่นของหญ้า ( เป็ นการปรับพื้นที่สงเคราะห์แสง)
                                                    ั
     ลดความกว้างของใบหญ้า เพิ่มใบที่มีความละเอียด
หญ้ ามีความเครียดเพิมขึนเมือ
                    ่ ้ ่
การตัดหญ้ าที่ความสู งระดับตา
                            ่
• ความสู งของการตัดหญ้ ามีผลมากต่อความยาวรากของหญ้ า
• การตัดหญ้ าระดับตามากๆจะลดการเจริญเติบโตของรากและ
                   ่
  ไหลของหญ้ า
• เพิมความไวต่ อสภาวะทางสภาพแวดล้อมที่ไม่ เหมาะสม
     ่
• ลดความทนทานของหญ้ า
• เพิมการเกิดโรค (dollar spot, leaf spot, rust)
       ่

                                                                อุณหภูมของดินใน กรีน, แฟร์ เวย์ และ รัฟ
                                                                       ิ
• ให้ ตัว Buffering                   35
                                                                                           Interlachen CC #1 hole


  ของดินมี อุณหภูมิน้อยลง
  และปกป้ องส่ วนบน                                                                                                                      อุณหภูมิอากาศ
                                      30

                                                                                                                                    ความลึก 1½ เซนติเมตร
                          องศาเซลเซียส 25                                                                                              กรี น
                                                                                                                                          แฟร์เวย์
                                      20                                                                                               รัฟ


                                      15




                                                                                                                    2-Sep


                                                                                                                            9-Sep
                                                                                         12-Aug


                                                                                                  19-Aug


                                                                                                           26-Aug
                                                                               5-Aug
                                                    15-Jul


                                                             22-Jul


                                                                      29-Jul
                                            8-Jul




                                                                                       2537
การป้ องกันวัชพืชบนกรี น
• เนื่องจากกรี นเป็ นส่ วนที่สาคัญ
  ที่สุดของสนามมีพ้ืนที่ขนาดเล็ก
  หญ้าตัดสั้นเพื่อทา speed
  หญ้าจึงมีความออ่นแอ การกาจัด
  วัชพืชจึงไม่นิยมใช้สารเคมี
  เพราะจะทาให้หญ้าตายหรื อไม่ก็
  ฟื้ นยากส่ วนมากจะใช้การกาจัด
  ด้วยการถอนด้วยแรงคนมากกว่า
การให้น้ า
           IRRIGATION
 การให้น้ าต้องให้แต่พอเหมาะไม่มากหรื อน้อยเกินไป
 ปัจจัยและความถี่ในการให้ นา
                           ้
    -โครงสร้ างของกรีน
    - สภาพอากาศ
    - ฤดูกาล
วิธีการให้ นา้
 1 ระบบสปริงเกอร์
     - อัตโนมัติ
     - กึงอัตโนมัต
         ่
 2การใช้ แรงงานคน
     - การใช้ สายยาง
     -
การให้ ปุ๋ยกรีน
1) ชนิดนา     ้
2) ชนิดเม็ด
3 ) ปุ๋ ยจัดตามความสามารถในการละลาย & ปุ๋ ยละลายช้ า
ข้ อดีของปุ๋ ยนา
               ้
                   ง่ ายต่ อการตวงวัด สามารถใช้ ได้ บ่อยๆ
                   ปุ๋ ยมีความสมาเสมอ
                                 ่
                   ไม่ มการจับตัวกันเป็ นก้อน
                         ี
                   สามารถนาไปใช้ ได้ เลย ( ปุ๋ ยเข้ มข้ น)

ปุ๋ ยนาละลายช้ า
      ้
“สารอินทรีย์” ทีมโครงสร้ างทีต้องมีการย่ อยสลายแร่ ธาตุ โดยจุลนทรีย์ เช่ น “CoRoN”
                  ่ ี         ่                               ิ
ปุ๋ ยนาจะใช้ บนกรีนและ บนแท่ นที โดยการฉีดพ่น ส่ วนในกรณี แฟร์ เวย์ ให้ โดยใช้ เครื่องฉีดพ่นปุ๋ ย
        ้

ปุ๋ ยเม็ดละลายช้ า                                     ความถี่และปริ มาณในการให้ปุ๋ย
ให้ ใช้ นานๆครั้ง                                                   ่ ั
                                                         ตอ้งขึ้นอยูกบปริ มาณธาติอาหารในดินที่วเิ คราะห์
ไม่ ทาให้ เกิดอาการใบไหม้                              ออกมาเพื่อใช้ในการตัดสิ นใจประยุกต์ในการให้ปุ๋ย
ชนิดของการละลายช้ า                                    เพื่อลลดการสู ญเสี ยธาตุอาหารและต้นทุนของสนาม
Sulfur Coated - ใช้ เวลานานในการปลดปล่อยธาตุอาหาร contents
Polymer Coated - การปลดปล่อยเกิดจากกระบวนการออสโมซิส
Organic - ให้ เชื้อจุลนทรีย์ช่วยในการย่ อยสลาย
                          ิ
แมลงศัตรูหญ้ าสนาม
• ความเสี ยหายทีได้ รับโดยตรงจากแมลงศัตรู
                ่
                                                                         Grubs
• ความเสี ยหายทางอ้ อมจากสั ตว์ ทกนแมลงศัตรู
                                 ี่ ิ
• แมลงศัตรู หญ้ านั้นการจัดการยากกว่ าการจัดการวัชพืชเพราะพวก
  แมลงมองเห็นได้ ยากกว่ า
• ความเสี ยหายทีเ่ กิดมากที่สุดจากแมลงศัตรูน้ันจะเกิดในช่ วงทีเ่ ป็ น
  ระยะตัวหนอน
• สารกาจัดแมลงออกฤทธิ์ได้ ไม่ นาน; และต้ องการถูกต้ องเฉียบขาด          Mole cricket




Fire ant                            Sod webworm                         Cutworm
เครื่องฉีดพ่นสารเคมี
โรคของหญ้ า (Turf Diseases)
สภาพที่เหมาะสมต่ อการเจริญของเชื้อ
    สภาพแวดล้ อม (Environmental)
    •   มีความชื้นสู ง (เปี ยกชืน)
                                ้
    •   มีความชื้นสัมพัทธ์ สูง
    •   นาค้างแรง
          ้
    •   อุณหภูมิ
    •   อากาศไม่ ถ่ายเท
    •   มีแสงน้ อย
    •   ไม่ มีการปรับปรุงดิน (ความไม่ สมดุลของจุลนทรย์ ในทรายใหม่ บนกรีน)
                                                 ิ
    การเขตกรรม (Cultural)
    •   การให้ ไนโตรเจนมากเกินไปทาให้ เกิดลักษณะเนือเยือทีอวบนา
                                                   ้ ่ ่      ้
    •   ขาดไนโตรเจน (dollar spot, anthracnose, take-all patch, red thread, rusts)
    •   ให้ นามากเกินไป
             ้
    •   การระบายนาไม่ ดี
                    ้
    •   มีการไว้ thatch มากเกินไป
    •   ความสู งในการตัดหญ้ าที่ตา
                                 ่
    •   ความถีในการตัดหญ้ า
                ่
    •   เกิดการกระทบกระเทือนมากเกินไป (ใบมีดทือ & การขนส่ งต่ างๆ)
                                                 ่
โรคของหญ้ า (Turf Diseases)
การควบคุม
การทาเขตกรรม
•   ให้ เกิดสภาวะเครียดน้ อยที่สุด
•   ควบคุมการให้ ปุ๋ยไนโตรเจน
•   ควบคุมการให้ นา  ้
•   ดินต้ องมีการอัดแน่ นน้ อยและมีการระบายนาได้ ดี
                                                  ้
•   ต้ องดูแลใบมีดเครื่องตัดให้ คมอยู่เสมอ
•   ต้ องฉีดนาเมื่ออากาศร้ อน
              ้
•   ต้ องเอานาค้ างออกและให้ ซึมได้ เมื่ออากาศเริ่มอุ่นขึนในช่ วงเช้ า
                ้                                        ้
•   ให้ มีการถ่ ายเทอากาศที่พอเหมาะ

การใช้ ยาฆ่ าเชื้อรา
•   เพือป้ องกันและรักษา
        ่
•   ใช้ ท้ังชนิดเม็ดและชนิดนาฉีดพ่น
                                ้
•   ใช้ ท้งระบบสั มผัสตายและระบบดูดซึม
           ั
•   ต้ องใช้ ยาฆ่ าเชื้อราที่หลากหลายเพือหลีกเลียงการดือยา
                                        ่       ่      ้
การเขตกรรม
การจัดการปรับปรุงสภาวะทางกายภาพของระบบนิเวศน์ ของหญ้ า
  ให้ มความเหมาะสมต่ อการเจริญเติบโตของหญ้ า
       ี
     • ทาไมต้องมีการเขตกรรม ?
Thatch
• Thatch เป็ นที่สะสมของของ
  อินทรีย์วตถุที่บริเวณผิวดิน
            ั
• ซึ่งได้ มาจากไหล รากและเนือเยือราก
                              ้ ่
• เศษหญ้ าจากการตัดช่ วยทาให้ เกิด
  thatch ได้
ผลกระทบของ Thatch ต่ อหญ้ า                       การแห้ งเป็ นหย่ อมๆ
•   ยับยั้งการซึมผ่ านของนา (เมือแห้ ง)
                            ้ ่
•   ทาให้ เกิดการแห้ งเป็ นหย่ อมๆได้
•   ธาตุอาหารและยาฆ่ าเชื้อราไม่ สามารถผ่ านได้
•   เป็ นแหล่ งเพาะเชื้อโรค
•   ส่ งผลให้ เกิดระบบรากตืน ้
•   เกิดลักษณะหญ้ าฟูสนามหญ้ ามีการพลิกและถลก
    ของหญ้ า
สาเหตุททาให้ เกิด Thatch
       ี่
Thatch ถูกควบคุมโดยการย่ อยสลายของจุลนทรีย์   ิ
โดยทัวไปจะมีการสะสม thatch เมือ
     ่                            ่
1) กิจกรรมของจุลนทรีย์ถูกจากัด
                 ิ
2) พืชเจริญเติบโตมากเกินไป (ย่ อยสลาย/เน่ าเสี ยมากเกินไป)

