SlideShare a Scribd company logo
1 of 1408
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑
ตอนที่ ๑
พระวินัยปิฎก เล่ม ๑
มหาวิภังค์ ปฐมภาค
ขอนอบน้อมแ ด่พระผู้มีพระภาคอรหันต
สัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น
เวรัญชกัณฑ์
เรื่องเวรัญชพราหมณ์
[๑] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพระพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ
ควงไม้สะเดาที่นเฬรุยักษ์
สิงสถิต เขตเมืองเวรัญชา พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ประมาณ
๕๐๐ รูป เวรัญชพราหมณ์
ได้สดับข่าวถนัดแน่ว่า ท่านผู้เจริญ พระสมณะโคดมศากยบุตร
ทรงผนวชจากศากยตระกูล
ประทับอยู่ ณ บริเวณต้นไม้สะเดาที่นเฬรุยักษ์สิงสถิต เขตเมือง
เวรัญชา พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์
หมู่ใหญ่ประมาณ ๕๐๐ รูป ก็แลพระกิตติศัพท์อันงามของท่าน
พระโคดมพระองค์นั้น ขจรไปแล้ว
อย่างนี้ว่า พระผู้มีพระภาคองค์นั้น ทรงเป็นพระอรหันต์แม้
เพราะเหตุนี้ ทรงตรัสรู้เองโดยชอบ
แม้เพราะเหตุนี้ ทรงบรรลุวิชชาและจรณะแม้เพราะเหตุนี้ เสด็จ
ไปดีแม้เพราะเหตุนี้ ทรงทราบ
โลกแม้เพราะเหตุนี้ ทรงเป็นสารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึกไม่มีผู้อื่นยิ่ง
กว่าแม้เพราะเหตุนี้ ทรงเป็น
ศาสดาของเทพและมนุษย์ทั้งหลายแม้เพราะเหตุนี้ ทรงเป็น
พุทธะแม้เพราะเหตุนี้ ทรงเป็นพระ
ผู้มีพระภาคแม้เพราะเหตุนี้ พระองค์ทรงทำา โลกนี้พร้อมทั้ง
เทวโลก มารโลก พรหมโลกให้แจ้งชัด
ด้วยพระปัญญาอันยิ่งของพระองค์เอง แล้วทรงสอนหมู่สัตว์
พร้อมทั้งสมณะพราหมณ์ เทพ
และมนุ ษย์ ให้รู้ ทรงแสดงธรร ม งา มในเบื้ องต้ น งามใน
ท่ามกลาง งามในที่สุด ทรงประกาศ
พรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถทั้งพยัญชนะครบบริบูรณ์บริสุทธิ์
อนึ่ง การเห็นพระอรหันต์ทั้งหลายเห็น
ปานนั้น เป็นความดี .
เวรัญชพราหมณ์กล่าวตู่พระพุทธเจ้า
[๒] หลังจากนั้น เวรัญชพราหมณ์ได้ไปในพุทธสำานัก ครั้นถึง
แล้วได้ทูลปราศรัยกับ
พระผู้มีพระภาค ครั้นผ่านการทูลปราศรัยพอให้เป็นที่บันเทิง
เป็นที่ระลึกถึงกันไปแล้ว จึงนั่ง ณ
ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เวรัญชพราหมณ์นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง
แล้ว ได้ทูลคำานี้แด่พระผู้มีพระภาค
ว่า ท่านพระโคดม ข้าพเจ้าได้ทราบมาว่า พระสมณะโคดม ไม่
ไหว้ ไม่ลุกรับพวกพราหมณ์ผู้แก่
ผู้เฒ่า ผู้ใหญ่ ผู้ล่วงกาล ผ่านวัยมาโดยลำาดับ หรือไม่เชื้อเชิญ
ด้วยอาสนะ ข้อที่ข้าพเจ้าทราบมานี้
นั้นเป็นเช่นนั้นจริง อันการที่ท่านพระโคดมไม่ไหว้ ไม่ลุกรับพวก
พราหมณ์ผู้แก่ ผู้เฒ่า ผู้ใหญ่ ผู้
ล่วงกาล ผ่านวัยมาโดยลำาดับ หรือไม่เชื้อเชิญด้วยอาสนะนี้นั้น
ไม่สมควรเลย .
