SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
พันธุศาสตร์พันธุศาสตร์
การถ่ายทอดการถ่ายทอด
ลักษณะทางลักษณะทาง
พันธุกรรมพันธุกรรมน.ส. ประภัสสร ติ๊บเต็ม เลขที่ 13
นาย พิสิฐ พรหมศร เลขที่ 30
น.ส. เบญจพร กันทะวงษ์ เลขที่ 38
ม.6/6
ารถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การศึกษาของเมนเดล
ารศึกษาลักษณะพันธุกรรมของเมนเดล
ความน่าจะเป็นและกฎแห่งการแยก
1 (กฎข้อที่ ของเมนเดล Mendel’s Law of Segregation)
2 (กฎข้อที่ ของเมนเดล Mendel’s Law of Independent Assortment)
(การทดสอบพันธุกรรม Test Cross)
(การผสมกลับ Back Cross)
ลักษณะทางพันธุกรรมที่นอกเหนือกฎ
เมลเดลการข่มร่วมกัน
การข่มแบบไม่สมบูรณ์
Multiple alleles
Multiple gene
Complementary Gene
Epistasis
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
• การศึกษาของเมนเดล
ประวัติของเมนเดล (Biography of Gregor Mendel)
เกรเกอร์ เมนเดล (พ.ศ. 2365-พ.ศ. 2427) บิดาทางพันธุศาสตร์ เกิดที่เมือง
ไฮน์เซนดรอฟ ประเทศออสเตรีย เป็นบุตรชายคนเดียวในจำานวนพี่น้อง 3 คน
ของครอบครัวชาวนาที่ยากจน โดยต่อมา เมนเดลได้ไปบวชแล้วได้รับ
ตำาแหน่งรับผิดชอบดูแลสวน ในปี พ.ศ. 2390
ผลงานทางพันธุศาสตร์
• เกรเกอร์ เมนเดล เผชิญความผิดหวังนับ 20 ปี ที่เขายังคงสอนหนังสือ
เพื่อชดเชยความผิดหวัง เขาทำางานในสวนของวัดทุกเวลาที่ว่าง ที่นั่น
มีพันธุ์พืชมากมาย แต่ละชนิดแตกต่างหลากหลายอย่าง ความแตกต่าง
นี้ ทำาให้เกรเกอร์นึกสงสัย เขาได้ผสมพันธุ์ถั่วเดียว กันและต่างพันธุ์
เป็นจำานวนแตกต่างถึง 22 ชนิดของต้นถั่ว เพื่อศึกษาลักษณะทั้งหมด
เป็นเวลารวม 8 ปีเต็มในการทดลองร่วมพันครั้ง พบได้ 3 สิ่ง ดังนี้
1. สิ่งแรก เมื่อผสมพันธุ์ถั่วชนิดต่างกันสองชนิดผลผลิตต่อมาที่ได้เป็น
พันธุ์ชนิดเดียว ยกตัวอย่าง ถ้าหากเขาผสมพันธุ์ถั่วเมล็ดสีเหลืองกับ
ชนิดเมล็ดสีแดง มันจะผลิตพันธุ์เมล็ดสีเหลืองออกมา
2. ต่อไป เมื่อผสมพันธุ์ต่างชนิดกันของผลผลิตรุ่นแรก รุ่นต่อไปจะมีเมล็ด
ทั้งสองชนิด ในทุกๆสี่ต้นจะมีสามต้นที่มีเมล็ดสีเหลือง และ 1 ต้น ที่มี
เมล็ดสีเขียว นี่เป็นเพราะว่าหน่วยถ่ายพันธุ์ที่ผลิตเมล็ดสีเหลืองเป็น
หน่วยถ่ายพันธุ์ที่ เด่น คือ โดมิแนนท์ยีน หน่วยถ่ายพันธุ์ที่ผลิตเมล็ดสี
เขียวเรียกว่า รีเซสซีพยีน หรือหน่วยถ่ายพันธุ์ด้อย
3. ถ้าหากเขาผสมพันธุ์ถั่วต่างชนิดกันด้วยถั่วสองชนิด หรือมากกว่านั้นที่
มีลักษณะแตกต่างกัน เขาจะค้นพบกฎข้อที่สาม สมมติว่าเขาผสมพันธุ์
ถั่วที่มีเมล็ดเรียบสีเหลืองกับพันธุ์ถั่วที่มีเมล็ด หยาบสีเขียว รุ่นแรกเมล็ด
เรียบสีเหลืองจะเป็นตัวเด่น ในรุ่นต่อไปจะมีอัตราส่วนเมล็ดเรียบสี
เหลือง 9 ส่วน ต่อเมล็ดเรียบสีเขียว 3ส่วน เมล็ดหยาบสีเหลือง 3 ส่วน
ต่อเมล็ดหยาบสีเขียว 1 ส่วน
หลังจากนั้น เมนเดลได้ส่งผลการทดลองนี้ไปยัง
สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งหนึ่ง แต่กลับไม่มีผู้ที่