ปัจจัยสาคัญที่ส่งผลต่ อ Thatch :
      • การให้ ปุ๋ยไนโตรเจนมากเกินไป
      • ขาดอากาศ
           - นามากเกินไป
                  ้
           - ดินแน่ นทึบ
      • ดินเป็ นกรด
      • ยาฆ่ าเชื้อรา
      • ความแข็งแรงของหญ้ าสายพันธุ์ใหม่
   ความสั มพันธ์ ระหว่ างผิวสั มผัสของแต่ ละสายพันธุ์ ความสู งของการตัด และการพัฒนา
   ของ Thatch เช่ น ผิวสั มผัสละเอียด (ความถี่ในการพรวน , ใบเล็ก ) จะเกิด
   Thatch ได้ มากกว่ าเมือตัดทีระดับสู งกว่ า
                            ่      ่
วิธีการปองกันและแก้ ไข
        ้
วิธีปฏิบัติและจัดการสนามหญ้ า:

                           Canopy

                          Thatch




                            Soil
                         (root zone)
วิธีปฏิบัติและจัดการสนามหญ้ า:

                                      การตัด
                           Canopy
                                    การสางหญ้า การโรยทราย
                          Thatch
                                                 การทา
                                             Verticutting

                                            การเติมอากาศ
                            Soil
                         (root zone)
วิธีปฏิบัติและจัดการสนามหญ้ า:
                                ควบคุมโรค
                               ควบคุมวัชพืช       การให้ ปุ๋ย
                             ควบคุมแมลงศัตรู      การให้ นา ้
                                    การตัด
                          Canopy
                                  การสางหญ้ า
                          Thatch
                                            การโรยทราย
                                               การทา
                                         Verticutting อากาศ
                                                   การเติม
                            Soil        การระบายนา
                                                 ้
                         (root zone)
วิธีปฏิบัติและจัดการสนามหญ้ า:
        ตามชั้น/ระดับ                        ตามความถี่
               การตัด                                    การตัด
               การสางหญ้ า                               การสางหญ้ า
               การโรยทราย                      ทุกวัน    การให้ นา
                                                                 ้
               การให้ ปุ๋ย                               การให้ ปุ๋ย
        Canopy การให้ นา ้                   7-14 วัน    การโรยทราย
               การควบคุมโรค
               การกาจัดวัชพืช                            การควบคุมโรค
               การควบคุมแมลงศัตรู                        การกาจัดวัชพืช
        Thatch การทา Verticutting        ตามต้องการ      การควบคุามลงศัตรู

                 การเติมอากาศ                            การทา Verticutting
Soil (root zone) การระบายนา         1-4 ครั้งต่อฤดูกาล   การเติมอากาศ
                            ้
                                                         การระบายนา
                                                                  ้
การปฏิบัตเิ พือควบคุม Thatch
                          ่
การปองกัน
    ้
• การจัดการปุ๋ ย และการให้ นา
                            ้
การรักษา




การทา Verticutting
                                การเติมอากาศ   การโรยทราย TOPDRESS
                                      CORING
                                CORRING
Verticutting
Verticutting

การซอยหญ้ าVerticutting
         เป็ นการทาลายชั้น THATCH โดยการซอยเพือเคลือนย้ายเอาเศษหญ้ าที
                                                        ่ ่
  ทีไม่ ย่อยสลายอยู่ใต้ ช้ันผิวหญ้ าออกไป เป็ นการตัดไหลของหญ้ าและทาให้ ยอด
  หญ้ าตั้งตรง
ขั้นตอนการทาVerticutting
•   การซอยหญ้า
•   การเก็บเศษหญ้า
•   การ topdress
•   การเกลี่ยปรับทราย
•   การให้ปุ๋ย
•   การให้น้ า
การทา Verticutting
                           การเอาอินทรีย์วัตถุออกด้ วยเครื่องจักร โดย
                           vertical blades




     ทีความลึก ½ -1½ นิว
       ่               ้
ตัดเก็บเศษหญ้า
TOPDRESSING
เปิ ดให้ บริการ
การโรยทราย (Topdressing)

                                           การโรยทรายทาทุก 7-14 วัน โดยทา
                                           ในช่ วงทีหญ้ ายังมีการเจริญเติบโต
                                                    ่
                                           และมีสีเขียว




 การโรยทรายในแฟร์ เวย์ต้องทามากกว่ าปกติ
การโรยทราย (Topdressing)
+   ทาให้ เกิดการย่ อยสลายของ thatch และควบคุม thatch ได้
+   ช่ วยเพิมทรายในระบบรากได้
              ่
+   ใช้ เพือการปรับสภาพดินบนกรีน เพือเติมอากาศและระบายนา
           ่                        ่                  ้
+   ปรับพืนทีให้ ราบเรียบ
             ้ ่
+   กระตุ้นการเกิดราก
การเติมอากาศ(Aeration)
ปัญหาทีต้องแก้ ด้วยการเติมกอากาศ บนกรีน
       ่                 ลั ษณะทรายใหม่
           Thatch

  การอัดตัวแน่ นของดินเหนียวจัด
                                  ทรายที่เกาะอยู่บริเวณรากทาให้ ไม่ เกิดการย่ อยสลายของ
                                  อินทรีย์วตถุ (เนือเยือรากตาย)
                                           ั       ้ ่

                                  กิจกรรมของจุลนทรีย์ในทรายใหม่ จะตามาก
                                               ิ                   ่



         การแซะหญ้า
           (Sod)

                                       การเติมอากาศให้ รากทีลกกว่ า
                                                            ่ึ
การเติมอากาศ(Aeration)

                                                                           VC ‘97

•    ช่ วยลดการอัดแน่ นของดินและทาให้ มออกซิเจนในอนุภาคดิน
                                            ี
•   ปรับการเคลือนทีของนา
                 ่ ่         ้
•   ทาให้ ดนรวมกับชั้น thatch ช่ วยเพิมการย่อยสลายได้ ดี
            ิ                             ่
•   ทาให้ ย่อยและเร่ งการย่ อยสลายอินทรีย์วตถุในชั้นรากทีเ่ กิด “black layer”
                                              ั
•   เป็ นตัวรบกวนระบบรากทาให้ กระตุ้นการเจริญเติบโต
•   ช่ วยการสร้ างระบบรากใหม่
•   การโรยทรายเป็ นเพียงวิธีการปรับโครงสร้ างดิน ทีเ่ ป็ นการซ่ อมแซมระยะสั้ น
• ปัญหาที่เกิดจากตระใคร่ นา
                          ้
การเติมอากาศแบบดอกกรวง (Hollow tine)
จุดเด่ น
เป็ นวิธีที่ดีทสุดในการช่ วยปรับการแน่ นทึบของดิน
                 ี่
 ช่ วยลดชั้น thatch และควบคุมการเกิด thatch ( ทาให้ ดินและชั้น thatch ผสมกัน
       ช่ วยเร่ งการย่อยสลาย)
 เพิมการระบายนาบนผิวดิน (การซึมผ่ านทีละน้ อย (infiltration)&การไหลซึม
           ่             ้
       (percolation)
 ต้ องทาการปรับสภาพดินให้ มาก ( การทา core ดินนั้นจะเป็ นการนาออกหรื อนามาแทนที่
       ใหม่ กได้ )
               ็
 เปลียนหญ้ าที่ไม่ แข็งแรงออก
             ่
จุดด้ อย
    มีผลทาให้ เกิดการทาลายหญ้ า และเป็ นการสร้ างสภาวะเครียด
    อย่างหนึ่ง ซึ่งการจัดเวลาเป็ นสิ่ งสาคัญ
    ต้ องใช้ แรงงานทีมีความละเอียดมากและอาจทาให้ ดินแตกแยก
                       ่
    เวลาทา (ควรทา 1-2 ครั้งต่ อฤดูกาล หรือตามความต้องการ)
การเติมอากาศแบบดอกตัน (Solid tine)
จุดเด่ น
ใช้ เพือเติมอากาศแบบชั่วคราว (ลดการอัดแน่ นของดิน)
         ่
สามารถทาในช่ วงเกิดสภาวะเครี ยดได้
เพิมการระบายนาบนพืนผิว การซึมผ่ านทีละน้ อย
       ่          ้     ้
   (infiltration)&การไหลซึม (percolation)
ต้ องการใช้ แรงงานน้ อย

จุดด้ อย
– เพิมความแน่ นของดินในพืนทีหลุม
      ่                   ้ ่
–สร้ างความเสียหายต่ อต้นหญ้ าและเป็ นเหตุให้ เกิดสภาวะเครียด
–เกิดการแตกแต่น้อยกว่ าการคราดแบบ hollow tine
การเก็บเศษดินหลังการ C0rring
TOPDRESSING
การเติมอากาศด้ วย Deep tine

ใช้ สาหรับแทงเป็ น cultivation pan ซึ่งปรับจากการเติมอากาศแบบ
ปกติ
การระบายน้า (Drainage):
  การจัดการน้ า คือ :
  การใช้น้ า - การชลประทาน
  ไม่กีดขวางทางน้ า - การระบายน้ า
” การจัดการสนามกอล์ ฟนั้น คือ มาจากความรู้
10 % ศิลปะ 10 % โชค 10% และ
เรื่องการระบายนา 70 %”
               ้
                                             เหล็กแหลมเจาะดินลึก (Deep tine)
         -- Oscar Miles, CGCS, The
         Merit Club




