SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
แผนการสอนประจาบทเรียนที่ 3
ชื่อบท ส่วนประกอบสำคัญศิลปะ
หัวเรื่อง น้ำหนักอ่อนแก่ (Tone)
แนวคิด
1.น้ำหนักอ่อนแก่ของแสงและเงำที่ปรำกฏบนวัตถุ เกิดจำกแสงสว่ำงในธรรมชำติทำให้
เห็นเป็นปริมำตรของรูปทรงและสี
2.น้ำหนักอ่อนแก่ที่ปรำกฏบนรูปร่ำงและรูปทรงสำมำรถเป็นไปได้ทั้ง 2 มิติและ 3 มิติ
ระดับกำรกระจำยค่ำน้ำหนักที่ง่ำยที่สุดสำมำรถกระจำยได้เป็น 3 ระยะ
3.น้ำหนักสำมำรถนำมำสร้ำงสรรค์ให้เกิดมิติ ควำมลึก ควำมเด่น ควำมน่ำสนใจและให้
อำรมณ์ควำมรู้สึกแก่ผู้ดูได้
วัตถุประสงค์
1. อธิบำยควำมหมำยของน้ำหนักอ่อนแก่ได้
2. อธิบำยควำมหมำยของน้ำหนักแบบ 2 มิติ และ 3 มิติได้
3. อธิบำยระดับควำมแตกต่ำงของค่ำน้ำหนักเป็นระยะต่ำงๆ ได้
4. ยกตัวอย่ำงเป็นรูปภำพ เรื่องกำรใช้ค่ำน้ำหนักได้ 3 เรื่อง
5. จัดองค์ประกอบศิลป์เรื่องน้ำหนักได้
กิจกรรม
1. ศึกษำแผนกำรสอน
2. ศึกษำเอกสำรประกอบกำรสอนบทที่ 3 เรื่องน้ำหนักอ่อนแก่
3. ปฏิบัติกิจกรรมที่ 3.1 และ 3.2
4. ซักถำมและอภิปรำย
5. วิจำรณ์ผลงำนศิลปะของนักศึกษำ
สื่อการสอน
1. เอกสำรประกอบกำรสอนบทที่ 3
2. ผลงำนตัวอย่ำงเรื่องน้ำหนักอ่อนแก่
ประเมินผล
1. ประเมินผลจำกกิจกรรมที่ 3.1 ภำคทฤษฏี
2. ประเมินผลจำกกิจกรรมที่ 3.2 ภำคปฏิบัติ
บทที่ 3
เรื่อง น้าหนักอ่อนแก่ (Tone)
น้ำหนักอ่อนแก่ของแสงและเงำที่ปรำกฏบนวัตถุนั้น เป็นผลมำจำกแสงสว่ำงใน
ธรรมชำติหรือแสงที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น เมื่อใดที่แสงตกกระทบวัตถุจะเกิดเป็นบริเวณสว่ำง
และบริเวณมืดโดยบริเวณสว่ำงและบริเวณมืดจะค่อยๆ กระจำยค่ำน้ำหนักควำมอ่อนแก่ได้
อย่ำงกลมกลืน ปรำกฏเป็นปริมำตรของรูปทรงของวัตถุ เรื่องของน้ำหนักจึงเกี่ยวข้องโดยตรง
กับแสงสว่ำง ถ้ำปรำศจำกแสงสว่ำงหรือมีปริมำณน้อยรูปทรงของวัตถุก็จะพร่ำมัว หรือ
มองเห็นได้ไม่ชัดเจน
ลำซำริและลี (Lazzariand Lee 1990 : 7) ได้กล่ำวถึงน้ำหนักไว้ว่ำ มีควำมหมำยเหมือน
หรือใกล้เคียงกับ Value คือน้ำหนักเป็นกำรตอบสนองทำงกำรเห็น และสำมำรถรับรู้ได้ด้วย
แสงสว่ำงและเงำมืดที่ปรำกฏบนวัตถุ
1.ความหมายของน้าหนัก
ชะลูด นิ่มเสมอ (2531 : 285) ได้ให้ควำมหมำยของน้ำหนักไว้ว่ำ หมำยถึง ควำมอ่อน