สนใจเลย เมนเดลก็ได้ทำาการล้มล้างการตีพิมพ์
งานของตน เขาเก็บรายงานนี้ไว้ที่ห้องสมุดและ
ทำาการทดลองต่อไปเงียบๆ จนกระทั่งถึงแก่กรรม
ในปี พ.ศ. 2427
การวิพากษ์วิจารณ์
จากข้อมูลดิบที่เมนเดลได้ตีพิมพ์นั้น ก่อนจะมาสรุปเป็นกฎได้นั้น ปัจจุบันมีผู้ตั้ง
ข้อโตแย้งว่าตัวเลขที่ได้จากการทดลองของเมนเดลใกล้เคียง กับค่าทาง
ทฤษฎีเกินไปจนเป็นที่น่าสงสัย ทั้งนี้อาจเกิดจากความบังเอิญหรือเป็นความ
จงใจของเมนเดลเองก็ได้
อย่างไรก็ตามการค้นพบของเมนเดลถือว่าเป็นการค้นพบยิ่งใหญ่ครั้งหนึ่งในวง
การพันธุศาสตร์ เนื่องจากเมนเดลสามารถไขความลับการสืบทอดลักษณะ
ทางพันธุกรรมต่างๆ จากบรรพบุรุษไปสู่ลูกหลานโดยที่ในสมัยนั้นยังไม่มีการ
ค้นพบสารพันธุกรรม ดีเอ็นเอ ยีน หรือ โครโมโซมแต่อย่างใด
ใส่คลิป www.youtube.com/watch?v=6OPJnO9W_rQ&
การศึกษาลักษณะพันธุกรรมของเมนเดล
การทดลองของเมนเดล
1.เมนเดลประสบผลสำาเร็จในการทดลอง จนตั้งเป็นกฎเกี่ยวกับการ
ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากพ่อแม่มายังลูกหลานใน ช่วงต่อๆมาได้
เนื่องจากสาเหตุสำาคัญสองประการ คือ
เมนเดลรู้จักเลือกชนิดของพืชมาทำาการทดลอง พืชที่เมนเดลใช้ในการ
ทดลองคือถั่วลันเตา (Pisum sativum) ซึ่งมีข้อดีในการศึกษาด้านพันธุศาสตร์
หลายประการ เช่น
1.1 เป็นพืชที่ผสมตัวเอง (self- fertilized) ซึ่งสามารถสร้างพันธุ์แท้ได้ง่าย
หรือจะทำาการผสมข้ามพันธุ์ (cross- fertilized) เพื่อสร้างลูกผสมก็ทำาได้ง่ายโดย
วิธีผสมโดยใช้มือช่วย (hand pollination)
1.2 เป็นพืชที่ปลูกง่าย ไม่ต้องทำานุบำารุงรักษามากนัก ใช้เวลาปลูกตั้งแต่ปลูก
จนถึงเก็บเกี่ยวภายในหนึ่งฤดูปลูก (growing season) หรือประมาณ 3 เดือน
เท่านั้น และยังให้เมล็ดในปริมาณที่มากด้วย
1.3 เป็นพืชที่ มีลักษณะทางพันธุกรรม ที่แตกต่างกันชัดเจนหลายลักษณะ ซึ่ง
ในการทดลองดังกล่าว เมนเดลได้นำามาใช้ 7 ลักษณะด้วยกัน
2.เมนเดลรู้จักวางแผนการทดลอง
2.1 เลือกศึกษาการถ่ายทอดลักษณะของถั่วลันเตาแต่ละลักษณะก่อน เมื่อ
เข้าใจหลักการถ่ายทอดลักษณะนั้น ๆ แล้ว เขาจึงได้ศึกษาการถ่ายทอดสอง
ลักษณะไปพร้อม ๆ กัน
2.2 ในการผสมพันธุ์จะใช้พ่อแม่ พันธุ์แท้ (pure line) ในลักษณะที่ตรงกันข้าม
กัน มาทำาการผสมข้ามพันธุ์เพื่อสร้างลูกผสมโดยใช้มือช่วย (hand pollination )
2.3 ลูกผสมจากข้อ 2.2 เรียกว่าลูกผสมช่วงที่ 1 หรือ F1( first filial generation)
ลักษณะต่าง ๆ ของถั่วลันเตาที่เมนเดล ใช้ใน
การศึกษาการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 ข้อสรุปจากการวิเคราะห์ของเมนเดล
• การถ่ายทอดลักษณะหนึ่งลักษณะใดของสิ่งมีชีวิตถูกควบคุมโดยปัจจัย
(fector) เป็นคู่ๆ ต่อมาปัจจัยเหล่านั้นถูกเรียกว่า ยีน (gene)
• ยีนที่ควบคุมลักษณะต่างๆจะอยู่กันเป็นคู่ๆ และสามารถถ่ายทอดไปยัง
รุ่นต่อไปได้
• ลักษณะแต่ละลักษณะจะมียีนควบคุม 1 คู่ โดยมียีนหนึ่งมาจากพ่อและ
อีกยีนมาจากแม่