 การเจาะและการถม (Drill & fill)              ทางระบายน้ า (Slit drainage)
THE TEE
• กฎของกอล์ฟไม่ได้กาหนดขนาดหรื อรู ปร่ างไว้แน่นอนเพียงแต่
  กาหนดให้เป็ นจุดเริ่ มต้นในการเล่นกอล์ฟโดยมีจุด tee marker
  2 จุดเป็ นตัวกาหนดไม่ให้วางลูกล้ าเส้นก่อนตีลูกออกไป แต่ใน
  ปัจจุบน TEEจะถูกออกแบบให้กลมกลืนกับพื้นที่และมีความโดดเด่น
        ั
  ตาม style ของผูออกแบบอาจจะมีรูปร่ างและขนาด แตกต่างกันไป
                       ้
• ป้ ายบอกระยะ
COMPONENT0F TEE QUALITY
•   โครงสร้างดี
•   พันธ์หญ้าเหมาะสมสาหรับภูมิประเทศนั้นๆ
•   รู ปทรงสวยงาม UNIFORMITY
•   ความเรี ยบSMOOTHNESS
•   ความสมบูรณ์ FIRMNESS
•              ่
    ความยืดหยุนสามาถทนการเหยียบยาได้ RESILIANCY
                                  ่
•   สามารถทนต่อการตัดตัดต่าได้ CLOSE MOWING
•   ขนาดเหมาะสม
PCD Tee Drainage
TEE MAINTENCE
•   การตัด
•   การให้น้ า
•   การให้ปุ๋ย
•   การกาจัดศัตรู พืช
•   การป้ องกันกาจัดโรคพืช
•   การป้ องกันกาจัดวัชพืช
•   การเขตกรรม
เครื่องฉีดพ่นสารเคมี
THE FAIRWAY
    • แฟร์ เวย์เป้ นส่ วนหนึ่ งของสนามที่อยู่
      ระหว่างทีออฟกับกรี น เป็ นจุดที่
      ออกแบบไว้สาหรับการรองรับการตกของ
      ลูกกอล์ฟ(landing area)ที่ไดร์ ฟ
      ออกจากทีออฟ และเป็ นจุดที่จะขึ้น
      shot ที่สองสามารถมองเห็นกรี นได้
      ในการดูแลแฟร์ เวย์การตัดหญ้าจะตัดสั้น
      รองจากทีออฟส่ วนมากจะตั้งความสู งใน
                  ่
      การตัดอยูที่ 1-2 เซนติเมตรแล้วแต่ละ
      ชนิดของพันธ์หญ้า เพื่อให้ลกลอย การตัด
                                    ู
      หญ้ายาวจะทาให้การเล่นยากขึ้นจานวน
      รอบของกอล์ฟก็จะลดลง
COMPONENTS OF FAIRWAY QUALITY


•   โครงสร้างดี
•   พันธ์หญ้าเหมาะสมสาหรับภูมิประเทศนั้นๆ
•   รู ปทรงสวยงาม UNIFORMITY
•   ความเรี ยบSMOOTHNESS
•   ความสมบูรณ์ FIRMNESS
•   ความหนาแน่น density
•              ่
    ความยืดหยุนสามาถทนการเหยียบยาได้ RESILIANCY
                                  ่
THE FAIRWAY
FAIRWAY MAINTENCE
•   การตัด fairway
•   การให้น้ า
•   การให้ปุ๋ย
•   การกาจัดศัตรู พืช
•   การป้ องกันกาจัดโรคพืช
•   การป้ องกันกาจัดวัชพืช
•   การเขตกรรม
การเติมอากาศในแฟร์ เวย์




                          ใช้ แรงงานทีมีความละเอียดสู ง
                                      ่
การทา Core   การ Returning cores
             เทียบเท่ ากับการโรยทราย
             โดยให้ ประโยชน์ 2 อย่ าง
             คือ
                1) ใช้ แรงงานลดลง
                2) ควบคุม thatch ได้
THE ROUGH
                                        ่
• รัฟเป็ นส่ วนของสนามหญ้าทั้งหมดที่อยูรอบๆ ทีแฟร์เวย์ กรี น ซึ่งจะเป็ น
  ส่ วนที่หญ้ายาวที่สุดของสนามถือเป็ นอุปสรรคอย่างหนึ่งในการเล่น
• ROUGH
THE BUNKER
การคราดทราย
ขูดโคลนออกจากบังเกอร์
งานซ่ อมแซมหลังการก่ อสร้ าง
• การพังทลายของบังเกอร์
• น้ าซึมในบังเกอร์
• การพังทลายจากน้ า
• น้ าท่วมกรี น
• น้ าเซาะบังเกอร์
• น้ าผุดกลางแฟร์เวย์
• เครื่ องจักร รถกอล์ฟ
• ทรายถมร่ องน้ า
ความเสี ยหายจากการใช้รถกอล์ฟ
LANDSCAPE
LA445 01
LA445 01
LA445 01
LA445 01
LA445 01
LA445 01
LA445 01
LA445 01
LA445 01
LA445 01

More Related Content

What's hot

«Μαθαίνω σκάκι – Πρώτη επαφή» για παιδιά Δημοτικού
«Μαθαίνω σκάκι – Πρώτη επαφή» για παιδιά Δημοτικού«Μαθαίνω σκάκι – Πρώτη επαφή» για παιδιά Δημοτικού
«Μαθαίνω σκάκι – Πρώτη επαφή» για παιδιά ΔημοτικούΣπύρος Κυριαζίδης
 
"ΣΚΑΚΙ ΣΤΟ ΝΗΠΙΑΓΩΓΕΙΟ" Μ. ΤΣΙΟΤΣΙΟΥ 53ο ΝΗΠΙΑΓΩΓΕΙΟ ΠΑΤΡΩΝ
"ΣΚΑΚΙ ΣΤΟ ΝΗΠΙΑΓΩΓΕΙΟ" Μ. ΤΣΙΟΤΣΙΟΥ 53ο ΝΗΠΙΑΓΩΓΕΙΟ ΠΑΤΡΩΝ"ΣΚΑΚΙ ΣΤΟ ΝΗΠΙΑΓΩΓΕΙΟ" Μ. ΤΣΙΟΤΣΙΟΥ 53ο ΝΗΠΙΑΓΩΓΕΙΟ ΠΑΤΡΩΝ
"ΣΚΑΚΙ ΣΤΟ ΝΗΠΙΑΓΩΓΕΙΟ" Μ. ΤΣΙΟΤΣΙΟΥ 53ο ΝΗΠΙΑΓΩΓΕΙΟ ΠΑΤΡΩΝPatritsia Tsampazi
 
Η αγέλαστη πολιτεία
Η αγέλαστη πολιτείαΗ αγέλαστη πολιτεία
Η αγέλαστη πολιτείαFotini Dim
 
παρουσιαση θεων συμβολων
παρουσιαση θεων συμβολωνπαρουσιαση θεων συμβολων
παρουσιαση θεων συμβολωνapavlidou
 
τα λουλούδια που φυτρώνουν στο τσιμέντο
τα λουλούδια που φυτρώνουν στο τσιμέντοτα λουλούδια που φυτρώνουν στο τσιμέντο
τα λουλούδια που φυτρώνουν στο τσιμέντοatavar
 
ΙΣΤΟΡΙΕΣ ΤΟΥ ΤΟΥΡΤΟΥΡΙ - 4ο ΔΣ Συκεών
ΙΣΤΟΡΙΕΣ ΤΟΥ ΤΟΥΡΤΟΥΡΙ - 4ο ΔΣ ΣυκεώνΙΣΤΟΡΙΕΣ ΤΟΥ ΤΟΥΡΤΟΥΡΙ - 4ο ΔΣ Συκεών
ΙΣΤΟΡΙΕΣ ΤΟΥ ΤΟΥΡΤΟΥΡΙ - 4ο ΔΣ ΣυκεώνIoannis Nomikoudis
 
Το κυλιόμενο πεζοδρόμιο
Το κυλιόμενο πεζοδρόμιοΤο κυλιόμενο πεζοδρόμιο
Το κυλιόμενο πεζοδρόμιοrodanthi_x
 
Μίλα μικρή καμήλα,παραμύθι.
Μίλα μικρή καμήλα,παραμύθι.Μίλα μικρή καμήλα,παραμύθι.
Μίλα μικρή καμήλα,παραμύθι.Mary Tsaousidou
 
Τοπική ιστορία: Ο Eύοσμος και ο ναός του Αγίου Αθανασίου
Τοπική ιστορία: Ο Eύοσμος και ο ναός του Αγίου ΑθανασίουΤοπική ιστορία: Ο Eύοσμος και ο ναός του Αγίου Αθανασίου
Τοπική ιστορία: Ο Eύοσμος και ο ναός του Αγίου ΑθανασίουΑφροδίτη Διαμαντοπούλου
 
Στο δρόμο για το σχολείο 2 , σελ.13-17
Στο δρόμο για το σχολείο 2 , σελ.13-17Στο δρόμο για το σχολείο 2 , σελ.13-17
Στο δρόμο για το σχολείο 2 , σελ.13-17Ioanna Chats
 
Εργασία μαθητών Δ1: Κανόνες ασφάλειας Διαδικτύου
Εργασία μαθητών Δ1: Κανόνες ασφάλειας ΔιαδικτύουΕργασία μαθητών Δ1: Κανόνες ασφάλειας Διαδικτύου
Εργασία μαθητών Δ1: Κανόνες ασφάλειας Διαδικτύουiliapanm
 
Ο Κύκλος του Νερού (Β΄Μέρος)
Ο Κύκλος του Νερού (Β΄Μέρος)Ο Κύκλος του Νερού (Β΄Μέρος)
Ο Κύκλος του Νερού (Β΄Μέρος)eirmatth
 