แก่ของขำวดำ ควำมอ่อนแก่ของสีที่เทียบค่ำเป็นควำมอ่อนแก่ของดำขำว
ดังนั้นจึงอำจกล่ำวได้ว่ำน้ำหนัก หมำยถึงควำมอ่อนแก่ บริเวณเนื้อที่ของวัตถุที่ถูก
แสงและบริเวณเนื้อที่ที่เป็นเงำ ในงำนศิลปะน้ำหนักอำจเป็นน้ำหนักขำวจนถึงดำ หรือ
น้ำหนักที่เกิดจำกกำรใช้สีๆ เดียวหรือหลำยๆ สี ทำให้เกิดเป็นควำมประสำนควำมอ่อนแก่
เลียนแบบธรรมชำติ
2. มิติของน้าหนัก
มิติของน้ำหนักแบ่งออกเป็น2 ลักษณะคือ
2.1 แบบ 2 มิติหมำยถึง น้ำหนักที่แสดงควำมกว้ำงและควำมยำว ให้ควำมเป็น 2 มิติแก่
รูปร่ำงหรือรูปทรงเลียนแบบธรรมชำติหรือสร้ำงขึ้นใหม่
2.2 แบบ 3 มิติหมำยถึง น้ำหนักที่แสดงควำมกว้ำง ควำมยำวและควำมลึก ให้ควำมเป็น 3
มิติแก่รูปทรงเลียนแบบธรรมชำติและรูปทรงที่สร้ำงขึ้นใหม่
3.ระดับความแตกต่างของค่าน้าหนัก
ระดับค่ำน้ำหนักที่เป็นควำมแตกต่ำงของน้ำหนักขำวดำหรือน้ำหนักของสี สำมำรถ
สร้ำงให้เกิดระดับค่ำน้ำหนักต่ำงๆ ได้หลำยน้ำหนัก ระดับน้ำหนักที่สร้ำงได้ง่ำยที่สุดคือ
น้ำหนักขำว เทำ ดำ นอกจำกนี้ระดับน้ำหนักยังสำมำรถเพิ่มให้ควำมแตกต่ำงขึ้นได้อีก
4.การใช้ค่าน้าหนัก
น้ำหนักสำมำรถนำมำใช้ได้ดังนี้
1.1 ใช้สร้ำงสรรค์ควำมแตกต่ำง หรือกำรตัดกันระหว่ำงรูปร่ำงหรืองรูปทรงกับบริเวณว่ำง
1.2 ใช้สร้ำงสรรค์ควำมเป็น 2 มิติแก่รูปร่ำง
1.3 ใช้สร้ำงสรรค์ปริมำตรควำมเป็น 3 มิติแก่รูปทรง
1.4 ใช้สร้ำงสรรค์ควำมรู้สึกในทำงลึก
1.5 ใช้น้ำหนักเน้นเพื่อเพิ่มควำมน่ำสนใจ
1.6 ใช้น้ำหนักเพื่อสร้ำงสรรค์อำรมณ์และควำมรู้สึก
5.ค่าน้าหนักจริงและค่าน้าหนักลวงตา
5.1 ค่ำน้ำหนักจริง หมำยถึงค่ำน้ำหนักที่เกิดจำกแสงสว่ำงและเงำจริงปรำกฏบนวัตถุ
ได้แก่ค่ำน้ำหนักในงำนศิลปะ
5.2 ค่ำน้ำหนักลวงตำ หมำยถึงค่ำน้ำหนักที่เกิดจำกกำรสร้ำงขึ้นมีลักษณะ 2 มิติและ 3
มิติในงำนจิตรกรรม ศิลปะภำพพิมพ์และงำนอกแบบต่ำงๆ
สรุป
น้ำหนัก หมำยถึงควำมอ่อนแก่ของน้ำหนักขำวดำ ควำมอ่อนแก่ของสีๆ เดียวหรือ
หลำยๆสีเป็นเรียบๆ2 มิติหรือเป็นกำรประสำนควำมอ่อนแก่เลียนแบบน้ำหนักจริงใน
ธรรมชำติแบบ 3 มิติ
น้ำหนักมี 2 ลักษณะคือแบบ 2 มิติ จะแสดงควำมกว้ำงและควำมยำว แบบ 3 มิติจะ
แสดงควำมกว้ำง ควำมยำว และควำมลึก
ระดับควำมแตกต่ำงของน้ำหนักสำมำรถสร้ำงขึ้นได้หลำยระยะน้ำหนักที่สร้ำงได้ง่ำย
ที่สุดคือ ขำว เท่ำ ดำ