• เมื่อมีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์(gamete) ยีนที่อยู่เป็นคู่ๆจะแยกออกจาก
กันไปอยู่ในเซลล์สืบพันธุ์ของแต่ละเซลล์และ ยีนเหล่านั้นจะเข้าคู่กัน
ได้ใหม่อีกในไซโกต
• ลักษณะที่ไม่ปรากฏในรุ่น F1 ไม่ได้สูญหายไปไหนเพียงแต่ไม่
สามารถแสดงออกมาได้
• ลักษณะที่ปรากฏออกมาในรุ่น F1 มีเพียงลักษณะเดียวเรียกว่า
ลักษณะเด่น ( dominant) ส่วนลักษณะที่ปรากฏในรุ่น F2 และมีโอกาส
ปรากฏในรุ่นต่อไปได้น้อยกว่า เรียกว่า ลักษณะด้อย (recessive)
• ในรุ่น F2 จะได้ลักษณะเด่นและลักษณะด้อยปรากฏออกมาเป็น
อัตราส่วน เด่น : ด้อย = 3 : 1
• ความน่าจะเป็นและกฎแห่งการแยก
ความน่าจะเป็น (Probability)
“ ”อัตราส่วนจำานวนครั้งของเหตุการณ์หนึ่งที่เกิดขึ้น ต่อเหตุการณ์นั้น
อัตราส่วนในทางพันธุศาสตร์ คือ อัตราส่วนทางจีโนไทป์ และอัตราส่วนทาง
ฟีโนไทป์
• กฎความน่าจะเป็น
1.กฎการบวก (Addition Law)
- เหตุการณ์ไม่สามารถเกิดขึ้นพร้อมๆกันได้
- เรียกเหตุการณ์นี้ว่า mutually exclusive events
- โอกาสที่เกิดเหตุการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งจะเท่ากับผลบวกของโอกาสที่จะ
เกิดแต่ละเหตุการณ์
P(เหตุการณ์ A หรือ B อย่างใดอย่างหนึ่ง) = P(A) + P(B)
2. กฎการคูณ (Multiplication Law)
- เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์หรือมากกว่า
- เหตุการณ์เกิดขึ้นพร้อมกัน
- เรียกเหตุการณ์นี้ว่า Independent events
- โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ A และ B พร้อมกัน = P(A) x P(B)
กฎข้อที่ 1 ของเมนเดล (Mendel’s Law of
Segregation)
•   “มีใจความว่า ยีนแต่ละคู่ที่ควบคุมแต่ละลักษณะทาง
พันธุกรรม
 ของสิ่งมีชีวิต จะแยกตัวจากกันเป็นอิสระไปสู่เซลล์
”สืบพันธุ์แต่ละเซลล์
กฎข้อที่ 2 ของเมนเดล (Mendel’s Law of
Independent Assortment)
•   “  มีใจความว่า ในการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ จะมี
การรวมกลุ่มของหน่วยควบคุมลักษณะทาง
พันธุกรรม (ยีนเดียวของทุกยีน) ซึ่งการรวมกลุ่ม
”นี้เกิดขึ้นอย่างอิสระ
การทดสอบพันธุกรรม (Test Cross)
• Test Cross คือ การนำาสิ่งมีชีวิตที่สงสัยว่าเป็นลักษณะ
เด่นหรือไม่ไปผสมกับลักษณะด้อยของสิ่งมีชีวิต
นั้น(tester) แล้วสังเกตุอัตราส่วนของลูกที่ได้ มีขั้นตอน
ดังนี้
• นำาตัวที่มีลักษณะเด่นไปผสมกับตัวที่มีลักษณะด้อย
• รอดูอัตราส่วนในรุ่นลูก โดยพิจารณาดังนี้
การผสมกลับ (Back Cross)
• Backcross (การผสมกลับ) :  เหมือนกับ Test Cross แต่
เป็นการนำารุ่น F1 กลับไปผสมกับพ่อหรือแม่
• ลักษณะทางพันธุกรรมที่นอกเหนือกฎเมล
เดล
 การข่มร่วมกัน (Co-Dominant)
• Co-dominant : การถ่ายทอดนี้ไม่เป็นไปตามกฎของเมนเดล
ยีนทั้งสองที่ควบคุมลักษณะจะไม่ข่มซึ่งกันและกันแต่
สามารถแสดงความเด่นได้ เท่าๆกันจึงปรากฏลักษณะออก
มาร่วมกัน
การข่มแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete
Dominant)
• Incomplete dominant คือ การแสดงออกของ gene ที่
เป็น gene เด่นไม่สามารถข่ม gene ด้อยได้อย่าง
สมบูรณ์ ทำาให้มีการแสดงออกของ gene ทั้งสองแบบ
เป็นผสมกันหรือเป็นแบบกลาง ๆ ระหว่างสองลักษณะ
เช่น สีดอกลิ้นมังกร
Multiple alleles
ลักษณะทางพันธุกรรม ที่ถูกควบคุมด้วยยีนมากกว่า2 อัล
ลีลส์ ได้แก่ หมู่เลือด ABO ซึ่งมียีนควบคุมถึง 3 อัลลีลส์
 Multiple gene
• Multiple gene (Polygenes) : การที่ยีนหลายคู่ร่วมกันควบคุม
ลักษณะที่แสดง
ออกมา เช่น ผิวดำา (อัลลีลที่ควบคุมการสร้างเมลานิน ) โดยสีผิว
ดำาถูกควบคุมด้วยยีนเด่น 3 อัลลีลส์ คือ A, B,C ส่วน อัลลีล a, b, c
แสดงการไม่สร้างเม็ดสีและปฏิกิกริยาของยีนเป็น
แบบincomplete dominance
Complementary Gene
เป็นยีนที่ทำางานร่วมกันแบบเสริมสร้างซึ่งกันและกัน เช่น ลักษณะสี
ของดอกในถั่วชนิดหนึ่งถูกควบคุมด้วยยีน 2 คู่ ถ้ามีคู่ยีนสำาหรับ
ลักษณะเด่นของยีนทั้งสองคู่ปรากฎอยู่ในจีโนไทป์ ลักษณะที่
ปรากฎทางฟีโนไทป์ คือ ดอกสีม่วง แต่ถ้าขาดคู่จีนเด่นตัวใดตัว
หนึ่งไป ลักษณะที่ปรากฏทางฟีโนไทป์จะเป็นดอกสีขาว ตาม
แผนภาพดังนี้
 Epistasis
• การเกิดปฏิกิริยาร่วมระหว่างยีนที่อยู่คนละตำาแหน่ง (locus) ซึ่งมีผลให้ยีนจาก
ตำาแหน่งหนึ่งไปเปลี่ยนแปลงอิทธิพลของยีน ณ อีกตำาแหน่งหนึ่งได้ ซึ่งอาจ
เกิดขึ้นระหว่างยีนจาก 2 ตำาแหน่งหรือมากกว่าก็ได้ ที่ควบคุมลักษณะปรากฎ
(phenotype) เดียวกัน ยีนที่ข่มตัวอื่นเรียกว่า epistatic gene ส่วนยีนที่ถูกข่ม
“เรียกว่า hypostatic gene”
• ประเภทของ Epistasis
- Complementary epistasis : ต้องการผลิตผลที่สร้างจากยีนทั้งสองตำาแหน่ง
เพื่อการแสดง phenotype เช่น หงอนไก่
- Recessive epistasis : ควบคุมด้วยยีน 2 คู่ โดย homozygous recessive ของ
ยีนตำาแหน่งหนึ่ง สามารถข่มการแสดงออกของยีนอีกตำาแหน่งหนึ่งได้ เช่น สี
ขนแมว
- Dominant epistasis : ควบคุมด้วยยีน 2 คู่ โดย dominance allele
ของตำาแหน่งหนึ่ง สามารถข่มการแสดงออกของยีนอีกตำาแหน่ง
หนึ่งได้ เช่น สีขนแกะ
- Duplicate recessive epistasis : ยีนทั้ง 2 ตำาแหน่ง ทำาให้เกิด
phenotype ที่เหมือนกัน แต่ homozygous recessive genotype
ของยีนตำาแหน่งหนึ่ง สามารถข่มการแสดงออกของยีนอีก
ตำาแหน่งหนึ่งได้เช่นเดียวกันกับ recessive epistasis ทั่วไป เช่น
ยีนที่ควบคุมลักษณะขนกำามะหยี่ของกระต่าย
- Duplicate dominant epistasis : ยีนทั้ง 2 ตำาแหน่ง ทำาให้เกิด
phenotype ที่เหมือนกัน แต่ dominant allele ของตำาแหน่งหนึ่ง
สามารถข่มการแสดงออกของยีนอีกตำาแหน่งหนึ่งได้เช่น
เดียวกันกับ dominant epistasis ทั่วไป เช่น ยีนที่ควบคุมลักษณะ
หน้าสีขาวแบบ Simmental และ แบบ Hereford
คลิปวีดีโอที่คลิปวีดีโอที่
เกี่ยวข้องเกี่ยวข้อง
แหล่งที่มาแหล่งที่มา
• http://thaigoodview.com/library/contest2552
/type2/science04/27/index.html