Σύγχρονα επαγγέλματα
Σύγχρονα επαγγέλματαΣύγχρονα επαγγέλματα
Σύγχρονα επαγγέλματαMorKyr
 
Ε4-ΠΕΛΙΑΣ ΚΑΙ ΙΑΣΟΝΑΣ - ΟΡΦΕΑΣ ΚΑΙ ΕΥΡΥΔΙΚΗ
Ε4-ΠΕΛΙΑΣ ΚΑΙ ΙΑΣΟΝΑΣ - ΟΡΦΕΑΣ ΚΑΙ ΕΥΡΥΔΙΚΗΕ4-ΠΕΛΙΑΣ ΚΑΙ ΙΑΣΟΝΑΣ - ΟΡΦΕΑΣ ΚΑΙ ΕΥΡΥΔΙΚΗ
Ε4-ΠΕΛΙΑΣ ΚΑΙ ΙΑΣΟΝΑΣ - ΟΡΦΕΑΣ ΚΑΙ ΕΥΡΥΔΙΚΗMartha Gane
 
κυκλοφοριακή αγωγή
κυκλοφοριακή αγωγήκυκλοφοριακή αγωγή
κυκλοφοριακή αγωγήKostas Tomaras
 
τα δικαιώματα του παιδιού
τα δικαιώματα του παιδιούτα δικαιώματα του παιδιού
τα δικαιώματα του παιδιούketiathana
 
Presentation phys.activity kinder
Presentation phys.activity kinderPresentation phys.activity kinder
Presentation phys.activity kinderteacher88
 
Ένας διάλογος με τον πολιτισμό
Ένας διάλογος με τον πολιτισμόΈνας διάλογος με τον πολιτισμό
Ένας διάλογος με τον πολιτισμόDimitra Mylonaki
 

What's hot (20)

μαθηματικα κεφ 17 ταξη γ
μαθηματικα   κεφ 17  ταξη γμαθηματικα   κεφ 17  ταξη γ
μαθηματικα κεφ 17 ταξη γ
 
«Μαθαίνω σκάκι – Πρώτη επαφή» για παιδιά Δημοτικού
«Μαθαίνω σκάκι – Πρώτη επαφή» για παιδιά Δημοτικού«Μαθαίνω σκάκι – Πρώτη επαφή» για παιδιά Δημοτικού
«Μαθαίνω σκάκι – Πρώτη επαφή» για παιδιά Δημοτικού
 
"ΣΚΑΚΙ ΣΤΟ ΝΗΠΙΑΓΩΓΕΙΟ" Μ. ΤΣΙΟΤΣΙΟΥ 53ο ΝΗΠΙΑΓΩΓΕΙΟ ΠΑΤΡΩΝ
"ΣΚΑΚΙ ΣΤΟ ΝΗΠΙΑΓΩΓΕΙΟ" Μ. ΤΣΙΟΤΣΙΟΥ 53ο ΝΗΠΙΑΓΩΓΕΙΟ ΠΑΤΡΩΝ"ΣΚΑΚΙ ΣΤΟ ΝΗΠΙΑΓΩΓΕΙΟ" Μ. ΤΣΙΟΤΣΙΟΥ 53ο ΝΗΠΙΑΓΩΓΕΙΟ ΠΑΤΡΩΝ
"ΣΚΑΚΙ ΣΤΟ ΝΗΠΙΑΓΩΓΕΙΟ" Μ. ΤΣΙΟΤΣΙΟΥ 53ο ΝΗΠΙΑΓΩΓΕΙΟ ΠΑΤΡΩΝ
 
Η αγέλαστη πολιτεία
Η αγέλαστη πολιτείαΗ αγέλαστη πολιτεία
Η αγέλαστη πολιτεία
 
παρουσιαση θεων συμβολων
παρουσιαση θεων συμβολωνπαρουσιαση θεων συμβολων
παρουσιαση θεων συμβολων
 
τα λουλούδια που φυτρώνουν στο τσιμέντο
τα λουλούδια που φυτρώνουν στο τσιμέντοτα λουλούδια που φυτρώνουν στο τσιμέντο
τα λουλούδια που φυτρώνουν στο τσιμέντο
 
Ηγεσία
ΗγεσίαΗγεσία
Ηγεσία
 
ΙΣΤΟΡΙΕΣ ΤΟΥ ΤΟΥΡΤΟΥΡΙ - 4ο ΔΣ Συκεών
ΙΣΤΟΡΙΕΣ ΤΟΥ ΤΟΥΡΤΟΥΡΙ - 4ο ΔΣ ΣυκεώνΙΣΤΟΡΙΕΣ ΤΟΥ ΤΟΥΡΤΟΥΡΙ - 4ο ΔΣ Συκεών
ΙΣΤΟΡΙΕΣ ΤΟΥ ΤΟΥΡΤΟΥΡΙ - 4ο ΔΣ Συκεών
 
Το κυλιόμενο πεζοδρόμιο
Το κυλιόμενο πεζοδρόμιοΤο κυλιόμενο πεζοδρόμιο
Το κυλιόμενο πεζοδρόμιο
 
Μίλα μικρή καμήλα,παραμύθι.
Μίλα μικρή καμήλα,παραμύθι.Μίλα μικρή καμήλα,παραμύθι.
Μίλα μικρή καμήλα,παραμύθι.
 
Τοπική ιστορία: Ο Eύοσμος και ο ναός του Αγίου Αθανασίου
Τοπική ιστορία: Ο Eύοσμος και ο ναός του Αγίου ΑθανασίουΤοπική ιστορία: Ο Eύοσμος και ο ναός του Αγίου Αθανασίου
Τοπική ιστορία: Ο Eύοσμος και ο ναός του Αγίου Αθανασίου
 
Στο δρόμο για το σχολείο 2 , σελ.13-17
Στο δρόμο για το σχολείο 2 , σελ.13-17Στο δρόμο για το σχολείο 2 , σελ.13-17
Στο δρόμο για το σχολείο 2 , σελ.13-17
 
Εργασία μαθητών Δ1: Κανόνες ασφάλειας Διαδικτύου
Εργασία μαθητών Δ1: Κανόνες ασφάλειας ΔιαδικτύουΕργασία μαθητών Δ1: Κανόνες ασφάλειας Διαδικτύου
Εργασία μαθητών Δ1: Κανόνες ασφάλειας Διαδικτύου
 
Ο Κύκλος του Νερού (Β΄Μέρος)
Ο Κύκλος του Νερού (Β΄Μέρος)Ο Κύκλος του Νερού (Β΄Μέρος)
Ο Κύκλος του Νερού (Β΄Μέρος)
 
Σύγχρονα επαγγέλματα
Σύγχρονα επαγγέλματαΣύγχρονα επαγγέλματα
Σύγχρονα επαγγέλματα
 
Ε4-ΠΕΛΙΑΣ ΚΑΙ ΙΑΣΟΝΑΣ - ΟΡΦΕΑΣ ΚΑΙ ΕΥΡΥΔΙΚΗ
Ε4-ΠΕΛΙΑΣ ΚΑΙ ΙΑΣΟΝΑΣ - ΟΡΦΕΑΣ ΚΑΙ ΕΥΡΥΔΙΚΗΕ4-ΠΕΛΙΑΣ ΚΑΙ ΙΑΣΟΝΑΣ - ΟΡΦΕΑΣ ΚΑΙ ΕΥΡΥΔΙΚΗ
Ε4-ΠΕΛΙΑΣ ΚΑΙ ΙΑΣΟΝΑΣ - ΟΡΦΕΑΣ ΚΑΙ ΕΥΡΥΔΙΚΗ
 
κυκλοφοριακή αγωγή
κυκλοφοριακή αγωγήκυκλοφοριακή αγωγή
κυκλοφοριακή αγωγή
 
τα δικαιώματα του παιδιού
τα δικαιώματα του παιδιούτα δικαιώματα του παιδιού
τα δικαιώματα του παιδιού
 
Presentation phys.activity kinder
Presentation phys.activity kinderPresentation phys.activity kinder
Presentation phys.activity kinder
 
Ένας διάλογος με τον πολιτισμό
Ένας διάλογος με τον πολιτισμόΈνας διάλογος με τον πολιτισμό
Ένας διάλογος με τον πολιτισμό
 

Viewers also liked

โครงการจัดการดูแลภูมิทัศน์สนามกอล์ฟแม่
โครงการจัดการดูแลภูมิทัศน์สนามกอล์ฟแม่โครงการจัดการดูแลภูมิทัศน์สนามกอล์ฟแม่
โครงการจัดการดูแลภูมิทัศน์สนามกอล์ฟแม่charm_ser
 
การตัดหญ้า
การตัดหญ้าการตัดหญ้า
การตัดหญ้าcharm_ser
 
งานนำเสนอโครงการสนามกอล์ฟแม่เมาะ
งานนำเสนอโครงการสนามกอล์ฟแม่เมาะงานนำเสนอโครงการสนามกอล์ฟแม่เมาะ
งานนำเสนอโครงการสนามกอล์ฟแม่เมาะcharm_ser
 
โครงการจัดการดูแลภูมิทัศน์สนามกอล์ฟแม่เมาะ
โครงการจัดการดูแลภูมิทัศน์สนามกอล์ฟแม่เมาะโครงการจัดการดูแลภูมิทัศน์สนามกอล์ฟแม่เมาะ
โครงการจัดการดูแลภูมิทัศน์สนามกอล์ฟแม่เมาะcharm_ser
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศKrunee Thitthamon
 
10 Project Proposal Writing
10 Project Proposal Writing10 Project Proposal Writing
10 Project Proposal WritingTony
 

Viewers also liked (7)