More Related Content

Viewers also liked (11)

1
11
1
 
13
1313
13
 
6
66
6
 
12
1212
12
 
11
1111
11
 
The philosophy of continuous deployment
The philosophy of continuous deploymentThe philosophy of continuous deployment
The philosophy of continuous deployment
 
10
1010
10
 
9
99
9
 
8
88
8
 
2
22
2
 
SOA: An enabler for Continuous Delivery and innovation
SOA: An enabler for Continuous Delivery and innovationSOA: An enabler for Continuous Delivery and innovation
SOA: An enabler for Continuous Delivery and innovation
 

3

  • 1. แผนการสอนประจาบทเรียนที่ 3 ชื่อบท ส่วนประกอบสำคัญศิลปะ หัวเรื่อง น้ำหนักอ่อนแก่ (Tone) แนวคิด 1.น้ำหนักอ่อนแก่ของแสงและเงำที่ปรำกฏบนวัตถุ เกิดจำกแสงสว่ำงในธรรมชำติทำให้ เห็นเป็นปริมำตรของรูปทรงและสี 2.น้ำหนักอ่อนแก่ที่ปรำกฏบนรูปร่ำงและรูปทรงสำมำรถเป็นไปได้ทั้ง 2 มิติและ 3 มิติ ระดับกำรกระจำยค่ำน้ำหนักที่ง่ำยที่สุดสำมำรถกระจำยได้เป็น 3 ระยะ 3.น้ำหนักสำมำรถนำมำสร้ำงสรรค์ให้เกิดมิติ ควำมลึก ควำมเด่น ควำมน่ำสนใจและให้ อำรมณ์ควำมรู้สึกแก่ผู้ดูได้
  • 2. วัตถุประสงค์ 1. อธิบำยควำมหมำยของน้ำหนักอ่อนแก่ได้ 2. อธิบำยควำมหมำยของน้ำหนักแบบ 2 มิติ และ 3 มิติได้ 3. อธิบำยระดับควำมแตกต่ำงของค่ำน้ำหนักเป็นระยะต่ำงๆ ได้ 4. ยกตัวอย่ำงเป็นรูปภำพ เรื่องกำรใช้ค่ำน้ำหนักได้ 3 เรื่อง 5. จัดองค์ประกอบศิลป์เรื่องน้ำหนักได้ กิจกรรม 1. ศึกษำแผนกำรสอน 2. ศึกษำเอกสำรประกอบกำรสอนบทที่ 3 เรื่องน้ำหนักอ่อนแก่ 3. ปฏิบัติกิจกรรมที่ 3.1 และ 3.2 4. ซักถำมและอภิปรำย 5. วิจำรณ์ผลงำนศิลปะของนักศึกษำ
  • 3. สื่อการสอน 1. เอกสำรประกอบกำรสอนบทที่ 3 2. ผลงำนตัวอย่ำงเรื่องน้ำหนักอ่อนแก่ ประเมินผล 1. ประเมินผลจำกกิจกรรมที่ 3.1 ภำคทฤษฏี 2. ประเมินผลจำกกิจกรรมที่ 3.2 ภำคปฏิบัติ
  • 4. บทที่ 3 เรื่อง น้าหนักอ่อนแก่ (Tone) น้ำหนักอ่อนแก่ของแสงและเงำที่ปรำกฏบนวัตถุนั้น เป็นผลมำจำกแสงสว่ำงใน ธรรมชำติหรือแสงที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น เมื่อใดที่แสงตกกระทบวัตถุจะเกิดเป็นบริเวณสว่ำง และบริเวณมืดโดยบริเวณสว่ำงและบริเวณมืดจะค่อยๆ กระจำยค่ำน้ำหนักควำมอ่อนแก่ได้ อย่ำงกลมกลืน ปรำกฏเป็นปริมำตรของรูปทรงของวัตถุ เรื่องของน้ำหนักจึงเกี่ยวข้องโดยตรง กับแสงสว่ำง ถ้ำปรำศจำกแสงสว่ำงหรือมีปริมำณน้อยรูปทรงของวัตถุก็จะพร่ำมัว หรือ มองเห็นได้ไม่ชัดเจน ลำซำริและลี (Lazzariand Lee 1990 : 7) ได้กล่ำวถึงน้ำหนักไว้ว่ำ มีควำมหมำยเหมือน หรือใกล้เคียงกับ Value คือน้ำหนักเป็นกำรตอบสนองทำงกำรเห็น และสำมำรถรับรู้ได้ด้วย แสงสว่ำงและเงำมืดที่ปรำกฏบนวัตถุ