More Related Content

More from Benjaporn Kantawong

ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_
ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_
ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_
Benjaporn Kantawong
 
Onet 05 วิทยาศาสตร์
Onet 05 วิทยาศาสตร์Onet 05 วิทยาศาสตร์
Onet 05 วิทยาศาสตร์
Benjaporn Kantawong
 
Onet 04 คณิตศาสตร์
Onet 04 คณิตศาสตร์Onet 04 คณิตศาสตร์
Onet 04 คณิตศาสตร์
Benjaporn Kantawong
 
ข้อสอบ O net 52 ภาษาไทย
ข้อสอบ O net 52 ภาษาไทยข้อสอบ O net 52 ภาษาไทย
ข้อสอบ O net 52 ภาษาไทย
Benjaporn Kantawong
 

More from Benjaporn Kantawong (20)

บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 1 2
บทที่  1 2บทที่  1 2
บทที่ 1 2
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
แบบฟอร มบ นท_กการอ_าน
แบบฟอร มบ นท_กการอ_านแบบฟอร มบ นท_กการอ_าน
แบบฟอร มบ นท_กการอ_าน
 
คงงัน
คงงันคงงัน
คงงัน
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
บทที่ 1 2
บทที่  1 2บทที่  1 2
บทที่ 1 2
 
h6ju
h6juh6ju
h6ju
 
งาน
งานงาน
งาน
 
ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_
ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_
ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_
 
Onet 05 วิทยาศาสตร์
Onet 05 วิทยาศาสตร์Onet 05 วิทยาศาสตร์
Onet 05 วิทยาศาสตร์
 
Onet 04 คณิตศาสตร์
Onet 04 คณิตศาสตร์Onet 04 คณิตศาสตร์
Onet 04 คณิตศาสตร์
 
Onet 03 อังกฤษ
Onet 03 อังกฤษOnet 03 อังกฤษ
Onet 03 อังกฤษ
 
Onet 02 สังคม
Onet 02 สังคมOnet 02 สังคม
Onet 02 สังคม
 
ข้อสอบ O net 52 ภาษาไทย
ข้อสอบ O net 52 ภาษาไทยข้อสอบ O net 52 ภาษาไทย
ข้อสอบ O net 52 ภาษาไทย
 