โครงการจัดการดูแลภูมิทัศน์สนามกอล์ฟแม่
โครงการจัดการดูแลภูมิทัศน์สนามกอล์ฟแม่โครงการจัดการดูแลภูมิทัศน์สนามกอล์ฟแม่
โครงการจัดการดูแลภูมิทัศน์สนามกอล์ฟแม่
 
การตัดหญ้า
การตัดหญ้าการตัดหญ้า
การตัดหญ้า
 
งานนำเสนอโครงการสนามกอล์ฟแม่เมาะ
งานนำเสนอโครงการสนามกอล์ฟแม่เมาะงานนำเสนอโครงการสนามกอล์ฟแม่เมาะ
งานนำเสนอโครงการสนามกอล์ฟแม่เมาะ
 
Ntsh005
Ntsh005Ntsh005
Ntsh005
 
โครงการจัดการดูแลภูมิทัศน์สนามกอล์ฟแม่เมาะ
โครงการจัดการดูแลภูมิทัศน์สนามกอล์ฟแม่เมาะโครงการจัดการดูแลภูมิทัศน์สนามกอล์ฟแม่เมาะ
โครงการจัดการดูแลภูมิทัศน์สนามกอล์ฟแม่เมาะ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
10 Project Proposal Writing
10 Project Proposal Writing10 Project Proposal Writing
10 Project Proposal Writing
 

More from Bunchong Somboonchai

Ho c4 4 pricing landscape maintenance work.ppt
Ho c4 4 pricing landscape maintenance work.pptHo c4 4 pricing landscape maintenance work.ppt
Ho c4 4 pricing landscape maintenance work.pptBunchong Somboonchai
 
งานดูแลรักษาต้นไม้ในเขตเมือง 2 หลักการดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่
งานดูแลรักษาต้นไม้ในเขตเมือง 2 หลักการดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่งานดูแลรักษาต้นไม้ในเขตเมือง 2 หลักการดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่
งานดูแลรักษาต้นไม้ในเขตเมือง 2 หลักการดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่Bunchong Somboonchai
 
ย้ายหูกระจง 2 slide share
ย้ายหูกระจง  2  slide shareย้ายหูกระจง  2  slide share
ย้ายหูกระจง 2 slide shareBunchong Somboonchai
 
งานวัสดุ Flag stone landscape steps
งานวัสดุ   Flag stone landscape stepsงานวัสดุ   Flag stone landscape steps
งานวัสดุ Flag stone landscape stepsBunchong Somboonchai
 
งานวัสดุ_ปูพื้นหิน
งานวัสดุ_ปูพื้นหินงานวัสดุ_ปูพื้นหิน
งานวัสดุ_ปูพื้นหินBunchong Somboonchai
 

More from Bunchong Somboonchai (20)

8 07-64
8 07-648 07-64
8 07-64
 
LA 445 : Mju museum
LA 445 : Mju museumLA 445 : Mju museum
LA 445 : Mju museum
 
LA445 : MJU Maintenance
LA445 : MJU MaintenanceLA445 : MJU Maintenance
LA445 : MJU Maintenance
 
School ip mforlawns_c.ppt
School ip mforlawns_c.pptSchool ip mforlawns_c.ppt
School ip mforlawns_c.ppt
 
School ip mforlawns_c.ppt
School ip mforlawns_c.pptSchool ip mforlawns_c.ppt
School ip mforlawns_c.ppt
 
Hort2 landscapemaintenance
Hort2 landscapemaintenanceHort2 landscapemaintenance
Hort2 landscapemaintenance
 
Ho c4 4 pricing landscape maintenance work.ppt
Ho c4 4 pricing landscape maintenance work.pptHo c4 4 pricing landscape maintenance work.ppt
Ho c4 4 pricing landscape maintenance work.ppt
 
Mascot na gfair2016
Mascot na gfair2016Mascot na gfair2016
Mascot na gfair2016
 
งานดูแลรักษาต้นไม้ในเขตเมือง 2 หลักการดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่
งานดูแลรักษาต้นไม้ในเขตเมือง 2 หลักการดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่งานดูแลรักษาต้นไม้ในเขตเมือง 2 หลักการดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่
งานดูแลรักษาต้นไม้ในเขตเมือง 2 หลักการดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่
 
Bhubing Palace Chiangmai
Bhubing Palace ChiangmaiBhubing Palace Chiangmai
Bhubing Palace Chiangmai
 
Baandin jakkawan01
Baandin jakkawan01Baandin jakkawan01
Baandin jakkawan01
 
Baandin jakkawan
Baandin jakkawanBaandin jakkawan
Baandin jakkawan
 
Baandin jakkawan
Baandin jakkawanBaandin jakkawan
Baandin jakkawan
 
เวลา อาสา
เวลา อาสาเวลา อาสา
เวลา อาสา
 
Waterfall
WaterfallWaterfall
Waterfall
 
ยอดดอย
ยอดดอยยอดดอย
ยอดดอย
 
แม่แจ่ม
แม่แจ่มแม่แจ่ม
แม่แจ่ม
 
ย้ายหูกระจง 2 slide share
ย้ายหูกระจง  2  slide shareย้ายหูกระจง  2  slide share
ย้ายหูกระจง 2 slide share
 
งานวัสดุ Flag stone landscape steps
งานวัสดุ   Flag stone landscape stepsงานวัสดุ   Flag stone landscape steps
งานวัสดุ Flag stone landscape steps
 