  • 5. 1.ความหมายของน้าหนัก ชะลูด นิ่มเสมอ (2531 : 285) ได้ให้ควำมหมำยของน้ำหนักไว้ว่ำ หมำยถึง ควำมอ่อน แก่ของขำวดำ ควำมอ่อนแก่ของสีที่เทียบค่ำเป็นควำมอ่อนแก่ของดำขำว ดังนั้นจึงอำจกล่ำวได้ว่ำน้ำหนัก หมำยถึงควำมอ่อนแก่ บริเวณเนื้อที่ของวัตถุที่ถูก แสงและบริเวณเนื้อที่ที่เป็นเงำ ในงำนศิลปะน้ำหนักอำจเป็นน้ำหนักขำวจนถึงดำ หรือ น้ำหนักที่เกิดจำกกำรใช้สีๆ เดียวหรือหลำยๆ สี ทำให้เกิดเป็นควำมประสำนควำมอ่อนแก่ เลียนแบบธรรมชำติ 2. มิติของน้าหนัก มิติของน้ำหนักแบ่งออกเป็น2 ลักษณะคือ 2.1 แบบ 2 มิติหมำยถึง น้ำหนักที่แสดงควำมกว้ำงและควำมยำว ให้ควำมเป็น 2 มิติแก่ รูปร่ำงหรือรูปทรงเลียนแบบธรรมชำติหรือสร้ำงขึ้นใหม่ 2.2 แบบ 3 มิติหมำยถึง น้ำหนักที่แสดงควำมกว้ำง ควำมยำวและควำมลึก ให้ควำมเป็น 3 มิติแก่รูปทรงเลียนแบบธรรมชำติและรูปทรงที่สร้ำงขึ้นใหม่
  • 6. 3.ระดับความแตกต่างของค่าน้าหนัก ระดับค่ำน้ำหนักที่เป็นควำมแตกต่ำงของน้ำหนักขำวดำหรือน้ำหนักของสี สำมำรถ สร้ำงให้เกิดระดับค่ำน้ำหนักต่ำงๆ ได้หลำยน้ำหนัก ระดับน้ำหนักที่สร้ำงได้ง่ำยที่สุดคือ น้ำหนักขำว เทำ ดำ นอกจำกนี้ระดับน้ำหนักยังสำมำรถเพิ่มให้ควำมแตกต่ำงขึ้นได้อีก 4.การใช้ค่าน้าหนัก น้ำหนักสำมำรถนำมำใช้ได้ดังนี้ 1.1 ใช้สร้ำงสรรค์ควำมแตกต่ำง หรือกำรตัดกันระหว่ำงรูปร่ำงหรืองรูปทรงกับบริเวณว่ำง 1.2 ใช้สร้ำงสรรค์ควำมเป็น 2 มิติแก่รูปร่ำง 1.3 ใช้สร้ำงสรรค์ปริมำตรควำมเป็น 3 มิติแก่รูปทรง 1.4 ใช้สร้ำงสรรค์ควำมรู้สึกในทำงลึก 1.5 ใช้น้ำหนักเน้นเพื่อเพิ่มควำมน่ำสนใจ 1.6 ใช้น้ำหนักเพื่อสร้ำงสรรค์อำรมณ์และควำมรู้สึก
  • 7. 5.ค่าน้าหนักจริงและค่าน้าหนักลวงตา 5.1 ค่ำน้ำหนักจริง หมำยถึงค่ำน้ำหนักที่เกิดจำกแสงสว่ำงและเงำจริงปรำกฏบนวัตถุ ได้แก่ค่ำน้ำหนักในงำนศิลปะ 5.2 ค่ำน้ำหนักลวงตำ หมำยถึงค่ำน้ำหนักที่เกิดจำกกำรสร้ำงขึ้นมีลักษณะ 2 มิติและ 3 มิติในงำนจิตรกรรม ศิลปะภำพพิมพ์และงำนอกแบบต่ำงๆ สรุป น้ำหนัก หมำยถึงควำมอ่อนแก่ของน้ำหนักขำวดำ ควำมอ่อนแก่ของสีๆ เดียวหรือ หลำยๆสีเป็นเรียบๆ2 มิติหรือเป็นกำรประสำนควำมอ่อนแก่เลียนแบบน้ำหนักจริงใน ธรรมชำติแบบ 3 มิติ น้ำหนักมี 2 ลักษณะคือแบบ 2 มิติ จะแสดงควำมกว้ำงและควำมยำว แบบ 3 มิติจะ แสดงควำมกว้ำง ควำมยำว และควำมลึก ระดับควำมแตกต่ำงของน้ำหนักสำมำรถสร้ำงขึ้นได้หลำยระยะน้ำหนักที่สร้ำงได้ง่ำย ที่สุดคือ ขำว เท่ำ ดำ