blogger
bloggerblogger
blogger
 
สร้างบล็อก
สร้างบล็อกสร้างบล็อก
สร้างบล็อก
 

พันธุศาสตร์ กิ๊ฟนันบอย

  • 1.
  • 3. ารถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การศึกษาของเมนเดล ารศึกษาลักษณะพันธุกรรมของเมนเดล ความน่าจะเป็นและกฎแห่งการแยก 1 (กฎข้อที่ ของเมนเดล Mendel’s Law of Segregation) 2 (กฎข้อที่ ของเมนเดล Mendel’s Law of Independent Assortment) (การทดสอบพันธุกรรม Test Cross) (การผสมกลับ Back Cross) ลักษณะทางพันธุกรรมที่นอกเหนือกฎ เมลเดลการข่มร่วมกัน การข่มแบบไม่สมบูรณ์ Multiple alleles Multiple gene Complementary Gene Epistasis
  • 4. การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม • การศึกษาของเมนเดล ประวัติของเมนเดล (Biography of Gregor Mendel) เกรเกอร์ เมนเดล (พ.ศ. 2365-พ.ศ. 2427) บิดาทางพันธุศาสตร์ เกิดที่เมือง ไฮน์เซนดรอฟ ประเทศออสเตรีย เป็นบุตรชายคนเดียวในจำานวนพี่น้อง 3 คน ของครอบครัวชาวนาที่ยากจน โดยต่อมา เมนเดลได้ไปบวชแล้วได้รับ ตำาแหน่งรับผิดชอบดูแลสวน ในปี พ.ศ. 2390
  • 5. ผลงานทางพันธุศาสตร์ • เกรเกอร์ เมนเดล เผชิญความผิดหวังนับ 20 ปี ที่เขายังคงสอนหนังสือ เพื่อชดเชยความผิดหวัง เขาทำางานในสวนของวัดทุกเวลาที่ว่าง ที่นั่น มีพันธุ์พืชมากมาย แต่ละชนิดแตกต่างหลากหลายอย่าง ความแตกต่าง นี้ ทำาให้เกรเกอร์นึกสงสัย เขาได้ผสมพันธุ์ถั่วเดียว กันและต่างพันธุ์ เป็นจำานวนแตกต่างถึง 22 ชนิดของต้นถั่ว เพื่อศึกษาลักษณะทั้งหมด เป็นเวลารวม 8 ปีเต็มในการทดลองร่วมพันครั้ง พบได้ 3 สิ่ง ดังนี้ 1. สิ่งแรก เมื่อผสมพันธุ์ถั่วชนิดต่างกันสองชนิดผลผลิตต่อมาที่ได้เป็น พันธุ์ชนิดเดียว ยกตัวอย่าง ถ้าหากเขาผสมพันธุ์ถั่วเมล็ดสีเหลืองกับ ชนิดเมล็ดสีแดง มันจะผลิตพันธุ์เมล็ดสีเหลืองออกมา 2. ต่อไป เมื่อผสมพันธุ์ต่างชนิดกันของผลผลิตรุ่นแรก รุ่นต่อไปจะมีเมล็ด ทั้งสองชนิด ในทุกๆสี่ต้นจะมีสามต้นที่มีเมล็ดสีเหลือง และ 1 ต้น ที่มี เมล็ดสีเขียว นี่เป็นเพราะว่าหน่วยถ่ายพันธุ์ที่ผลิตเมล็ดสีเหลืองเป็น หน่วยถ่ายพันธุ์ที่ เด่น คือ โดมิแนนท์ยีน หน่วยถ่ายพันธุ์ที่ผลิตเมล็ดสี เขียวเรียกว่า รีเซสซีพยีน หรือหน่วยถ่ายพันธุ์ด้อย 3. ถ้าหากเขาผสมพันธุ์ถั่วต่างชนิดกันด้วยถั่วสองชนิด หรือมากกว่านั้นที่ มีลักษณะแตกต่างกัน เขาจะค้นพบกฎข้อที่สาม สมมติว่าเขาผสมพันธุ์ ถั่วที่มีเมล็ดเรียบสีเหลืองกับพันธุ์ถั่วที่มีเมล็ด หยาบสีเขียว รุ่นแรกเมล็ด เรียบสีเหลืองจะเป็นตัวเด่น ในรุ่นต่อไปจะมีอัตราส่วนเมล็ดเรียบสี เหลือง 9 ส่วน ต่อเมล็ดเรียบสีเขียว 3ส่วน เมล็ดหยาบสีเหลือง 3 ส่วน ต่อเมล็ดหยาบสีเขียว 1 ส่วน
  • 6. หลังจากนั้น เมนเดลได้ส่งผลการทดลองนี้ไปยัง สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งหนึ่ง แต่กลับไม่มีผู้ที่ สนใจเลย เมนเดลก็ได้ทำาการล้มล้างการตีพิมพ์ งานของตน เขาเก็บรายงานนี้ไว้ที่ห้องสมุดและ ทำาการทดลองต่อไปเงียบๆ จนกระทั่งถึงแก่กรรม ในปี พ.ศ. 2427
  • 7. การวิพากษ์วิจารณ์ จากข้อมูลดิบที่เมนเดลได้ตีพิมพ์นั้น ก่อนจะมาสรุปเป็นกฎได้นั้น ปัจจุบันมีผู้ตั้ง ข้อโตแย้งว่าตัวเลขที่ได้จากการทดลองของเมนเดลใกล้เคียง กับค่าทาง ทฤษฎีเกินไปจนเป็นที่น่าสงสัย ทั้งนี้อาจเกิดจากความบังเอิญหรือเป็นความ จงใจของเมนเดลเองก็ได้ อย่างไรก็ตามการค้นพบของเมนเดลถือว่าเป็นการค้นพบยิ่งใหญ่ครั้งหนึ่งในวง การพันธุศาสตร์ เนื่องจากเมนเดลสามารถไขความลับการสืบทอดลักษณะ ทางพันธุกรรมต่างๆ จากบรรพบุรุษไปสู่ลูกหลานโดยที่ในสมัยนั้นยังไม่มีการ ค้นพบสารพันธุกรรม ดีเอ็นเอ ยีน หรือ โครโมโซมแต่อย่างใด ใส่คลิป www.youtube.com/watch?v=6OPJnO9W_rQ&