งานวัสดุ_ปูพื้นหิน
งานวัสดุ_ปูพื้นหินงานวัสดุ_ปูพื้นหิน
งานวัสดุ_ปูพื้นหิน
 

LA445 01

  • 1. THAI GOLF COURSE SUPERITENDENTS ASSOCIATION THAI GOLF COURSE SUPERITENDENTS ASSOCIATION
  • 2. การบารารุงรัรักษาสนามกอล์ฟ ฟ การบุ ง ก ษาสนามกอล์ GOLF COURSE MIANTERNANT GOLF COURSE MAINTENANCE
  • 3. การเตรียมการในการดูแลสนาม • การเตรียมอัตรากาลังคน • - จานวนคน • - คุณภาพของคน • การเตรียมเครื่องมือเครื่องจักร • - จานวน • - คุณภาพและสภาพ • -เหมาะสมกับงาน • แหล่งนาและระบบนา ้ ้ - ปริมาณนาที่เพียงพอ ้ - คุณภาพนา ้ - ระบบดี • การเตรียมการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ - คุณภาพ - ราคา
  • 4. ตารางเครื่ องจักรในการดูแลสนามกอล์ ฟ เครื่องจักร 9 18 27 ราคาต่ อ รวม หลุม หลุม หลุม หน่ วย รถตัดแฟร์ เวย์นงขับ 5 gang ั่ 1 คัน 2คัน 3 คัน 1,800,000 5,400,000 รถตัด TEE-OFF นังขับ 3 gang ่ 1 คัน 2 คัน 3 1,300,000 3,000,000 รถตัด COLLAR FAIRWAY 3 gang 1คัน 2 คัน 3 คัน 1,300,000 3,900,000 รถตัดรัฟนังขับ 5 gang ่ 1 คัน 2 คัน 3 คัน 2,500,000 7,500,000 เครื่ องตักรี นแบบเดินตาม 3 6 9 300,000 2,700,000 เครื่ อง เครื่ อง เครื่ อง FLY MOWตัดสโลปบังเกอร์ 3 6 9 40,000 280,000 เครื่ อง เครื่ อง เครื่ อง เครื่ องตัดหญ้าสายสะพาย 5 10 15 9,000 135,000 เครื่ อง เครื่ อง เครื่ อง รถพ่นสารเคมีแบบนังขับ ่ 1 คัน 1 คัน 2 คัน 1,400,000 1,400,000 เครื่ องเจาะกรี น 1 1 1 900,000 900,000 เครื่ อง เครื่ อง เครื่ อง เครื่ องเจาะแฟร์เวย์ 1 1 1 900,000 900,000 เครื่ อง เครื่ อง เครื่ อง เครื่ องกรี ดแฟร์ เวย์ 1 1 1 500ล000 500,000
  • 5. รถพ่นสารเคมีแบบนังขับ ่ 1 คัน 1 คัน 2 คัน 1,400,000 1,400,000 เครื่ องเจาะกรี น 1 เครื่ อง 1 เครื่ อง 1เครื่ อง 900,000 900,000 เครื่ องเจาะแฟร์เวย์ 1 เครื่ อง 1 เครื่ อง 1เครื่ อง 900,000 900,000 เครื่ องกรี ดแฟร์ เวย์ 1 1 1 500ล000 500,000 เครื่ อง TOPDRESS FAIRWAY 1 1 1 450,000 450,000 เครื่ อง TOPDRESS GREENS 1 1 1 1,400,000 1,400,000 เครื่ องดูดเก็บใบไม้ 1 เครื่ อง 1 เครื่ อง 2เครื่ อง 1,000,000 2,000,000 เครื่ องเป่ าพ่วงท้ายแทรคเตอร์ 1 เครื่ อง 2 เครื่ อง 3เครื่ อง 250,000 750,000 เครื่ องเป่ าสะพายหลัง 2 เครื่ อง 4 เครื่ อง 6 เครื่ อง 36,000 216,000 เครื่ องตัดขอบบังเกอร์ 1 เครื่ อง 2 เครื่ อง 3เครื่ อง 36,000 108,000 รถขุดหน้าตักหลัง 1 คัน 1คัน 1คัน 2,500,000 2,500,000 รถหกล้อดัม ๊ 1 คัน 1คัน 1คัน 900,000 900,000 ่ แทรคเตอร์ พวงเครื่ องจักร 2 คัน 4 คัน 6 คัน 1,000,000 6,000,000 เครื่ องแซะหญ้า 1 เครื่ อง 1 เครื่ อง 1เครื่ อง 250,000 250,000 เทลเล่อรับส่ งเครื่ องจักร 1 คัน 2 คัน 3คัน 120,000 360,000 รถคราดทราย 1 คัน 2 คัน 3คัน 500,000 1,000,000 รถสาหรับงานระบบน้ า 1 คัน 1คัน 100,000 100,000 รถช่าง 1 คัน 1 คัน 1 คัน 100,000 100,000 รถสาหรับหัวหน้างาน 1 คัน 2 คัน 3 คัน 100,000 300,000 รวม 42,149,000
  • 6. ส่ วนประกอบหลักของสนาม • THE PUTTING GREENS • THE TEE • THE FAIRWAY • THE ROUGH • THE BUNKER • LANDSCAPE
  • 7. ส่ วนประกอบของสนาม GREEN BUNKER ROUGH FAIRWAY TEE R R R O O O U U G
  • 8.
  • 10. THE PUTTING GREENS • กรี นเป็ นส่ วนหนึ่งของสนามที่มีความสาคัญเป็ นอันดับหนึ่ งทั้งในด้านการดูแลรัษา และเกมส์กอล์ฟ ในการเล่นกอล์ฟแต่ละครั้งนักกอล์ฟจะให้ความสาคัญในการ เล่นบนกรี นมาก เฉลี่ย 2 shots /กรี น หรื อประมาณ 50% ( หรื อ >) ทั้งๆที่พ้ืนที่กรี นเป็ นพื้นที่ขนาดเล็กมีประมาณ 2 % ของพื้นที่สนามทั้งหมด • ขนาดของของกรี นไม่ได้กาหนดตายตัวด้านขนาดและรู ปร่ างขนาดมีต้ งแต่ขนาด ั ร้อยกว่าตารางเมตรไปจนถึง 3000-4000 ตารางเมตร(ในกรณี กรี นแฝด) ่ ั ขนาดและรู ปร่ างขึ้นอยูกบการออกแบบและความต้องการของเจ้าของ แต่ โดยทัวไปจะคานึงถึงความสวยงามและความมีเหตุมีผลในการเล่นมากกวา ่ ั • การดูแลรักษา ผูดแลสนามจะต้องให้ความสาคัญและเอาใจใส่ กบกรี นเป็ นพิเศษ ู้ เพราะกรี นมีพ้นที่ขนาดเล็ก ตัดหญ้าสั้น เกิดการ compact จากการเหยียบยา ื ่ จากนักกอล์ฟ,แคดดี้ และการทางานของเครื่ องจักร
  • 11. คุณสมบัติของกรี นที่ดี COMOPNENTS OF PUTTING GREEN QUALITY • โครงสร้างดี • พันธ์หญ้าเหมาะสมสาหรับภูมิประเทศนั้นๆ • รู ปทรงสวยงาม UNIFORMITY • ความเรี ยบของผิวกรี น SMOOTHNESS • ความสมบูรณ์ของกรี น FIRMNESS • ่ ความยืดหยุนสามาถทนการเหยียบยาได้ RESILIANCY ่ • สามารถตัดต่าได้ CLOSE MOWING • ไม่มีดอกหญ้าABSENCE OF GAIN
  • 12.
  • 13. ปัจจัยที่มีผลต่อการเติบโตของหญ้า • ดิน • น้ า • อากาศ • แสง • ธาตุอาหาร
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17. โครงสร้างกรี น •โครงสร้างดี USGA
  • 18. USGA รายละเอียดเกียวกับดิน ่ กรวดละเอียด & ไม่ เกิน 10% ทรายหยาบมาก 1 - 3.4 มิลลิเมตร ทรายหยาบ 0.5 - 1 มิลลิเมตร อย่ างน้ อย 60% ทรายหยาบปานกลาง 0.25 - 0.5 มิลลิเมตร ทรายละเอียด 0.15 - 0.25 มิลลิเมตร ไม่ เกิน 20% ทรายละเอียดมาก 0.05 - 0.15 มิลลิเมตร ทรายแปง้ 0.002 - 0.05 มิลลิเมตร ไม่ เกิน 10% . ดินเหนียว < 0.002 มิลลิเมตร
  • 19. GREEN MAINTENCE • การตัดกรี น • การให้น้ า • การให้ปุ๋ย • การกาจัดศัตรู พืช • การป้ องกันกาจัดโรคพืช • การป้ องกันกาจัดวัชพืช • การเขตกรรม
  • 20. การตัดกรี น • เครื่องจักรสภาพต้องมีความสมบูรณ์ ใบมีดล่างและใบมีดพวงต้องคมและ ปรับตั้งความสู งของใบมีดให้เหมาะสม ตรวจเช็คสภาพลูกปื นลูกกลิ้งและพวงมีด • ผูใช้เครื่ องจักรตัดกรี น ตอ้งมีความรู ้และเข้าใจเกี่ยวกับเครื่ องจักรและการใช้เป้ นอ ้ ย่างดี • ความถี่ในการตัด ตัดทุกวันยกเว้นกรณี ที่มีการแข่งขันอาจจะต้องตัดมากกว่าหนึ่ ง ครั้งเพื่อให้ได้ความเร็ วของกรี นตามที่ผจดการแข่งขันกาหนด ู้ ั • ทิศทางการตัด( line) ไม่ควรตัดในทิศทางเดียวกันทุกวันเพราะจะทาให้ตนหญ้า ้ ล้มไปในทิศทางเดียวกัน จะมีผลต่อการพัทของนักกอล์ฟ • ่ ั ความสู งของการตัด ขึ้นอยูกบ พันธุ์หญ้า ความสมบูรณ์ของหญ้า สภาพภูมิอากาศ และความต้องการของสนามนั้นๆเป็ นผูกาหนด การตัดครั้งแรกไม่ควรตัดเกิน 1 ้ ใน3ของความสู งของหญ้า
  • 21. การกระทบกระเทือนเนื่องจากการตัด รอยตัดคม รอยตัดทื่อ ศึกษาทีมหาวิทยาลัยไอโอวาสเตท ่ โดย Nick Christians and Mark Howeison ปลายใบจะถูกทาลายจากการ ปรับตั้งใบมีดตัด จากใบมีดพวง ถึง ใบมีดล่ าง bentgrass, fairway height
  • 22. Triplex Clean-up Ring รอยยาง (Tire abrasion) รอยถลอกของหญ้า (Scalping) รอยตัดซ้อนกัน (Overlap stripes) ความรุ นแรงเกิดจากการเลี้ยวแคบ ( Most severe in tight turn