  • 8. การศึกษาลักษณะพันธุกรรมของเมนเดล การทดลองของเมนเดล 1.เมนเดลประสบผลสำาเร็จในการทดลอง จนตั้งเป็นกฎเกี่ยวกับการ ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากพ่อแม่มายังลูกหลานใน ช่วงต่อๆมาได้ เนื่องจากสาเหตุสำาคัญสองประการ คือ เมนเดลรู้จักเลือกชนิดของพืชมาทำาการทดลอง พืชที่เมนเดลใช้ในการ ทดลองคือถั่วลันเตา (Pisum sativum) ซึ่งมีข้อดีในการศึกษาด้านพันธุศาสตร์ หลายประการ เช่น 1.1 เป็นพืชที่ผสมตัวเอง (self- fertilized) ซึ่งสามารถสร้างพันธุ์แท้ได้ง่าย หรือจะทำาการผสมข้ามพันธุ์ (cross- fertilized) เพื่อสร้างลูกผสมก็ทำาได้ง่ายโดย วิธีผสมโดยใช้มือช่วย (hand pollination) 1.2 เป็นพืชที่ปลูกง่าย ไม่ต้องทำานุบำารุงรักษามากนัก ใช้เวลาปลูกตั้งแต่ปลูก จนถึงเก็บเกี่ยวภายในหนึ่งฤดูปลูก (growing season) หรือประมาณ 3 เดือน เท่านั้น และยังให้เมล็ดในปริมาณที่มากด้วย 1.3 เป็นพืชที่ มีลักษณะทางพันธุกรรม ที่แตกต่างกันชัดเจนหลายลักษณะ ซึ่ง ในการทดลองดังกล่าว เมนเดลได้นำามาใช้ 7 ลักษณะด้วยกัน 2.เมนเดลรู้จักวางแผนการทดลอง 2.1 เลือกศึกษาการถ่ายทอดลักษณะของถั่วลันเตาแต่ละลักษณะก่อน เมื่อ เข้าใจหลักการถ่ายทอดลักษณะนั้น ๆ แล้ว เขาจึงได้ศึกษาการถ่ายทอดสอง ลักษณะไปพร้อม ๆ กัน 2.2 ในการผสมพันธุ์จะใช้พ่อแม่ พันธุ์แท้ (pure line) ในลักษณะที่ตรงกันข้าม กัน มาทำาการผสมข้ามพันธุ์เพื่อสร้างลูกผสมโดยใช้มือช่วย (hand pollination ) 2.3 ลูกผสมจากข้อ 2.2 เรียกว่าลูกผสมช่วงที่ 1 หรือ F1( first filial generation)
  • 9. ลักษณะต่าง ๆ ของถั่วลันเตาที่เมนเดล ใช้ใน การศึกษาการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
  • 10.  ข้อสรุปจากการวิเคราะห์ของเมนเดล • การถ่ายทอดลักษณะหนึ่งลักษณะใดของสิ่งมีชีวิตถูกควบคุมโดยปัจจัย (fector) เป็นคู่ๆ ต่อมาปัจจัยเหล่านั้นถูกเรียกว่า ยีน (gene) • ยีนที่ควบคุมลักษณะต่างๆจะอยู่กันเป็นคู่ๆ และสามารถถ่ายทอดไปยัง รุ่นต่อไปได้ • ลักษณะแต่ละลักษณะจะมียีนควบคุม 1 คู่ โดยมียีนหนึ่งมาจากพ่อและ อีกยีนมาจากแม่ • เมื่อมีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์(gamete) ยีนที่อยู่เป็นคู่ๆจะแยกออกจาก กันไปอยู่ในเซลล์สืบพันธุ์ของแต่ละเซลล์และ ยีนเหล่านั้นจะเข้าคู่กัน ได้ใหม่อีกในไซโกต • ลักษณะที่ไม่ปรากฏในรุ่น F1 ไม่ได้สูญหายไปไหนเพียงแต่ไม่ สามารถแสดงออกมาได้ • ลักษณะที่ปรากฏออกมาในรุ่น F1 มีเพียงลักษณะเดียวเรียกว่า ลักษณะเด่น ( dominant) ส่วนลักษณะที่ปรากฏในรุ่น F2 และมีโอกาส ปรากฏในรุ่นต่อไปได้น้อยกว่า เรียกว่า ลักษณะด้อย (recessive) • ในรุ่น F2 จะได้ลักษณะเด่นและลักษณะด้อยปรากฏออกมาเป็น อัตราส่วน เด่น : ด้อย = 3 : 1
  • 11. • ความน่าจะเป็นและกฎแห่งการแยก ความน่าจะเป็น (Probability) “ ”อัตราส่วนจำานวนครั้งของเหตุการณ์หนึ่งที่เกิดขึ้น ต่อเหตุการณ์นั้น อัตราส่วนในทางพันธุศาสตร์ คือ อัตราส่วนทางจีโนไทป์ และอัตราส่วนทาง ฟีโนไทป์ • กฎความน่าจะเป็น 1.กฎการบวก (Addition Law) - เหตุการณ์ไม่สามารถเกิดขึ้นพร้อมๆกันได้ - เรียกเหตุการณ์นี้ว่า mutually exclusive events - โอกาสที่เกิดเหตุการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งจะเท่ากับผลบวกของโอกาสที่จะ เกิดแต่ละเหตุการณ์ P(เหตุการณ์ A หรือ B อย่างใดอย่างหนึ่ง) = P(A) + P(B) 2. กฎการคูณ (Multiplication Law) - เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์หรือมากกว่า - เหตุการณ์เกิดขึ้นพร้อมกัน - เรียกเหตุการณ์นี้ว่า Independent events - โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ A และ B พร้อมกัน = P(A) x P(B)
  • 12.
  • 13. กฎข้อที่ 1 ของเมนเดล (Mendel’s Law of Segregation) •   “มีใจความว่า ยีนแต่ละคู่ที่ควบคุมแต่ละลักษณะทาง พันธุกรรม  ของสิ่งมีชีวิต จะแยกตัวจากกันเป็นอิสระไปสู่เซลล์ ”สืบพันธุ์แต่ละเซลล์
  • 14. กฎข้อที่ 2 ของเมนเดล (Mendel’s Law of Independent Assortment) •   “  มีใจความว่า ในการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ จะมี การรวมกลุ่มของหน่วยควบคุมลักษณะทาง พันธุกรรม (ยีนเดียวของทุกยีน) ซึ่งการรวมกลุ่ม ”นี้เกิดขึ้นอย่างอิสระ
  • 15. การทดสอบพันธุกรรม (Test Cross) • Test Cross คือ การนำาสิ่งมีชีวิตที่สงสัยว่าเป็นลักษณะ เด่นหรือไม่ไปผสมกับลักษณะด้อยของสิ่งมีชีวิต นั้น(tester) แล้วสังเกตุอัตราส่วนของลูกที่ได้ มีขั้นตอน ดังนี้ • นำาตัวที่มีลักษณะเด่นไปผสมกับตัวที่มีลักษณะด้อย • รอดูอัตราส่วนในรุ่นลูก โดยพิจารณาดังนี้
  • 16. การผสมกลับ (Back Cross) • Backcross (การผสมกลับ) :  เหมือนกับ Test Cross แต่ เป็นการนำารุ่น F1 กลับไปผสมกับพ่อหรือแม่
  • 17. • ลักษณะทางพันธุกรรมที่นอกเหนือกฎเมล เดล  การข่มร่วมกัน (Co-Dominant) • Co-dominant : การถ่ายทอดนี้ไม่เป็นไปตามกฎของเมนเดล ยีนทั้งสองที่ควบคุมลักษณะจะไม่ข่มซึ่งกันและกันแต่ สามารถแสดงความเด่นได้ เท่าๆกันจึงปรากฏลักษณะออก มาร่วมกัน
  • 18. การข่มแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete Dominant) • Incomplete dominant คือ การแสดงออกของ gene ที่ เป็น gene เด่นไม่สามารถข่ม gene ด้อยได้อย่าง สมบูรณ์ ทำาให้มีการแสดงออกของ gene ทั้งสองแบบ เป็นผสมกันหรือเป็นแบบกลาง ๆ ระหว่างสองลักษณะ เช่น สีดอกลิ้นมังกร
  • 19. Multiple alleles ลักษณะทางพันธุกรรม ที่ถูกควบคุมด้วยยีนมากกว่า2 อัล ลีลส์ ได้แก่ หมู่เลือด ABO ซึ่งมียีนควบคุมถึง 3 อัลลีลส์
  • 20.  Multiple gene • Multiple gene (Polygenes) : การที่ยีนหลายคู่ร่วมกันควบคุม ลักษณะที่แสดง ออกมา เช่น ผิวดำา (อัลลีลที่ควบคุมการสร้างเมลานิน ) โดยสีผิว ดำาถูกควบคุมด้วยยีนเด่น 3 อัลลีลส์ คือ A, B,C ส่วน อัลลีล a, b, c แสดงการไม่สร้างเม็ดสีและปฏิกิกริยาของยีนเป็น แบบincomplete dominance
  • 21. Complementary Gene เป็นยีนที่ทำางานร่วมกันแบบเสริมสร้างซึ่งกันและกัน เช่น ลักษณะสี ของดอกในถั่วชนิดหนึ่งถูกควบคุมด้วยยีน 2 คู่ ถ้ามีคู่ยีนสำาหรับ ลักษณะเด่นของยีนทั้งสองคู่ปรากฎอยู่ในจีโนไทป์ ลักษณะที่ ปรากฎทางฟีโนไทป์ คือ ดอกสีม่วง แต่ถ้าขาดคู่จีนเด่นตัวใดตัว หนึ่งไป ลักษณะที่ปรากฏทางฟีโนไทป์จะเป็นดอกสีขาว ตาม แผนภาพดังนี้
  • 22.  Epistasis • การเกิดปฏิกิริยาร่วมระหว่างยีนที่อยู่คนละตำาแหน่ง (locus) ซึ่งมีผลให้ยีนจาก ตำาแหน่งหนึ่งไปเปลี่ยนแปลงอิทธิพลของยีน ณ อีกตำาแหน่งหนึ่งได้ ซึ่งอาจ เกิดขึ้นระหว่างยีนจาก 2 ตำาแหน่งหรือมากกว่าก็ได้ ที่ควบคุมลักษณะปรากฎ (phenotype) เดียวกัน ยีนที่ข่มตัวอื่นเรียกว่า epistatic gene ส่วนยีนที่ถูกข่ม “เรียกว่า hypostatic gene” • ประเภทของ Epistasis - Complementary epistasis : ต้องการผลิตผลที่สร้างจากยีนทั้งสองตำาแหน่ง เพื่อการแสดง phenotype เช่น หงอนไก่ - Recessive epistasis : ควบคุมด้วยยีน 2 คู่ โดย homozygous recessive ของ ยีนตำาแหน่งหนึ่ง สามารถข่มการแสดงออกของยีนอีกตำาแหน่งหนึ่งได้ เช่น สี ขนแมว
  • 23. - Dominant epistasis : ควบคุมด้วยยีน 2 คู่ โดย dominance allele ของตำาแหน่งหนึ่ง สามารถข่มการแสดงออกของยีนอีกตำาแหน่ง หนึ่งได้ เช่น สีขนแกะ - Duplicate recessive epistasis : ยีนทั้ง 2 ตำาแหน่ง ทำาให้เกิด phenotype ที่เหมือนกัน แต่ homozygous recessive genotype ของยีนตำาแหน่งหนึ่ง สามารถข่มการแสดงออกของยีนอีก ตำาแหน่งหนึ่งได้เช่นเดียวกันกับ recessive epistasis ทั่วไป เช่น ยีนที่ควบคุมลักษณะขนกำามะหยี่ของกระต่าย - Duplicate dominant epistasis : ยีนทั้ง 2 ตำาแหน่ง ทำาให้เกิด phenotype ที่เหมือนกัน แต่ dominant allele ของตำาแหน่งหนึ่ง สามารถข่มการแสดงออกของยีนอีกตำาแหน่งหนึ่งได้เช่น เดียวกันกับ dominant epistasis ทั่วไป เช่น ยีนที่ควบคุมลักษณะ หน้าสีขาวแบบ Simmental และ แบบ Hereford
  • 25.