  • 23. ผลของการตัดหญ้ า การตัดเป็ นความเครียดอย่างหนึ่งสาหรับหญ้า ซึ่งหญ้าไม่ได้รบประโยชน์ใดๆจาก ั การตัด (เนื่องจากการสูญเสียใบ) ลดอัตราการสังเคราะห์แสงเนื่องจากสูญเสียเนื้อเยือใบ (การลดลงของพื้ นที่ใบ: Leaf area ่ index (LAI) ) โดยมีผลทาให้เกิด - ลดการสังเคราะห์คาร์โบไฮเดรตและการกักเก็บคาร์โบไฮเดรต - เพิ่มการเจริญเติบโตของยอด (พืชตอบสนองต่อพื้นที่สงเคราะห์แสง) ั การลดลงของน้ าหนักรากและความยาวราก คาร์โบไฮเดรตที่สงเคราะห์ข้ ึนถูกแบ่งไปที่สวนบนของต้น (สามารถนากลับคืนได้) ั ่ สารควบคุมการเจริญของรากอาจถูกสร้างขึ้นที่ใบ เนื้อเยื่อที่มีบาดแผล ทาให้เกิดการสูญเสียน้ าและเกิดการเข้าทาลายของเชื้อรา  เพิ่มความหนาแน่นของหญ้า ( เป็ นการปรับพื้นที่สงเคราะห์แสง) ั  ลดความกว้างของใบหญ้า เพิ่มใบที่มีความละเอียด
  • 24. หญ้ ามีความเครียดเพิมขึนเมือ ่ ้ ่ การตัดหญ้ าที่ความสู งระดับตา ่ • ความสู งของการตัดหญ้ ามีผลมากต่อความยาวรากของหญ้ า • การตัดหญ้ าระดับตามากๆจะลดการเจริญเติบโตของรากและ ่ ไหลของหญ้ า • เพิมความไวต่ อสภาวะทางสภาพแวดล้อมที่ไม่ เหมาะสม ่ • ลดความทนทานของหญ้ า • เพิมการเกิดโรค (dollar spot, leaf spot, rust) ่ อุณหภูมของดินใน กรีน, แฟร์ เวย์ และ รัฟ ิ • ให้ ตัว Buffering 35 Interlachen CC #1 hole ของดินมี อุณหภูมิน้อยลง และปกป้ องส่ วนบน อุณหภูมิอากาศ 30 ความลึก 1½ เซนติเมตร องศาเซลเซียส 25 กรี น แฟร์เวย์ 20 รัฟ 15 2-Sep 9-Sep 12-Aug 19-Aug 26-Aug 5-Aug 15-Jul 22-Jul 29-Jul 8-Jul 2537
  • 25. การป้ องกันวัชพืชบนกรี น • เนื่องจากกรี นเป็ นส่ วนที่สาคัญ ที่สุดของสนามมีพ้ืนที่ขนาดเล็ก หญ้าตัดสั้นเพื่อทา speed หญ้าจึงมีความออ่นแอ การกาจัด วัชพืชจึงไม่นิยมใช้สารเคมี เพราะจะทาให้หญ้าตายหรื อไม่ก็ ฟื้ นยากส่ วนมากจะใช้การกาจัด ด้วยการถอนด้วยแรงคนมากกว่า
  • 26. การให้น้ า IRRIGATION การให้น้ าต้องให้แต่พอเหมาะไม่มากหรื อน้อยเกินไป ปัจจัยและความถี่ในการให้ นา ้ -โครงสร้ างของกรีน - สภาพอากาศ - ฤดูกาล วิธีการให้ นา้ 1 ระบบสปริงเกอร์ - อัตโนมัติ - กึงอัตโนมัต ่ 2การใช้ แรงงานคน - การใช้ สายยาง -
  • 27. การให้ ปุ๋ยกรีน 1) ชนิดนา ้ 2) ชนิดเม็ด 3 ) ปุ๋ ยจัดตามความสามารถในการละลาย & ปุ๋ ยละลายช้ า ข้ อดีของปุ๋ ยนา ้ ง่ ายต่ อการตวงวัด สามารถใช้ ได้ บ่อยๆ ปุ๋ ยมีความสมาเสมอ ่ ไม่ มการจับตัวกันเป็ นก้อน ี สามารถนาไปใช้ ได้ เลย ( ปุ๋ ยเข้ มข้ น) ปุ๋ ยนาละลายช้ า ้ “สารอินทรีย์” ทีมโครงสร้ างทีต้องมีการย่ อยสลายแร่ ธาตุ โดยจุลนทรีย์ เช่ น “CoRoN” ่ ี ่ ิ ปุ๋ ยนาจะใช้ บนกรีนและ บนแท่ นที โดยการฉีดพ่น ส่ วนในกรณี แฟร์ เวย์ ให้ โดยใช้ เครื่องฉีดพ่นปุ๋ ย ้ ปุ๋ ยเม็ดละลายช้ า ความถี่และปริ มาณในการให้ปุ๋ย ให้ ใช้ นานๆครั้ง ่ ั ตอ้งขึ้นอยูกบปริ มาณธาติอาหารในดินที่วเิ คราะห์ ไม่ ทาให้ เกิดอาการใบไหม้ ออกมาเพื่อใช้ในการตัดสิ นใจประยุกต์ในการให้ปุ๋ย ชนิดของการละลายช้ า เพื่อลลดการสู ญเสี ยธาตุอาหารและต้นทุนของสนาม Sulfur Coated - ใช้ เวลานานในการปลดปล่อยธาตุอาหาร contents Polymer Coated - การปลดปล่อยเกิดจากกระบวนการออสโมซิส Organic - ให้ เชื้อจุลนทรีย์ช่วยในการย่ อยสลาย ิ
  • 28. แมลงศัตรูหญ้ าสนาม • ความเสี ยหายทีได้ รับโดยตรงจากแมลงศัตรู ่ Grubs • ความเสี ยหายทางอ้ อมจากสั ตว์ ทกนแมลงศัตรู ี่ ิ • แมลงศัตรู หญ้ านั้นการจัดการยากกว่ าการจัดการวัชพืชเพราะพวก แมลงมองเห็นได้ ยากกว่ า • ความเสี ยหายทีเ่ กิดมากที่สุดจากแมลงศัตรูน้ันจะเกิดในช่ วงทีเ่ ป็ น ระยะตัวหนอน • สารกาจัดแมลงออกฤทธิ์ได้ ไม่ นาน; และต้ องการถูกต้ องเฉียบขาด Mole cricket Fire ant Sod webworm Cutworm
  • 30. โรคของหญ้ า (Turf Diseases) สภาพที่เหมาะสมต่ อการเจริญของเชื้อ สภาพแวดล้ อม (Environmental) • มีความชื้นสู ง (เปี ยกชืน) ้ • มีความชื้นสัมพัทธ์ สูง • นาค้างแรง ้ • อุณหภูมิ • อากาศไม่ ถ่ายเท • มีแสงน้ อย • ไม่ มีการปรับปรุงดิน (ความไม่ สมดุลของจุลนทรย์ ในทรายใหม่ บนกรีน) ิ การเขตกรรม (Cultural) • การให้ ไนโตรเจนมากเกินไปทาให้ เกิดลักษณะเนือเยือทีอวบนา ้ ่ ่ ้ • ขาดไนโตรเจน (dollar spot, anthracnose, take-all patch, red thread, rusts) • ให้ นามากเกินไป ้ • การระบายนาไม่ ดี ้ • มีการไว้ thatch มากเกินไป • ความสู งในการตัดหญ้ าที่ตา ่ • ความถีในการตัดหญ้ า ่ • เกิดการกระทบกระเทือนมากเกินไป (ใบมีดทือ & การขนส่ งต่ างๆ) ่
  • 31. โรคของหญ้ า (Turf Diseases) การควบคุม การทาเขตกรรม • ให้ เกิดสภาวะเครียดน้ อยที่สุด • ควบคุมการให้ ปุ๋ยไนโตรเจน • ควบคุมการให้ นา ้ • ดินต้ องมีการอัดแน่ นน้ อยและมีการระบายนาได้ ดี ้ • ต้ องดูแลใบมีดเครื่องตัดให้ คมอยู่เสมอ • ต้ องฉีดนาเมื่ออากาศร้ อน ้ • ต้ องเอานาค้ างออกและให้ ซึมได้ เมื่ออากาศเริ่มอุ่นขึนในช่ วงเช้ า ้ ้ • ให้ มีการถ่ ายเทอากาศที่พอเหมาะ การใช้ ยาฆ่ าเชื้อรา • เพือป้ องกันและรักษา ่ • ใช้ ท้ังชนิดเม็ดและชนิดนาฉีดพ่น ้ • ใช้ ท้งระบบสั มผัสตายและระบบดูดซึม ั • ต้ องใช้ ยาฆ่ าเชื้อราที่หลากหลายเพือหลีกเลียงการดือยา ่ ่ ้
  • 32. การเขตกรรม การจัดการปรับปรุงสภาวะทางกายภาพของระบบนิเวศน์ ของหญ้ า ให้ มความเหมาะสมต่ อการเจริญเติบโตของหญ้ า ี • ทาไมต้องมีการเขตกรรม ?
  • 33. Thatch • Thatch เป็ นที่สะสมของของ อินทรีย์วตถุที่บริเวณผิวดิน ั • ซึ่งได้ มาจากไหล รากและเนือเยือราก ้ ่ • เศษหญ้ าจากการตัดช่ วยทาให้ เกิด thatch ได้
  • 34. ผลกระทบของ Thatch ต่ อหญ้ า การแห้ งเป็ นหย่ อมๆ • ยับยั้งการซึมผ่ านของนา (เมือแห้ ง) ้ ่ • ทาให้ เกิดการแห้ งเป็ นหย่ อมๆได้ • ธาตุอาหารและยาฆ่ าเชื้อราไม่ สามารถผ่ านได้ • เป็ นแหล่ งเพาะเชื้อโรค • ส่ งผลให้ เกิดระบบรากตืน ้ • เกิดลักษณะหญ้ าฟูสนามหญ้ ามีการพลิกและถลก ของหญ้ า
  • 35. สาเหตุททาให้ เกิด Thatch ี่ Thatch ถูกควบคุมโดยการย่ อยสลายของจุลนทรีย์ ิ โดยทัวไปจะมีการสะสม thatch เมือ ่ ่ 1) กิจกรรมของจุลนทรีย์ถูกจากัด ิ 2) พืชเจริญเติบโตมากเกินไป (ย่ อยสลาย/เน่ าเสี ยมากเกินไป) ปัจจัยสาคัญที่ส่งผลต่ อ Thatch : • การให้ ปุ๋ยไนโตรเจนมากเกินไป • ขาดอากาศ - นามากเกินไป ้ - ดินแน่ นทึบ • ดินเป็ นกรด • ยาฆ่ าเชื้อรา • ความแข็งแรงของหญ้ าสายพันธุ์ใหม่ ความสั มพันธ์ ระหว่ างผิวสั มผัสของแต่ ละสายพันธุ์ ความสู งของการตัด และการพัฒนา ของ Thatch เช่ น ผิวสั มผัสละเอียด (ความถี่ในการพรวน , ใบเล็ก ) จะเกิด Thatch ได้ มากกว่ าเมือตัดทีระดับสู งกว่ า ่ ่
  • 37.
  • 39. วิธีปฏิบัติและจัดการสนามหญ้ า: การตัด Canopy การสางหญ้า การโรยทราย Thatch การทา Verticutting การเติมอากาศ Soil (root zone)
  • 40. วิธีปฏิบัติและจัดการสนามหญ้ า: ควบคุมโรค ควบคุมวัชพืช การให้ ปุ๋ย ควบคุมแมลงศัตรู การให้ นา ้ การตัด Canopy การสางหญ้ า Thatch การโรยทราย การทา Verticutting อากาศ การเติม Soil การระบายนา ้ (root zone)
  • 41. วิธีปฏิบัติและจัดการสนามหญ้ า: ตามชั้น/ระดับ ตามความถี่ การตัด การตัด การสางหญ้ า การสางหญ้ า การโรยทราย ทุกวัน การให้ นา ้ การให้ ปุ๋ย การให้ ปุ๋ย Canopy การให้ นา ้ 7-14 วัน การโรยทราย การควบคุมโรค การกาจัดวัชพืช การควบคุมโรค การควบคุมแมลงศัตรู การกาจัดวัชพืช Thatch การทา Verticutting ตามต้องการ การควบคุามลงศัตรู การเติมอากาศ การทา Verticutting Soil (root zone) การระบายนา 1-4 ครั้งต่อฤดูกาล การเติมอากาศ ้ การระบายนา ้
  • 42. การปฏิบัตเิ พือควบคุม Thatch ่ การปองกัน ้ • การจัดการปุ๋ ย และการให้ นา ้ การรักษา การทา Verticutting การเติมอากาศ การโรยทราย TOPDRESS CORING CORRING
  • 44. Verticutting การซอยหญ้ าVerticutting เป็ นการทาลายชั้น THATCH โดยการซอยเพือเคลือนย้ายเอาเศษหญ้ าที ่ ่ ทีไม่ ย่อยสลายอยู่ใต้ ช้ันผิวหญ้ าออกไป เป็ นการตัดไหลของหญ้ าและทาให้ ยอด หญ้ าตั้งตรง
  • 45. ขั้นตอนการทาVerticutting • การซอยหญ้า • การเก็บเศษหญ้า • การ topdress • การเกลี่ยปรับทราย • การให้ปุ๋ย • การให้น้ า
  • 46. การทา Verticutting การเอาอินทรีย์วัตถุออกด้ วยเครื่องจักร โดย vertical blades ทีความลึก ½ -1½ นิว ่ ้
  • 47.
  • 48.
  • 49.
  • 52.
  • 53.
  • 55. การโรยทราย (Topdressing) การโรยทรายทาทุก 7-14 วัน โดยทา ในช่ วงทีหญ้ ายังมีการเจริญเติบโต ่ และมีสีเขียว การโรยทรายในแฟร์ เวย์ต้องทามากกว่ าปกติ
  • 56. การโรยทราย (Topdressing) + ทาให้ เกิดการย่ อยสลายของ thatch และควบคุม thatch ได้ + ช่ วยเพิมทรายในระบบรากได้ ่ + ใช้ เพือการปรับสภาพดินบนกรีน เพือเติมอากาศและระบายนา ่ ่ ้ + ปรับพืนทีให้ ราบเรียบ ้ ่ + กระตุ้นการเกิดราก
  • 58. ปัญหาทีต้องแก้ ด้วยการเติมกอากาศ บนกรีน ่ ลั ษณะทรายใหม่ Thatch การอัดตัวแน่ นของดินเหนียวจัด ทรายที่เกาะอยู่บริเวณรากทาให้ ไม่ เกิดการย่ อยสลายของ อินทรีย์วตถุ (เนือเยือรากตาย) ั ้ ่ กิจกรรมของจุลนทรีย์ในทรายใหม่ จะตามาก ิ ่ การแซะหญ้า (Sod) การเติมอากาศให้ รากทีลกกว่ า ่ึ
  • 59. การเติมอากาศ(Aeration) VC ‘97 • ช่ วยลดการอัดแน่ นของดินและทาให้ มออกซิเจนในอนุภาคดิน ี • ปรับการเคลือนทีของนา ่ ่ ้ • ทาให้ ดนรวมกับชั้น thatch ช่ วยเพิมการย่อยสลายได้ ดี ิ ่ • ทาให้ ย่อยและเร่ งการย่ อยสลายอินทรีย์วตถุในชั้นรากทีเ่ กิด “black layer” ั • เป็ นตัวรบกวนระบบรากทาให้ กระตุ้นการเจริญเติบโต • ช่ วยการสร้ างระบบรากใหม่ • การโรยทรายเป็ นเพียงวิธีการปรับโครงสร้ างดิน ทีเ่ ป็ นการซ่ อมแซมระยะสั้ น
  • 60.
  • 62. การเติมอากาศแบบดอกกรวง (Hollow tine) จุดเด่ น เป็ นวิธีที่ดีทสุดในการช่ วยปรับการแน่ นทึบของดิน ี่  ช่ วยลดชั้น thatch และควบคุมการเกิด thatch ( ทาให้ ดินและชั้น thatch ผสมกัน ช่ วยเร่ งการย่อยสลาย)  เพิมการระบายนาบนผิวดิน (การซึมผ่ านทีละน้ อย (infiltration)&การไหลซึม ่ ้ (percolation)  ต้ องทาการปรับสภาพดินให้ มาก ( การทา core ดินนั้นจะเป็ นการนาออกหรื อนามาแทนที่ ใหม่ กได้ ) ็  เปลียนหญ้ าที่ไม่ แข็งแรงออก ่ จุดด้ อย มีผลทาให้ เกิดการทาลายหญ้ า และเป็ นการสร้ างสภาวะเครียด อย่างหนึ่ง ซึ่งการจัดเวลาเป็ นสิ่ งสาคัญ ต้ องใช้ แรงงานทีมีความละเอียดมากและอาจทาให้ ดินแตกแยก ่ เวลาทา (ควรทา 1-2 ครั้งต่ อฤดูกาล หรือตามความต้องการ)
  • 63. การเติมอากาศแบบดอกตัน (Solid tine) จุดเด่ น ใช้ เพือเติมอากาศแบบชั่วคราว (ลดการอัดแน่ นของดิน) ่ สามารถทาในช่ วงเกิดสภาวะเครี ยดได้ เพิมการระบายนาบนพืนผิว การซึมผ่ านทีละน้ อย ่ ้ ้ (infiltration)&การไหลซึม (percolation) ต้ องการใช้ แรงงานน้ อย จุดด้ อย – เพิมความแน่ นของดินในพืนทีหลุม ่ ้ ่ –สร้ างความเสียหายต่ อต้นหญ้ าและเป็ นเหตุให้ เกิดสภาวะเครียด –เกิดการแตกแต่น้อยกว่ าการคราดแบบ hollow tine
  • 64.
  • 65.
  • 66.
  • 67.
  • 68.
  • 71.
  • 72.
  • 73. การเติมอากาศด้ วย Deep tine ใช้ สาหรับแทงเป็ น cultivation pan ซึ่งปรับจากการเติมอากาศแบบ ปกติ
  • 74.
  • 75. การระบายน้า (Drainage): การจัดการน้ า คือ : การใช้น้ า - การชลประทาน ไม่กีดขวางทางน้ า - การระบายน้ า ” การจัดการสนามกอล์ ฟนั้น คือ มาจากความรู้ 10 % ศิลปะ 10 % โชค 10% และ เรื่องการระบายนา 70 %” ้ เหล็กแหลมเจาะดินลึก (Deep tine) -- Oscar Miles, CGCS, The Merit Club การเจาะและการถม (Drill & fill) ทางระบายน้ า (Slit drainage)
  • 76. THE TEE • กฎของกอล์ฟไม่ได้กาหนดขนาดหรื อรู ปร่ างไว้แน่นอนเพียงแต่ กาหนดให้เป็ นจุดเริ่ มต้นในการเล่นกอล์ฟโดยมีจุด tee marker 2 จุดเป็ นตัวกาหนดไม่ให้วางลูกล้ าเส้นก่อนตีลูกออกไป แต่ใน ปัจจุบน TEEจะถูกออกแบบให้กลมกลืนกับพื้นที่และมีความโดดเด่น ั ตาม style ของผูออกแบบอาจจะมีรูปร่ างและขนาด แตกต่างกันไป ้
  • 77.
  • 78.
  • 80. COMPONENT0F TEE QUALITY • โครงสร้างดี • พันธ์หญ้าเหมาะสมสาหรับภูมิประเทศนั้นๆ • รู ปทรงสวยงาม UNIFORMITY • ความเรี ยบSMOOTHNESS • ความสมบูรณ์ FIRMNESS • ่ ความยืดหยุนสามาถทนการเหยียบยาได้ RESILIANCY ่ • สามารถทนต่อการตัดตัดต่าได้ CLOSE MOWING • ขนาดเหมาะสม
  • 82.
  • 83. TEE MAINTENCE • การตัด • การให้น้ า • การให้ปุ๋ย • การกาจัดศัตรู พืช • การป้ องกันกาจัดโรคพืช • การป้ องกันกาจัดวัชพืช • การเขตกรรม
  • 84.
  • 86. THE FAIRWAY • แฟร์ เวย์เป้ นส่ วนหนึ่ งของสนามที่อยู่ ระหว่างทีออฟกับกรี น เป็ นจุดที่ ออกแบบไว้สาหรับการรองรับการตกของ ลูกกอล์ฟ(landing area)ที่ไดร์ ฟ ออกจากทีออฟ และเป็ นจุดที่จะขึ้น shot ที่สองสามารถมองเห็นกรี นได้ ในการดูแลแฟร์ เวย์การตัดหญ้าจะตัดสั้น รองจากทีออฟส่ วนมากจะตั้งความสู งใน ่ การตัดอยูที่ 1-2 เซนติเมตรแล้วแต่ละ ชนิดของพันธ์หญ้า เพื่อให้ลกลอย การตัด ู หญ้ายาวจะทาให้การเล่นยากขึ้นจานวน รอบของกอล์ฟก็จะลดลง
  • 87. COMPONENTS OF FAIRWAY QUALITY • โครงสร้างดี • พันธ์หญ้าเหมาะสมสาหรับภูมิประเทศนั้นๆ • รู ปทรงสวยงาม UNIFORMITY • ความเรี ยบSMOOTHNESS • ความสมบูรณ์ FIRMNESS • ความหนาแน่น density • ่ ความยืดหยุนสามาถทนการเหยียบยาได้ RESILIANCY ่
  • 89. FAIRWAY MAINTENCE • การตัด fairway • การให้น้ า • การให้ปุ๋ย • การกาจัดศัตรู พืช • การป้ องกันกาจัดโรคพืช • การป้ องกันกาจัดวัชพืช • การเขตกรรม
  • 90.
  • 91.
  • 92.
  • 93.
  • 94. การเติมอากาศในแฟร์ เวย์ ใช้ แรงงานทีมีความละเอียดสู ง ่
  • 95. การทา Core การ Returning cores เทียบเท่ ากับการโรยทราย โดยให้ ประโยชน์ 2 อย่ าง คือ 1) ใช้ แรงงานลดลง 2) ควบคุม thatch ได้
  • 96.
  • 97.
  • 98. THE ROUGH ่ • รัฟเป็ นส่ วนของสนามหญ้าทั้งหมดที่อยูรอบๆ ทีแฟร์เวย์ กรี น ซึ่งจะเป็ น ส่ วนที่หญ้ายาวที่สุดของสนามถือเป็ นอุปสรรคอย่างหนึ่งในการเล่น
  • 110. • เครื่ องจักร รถกอล์ฟ
  • 111.
  • 112.
  • 113.
  • 115.
  • 116.
  • 117.
  • 118.
  • 119.