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรพราหมณ์ ในโลก ทั้งเทวโลก
มารโลก พรหมโลก ใน
หมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณะ พราหมณ์ เทพ และมนุษย์ เราไม่เล็ง
เห็นบุคคลที่เราควรไหว้ ควร
ลุกรับ หรือควรเชื้อเชิญด้วยอาสนะ เพราะว่า ตถาคตพึงไหว้ พึง
ลุกรับ หรือพึงเชื้อเชิญ
บุคคลใดด้วยอาสนะ แม้ศีรษะของบุคคลนั้นก็จะพึงขาดตกไป.
ว. ท่านพระโคดมมีปกติไม่ไยดี.
ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะ
โคดมมีปกติไม่ไยดี
ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะความไยดีในรูป เสียง กลิ่น รส
โผฏฐัพพะ เหล่านั้น ตถาคต
ละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำาให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำาไม่
ให้มีในภายหลัง มีไม่เกิดอีก
ต่อไปเป็นธรรมดา นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโค
ดมมีปกติไม่ไยดี ดังนี้ชื่อว่า
กล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
ว. ท่านพระโคดมไม่มีสมบัติ.
ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะ
โคดมไม่มีสมบัติ ดังนี้
ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะสมบัติ คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ
เหล่านั้น ตถาคตละได้แล้ว
ตัดรากขาดแล้ว ทำาให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำาไม่ให้มีใน
ภายหลัง มีไม่เกิดอีกต่อไปเป็น
ธรรมดา นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมไม่มี
สมบัติ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก แต่
ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
ว. ท่านพระโคดมกล่าวการไม่ทำา .
ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะ
โคดมกล่าวการไม่ทำา
ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะเรากล่าวการไม่ทำา กายทุจริต วจี
ทุจริต มโนทุจริต เรากล่าวการ
ไม่ทำาสิ่งที่เป็นบาปอกุศลหลายอย่าง นี้แล เหตุที่เขากล่าวหา
เราว่า พระสมณะโคดมกล่าวการ
ไม่ทำา ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
ว. ท่านพระโคดมกล่าวความขาดสูญ.
ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะ
โคดมกล่าวความขาดสูญ
ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะเรากล่าวความขาดสูญแห่ง ราคะ
โทสะ โมหะ เรากล่าวความ
ขาดสูญแห่งสภาพที่เป็นบาปอกุศลหลายอย่าง นี้แล เหตุที่เขา
กล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดม
กล่าวความขาดสูญ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่ง
กล่าว.
ว. ท่านพระโคดมช่างรังเกียจ.
ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะ
โคดมช่างรังเกียจ ดังนี้
ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะเรารังเกียจกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต
เรารังเกียจความถึงพร้อมแห่ง
สภาพที่เป็นบาปอกุศลหลายอย่าง นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเรา
ว่า พระสมณะโคดมช่างรังเกียจ
ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
ว. ท่านพระโคดมช่างกำาจัด.
ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะ
โคดมช่างกำาจัด ดังนี้
ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะเราแสดงธรรมเพื่อกำา จัด ราคะ โทสะ
โมหะ แสดงธรรมเพื่อกำาจัดสภาพ
ที่เป็นบาปอกุศลหลายอย่างนี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระ
สมณะโคดมช่างกำาจัด ดังนี้ ชื่อว่า
กล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
ว. ท่านพระโคดมช่างเผาผลาญ.
ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะ
โคดมช่างเผาผลาญ ดังนี้
ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะเรากล่าวธรรมที่เป็นบาปอกุศล คือ กาย
ทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ว่า
เป็นธรรมที่ควรเผาผลาญ ธรรมที่เป็นบาปอกุศลซึ่งควรเผา
ผลาญ อันผู้ใดละได้แล้ว ตัดราก
ขาดแล้ว ทำาให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำาไม่ให้มีในภายหลัง
มีไม่เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา
เรากล่าวผู้นั้นว่าเป็นคนช่างเผาผลาญ พราหมณ์ ธรรมทั้ง
หลายที่เป็นบาปอกุศล ซึ่งควรเผาผลาญ
ตถาคตละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำาให้เป็นเหมือนตาลยอด
ด้วน ทำาไม่ให้มีในภายหลัง
มีไม่เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า
พระสมณะโคดมช่างเผาผลาญ
ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
ว. ท่านพระโคดมไม่ผุดเกิด.
ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะ
โคดมไม่ผุดเกิด ดังนี้
ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะการนอนในครรภ์ต่อไป การเกิดในภพ
ใหม่ อันผู้ใดละได้แล้ว ตัดราก
ขาดแล้ว ทำาให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำาไม่ให้มีในภายหลัง
มีไม่เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา
เรากล่าวผู้นั้นว่าเป็นคนไม่ผุดเกิด พราหมณ์ การนอนในครรภ์
ต่อไป การเกิดในภพใหม่ ตถาคต
ละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำาให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำาไม่
ให้มีในภายหลัง มีไม่เกิดอีก
ต่อไปเป็นธรรมดา นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโค
ดมไม่ผุดเกิด ดังนี้ ชื่อว่า
กล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
ทรงอุปมาด้วยลูกไก่
[๓] ดูกรพราหมณ์ เปรียบเหมือนฟองไก่ ๘ ฟอง ๑๐ ฟอง
หรือ ๑๒ ฟอง ฟองไก่
เหล่านั้น อันแม่ไก่พึงกกดีแล้ว อบดีแล้ว ฟักดีแล้ว บรรดาลูกไก่
เหล่านั้น ลูกไก่ตัวใดทำาลาย
กะเปาะฟอง ด้วยปลายเล็บเท้า หรือด้วยจะงอยปาก ออกมาได้
โดยสวัสดีก่อนกว่าเขา ลูกไก่
ตัวนั้นควรเรียกว่ากระไร จะเรียกว่าพี่หรือน้อง.
ว. ท่านพระโคดม ควรเรียกว่าพี่ เพราะมันแก่กว่าเขา.
ทรงแสดงฌาน ๔ และวิชชา ๓
ภ. เราก็เหมือนอย่างนั้นแล พราหมณ์ เมื่อประชาชนผู้ตกอยู่
ในอวิชชา เกิดในฟอง
อันกะเปาะฟองหุ้มห่อไว้ ผู้เดียวเท่านั้นในโลก ได้ทำาลายกะ
เปาะฟอง คือ อวิชชา แล้วได้
ตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิญาณอันยอดเยี่ยม เรานั้นเป็นผู้เจริญ
ที่สุด ประเสริฐที่สุดของโลก
เพราะความเพียรของเราที่ปรารภแล้วแล ไม่ย่อหย่อน สติดำารง
มั่นไม่ฟั่นเฟือน กายสงบ ไม่
กระสับกระส่าย จิตตั้งมั่น มีอารมณ์เป็นหนึ่ง.
ปฐมฌาน
เรานั้นแล สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรม ได้
บรรลุปฐมฌาน มีวิตก
มีวิจาร มีปีติและสุขซึ่งเกิดแต่วิเวกอยู่.
ทุติยฌาน
เราได้บรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิต ณ ภายใน เป็น
ธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตก
ไม่มีวิจาร เพราะวิตก วิจาร สงบไป มีปีติและสุขซึ่งเกิดแต่สมาธิ
อยู่.
ตติยฌาน
เรามีอุเบกขาอยู่ มีสติ มีสัมปชัญญะ และเสวยสุขด้วยนาม
กาย เพราะปีติสิ้นไป
ได้บรรลุตติยฌาน ที่พระอริยะทั้งหลายสรรเสริญว่า เป็นผู้มี
อุเบกขา มีสติ มีสุขอยู่ ดังนี้ อยู่.
จตุตถฌาน
เราได้บรรลุจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์
และดับโสมนัส โทมนัส
ก่อนๆ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่.
บุพเพนิวาสานุสสติญาณ
เรานั้ น เมื่ อจิตเป็ นสมาธิ บริสุทธิ์ ผุดผ่อง ไม่มีกิเลส
ปราศจากอุปกิเลสอ่อน ควร
แก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้แล้ว ได้น้อมจิตไปเพื่อบุพ
เพนิวาสานุสสติญาณ เรานั้น
ย่อมระลึกชาติก่อนได้เป็นอันมาก คือระลึกชาติได้หนึ่งชาติบ้าง
สองชาติบ้าง สามชาติบ้าง
สี่ชาติบ้าง ห้าชาติบ้าง สิบชาติบ้าง ยี่สิบชาติบ้าง สามสิบชาติ
บ้าง สี่สิบชาติบ้าง ห้าสิบชาติบ้าง
ร้อยชาติบ้าง พันชาติบ้าง แสนชาติบ้าง ตลอดสังวัฏฏกัลป์เป็น
อันมากบ้าง ตลอดวิวัฏฏกัลป์
เป็นอันมากบ้าง ตลอดสังวัฏฏวิวัฏฏกัลป์เป็นอันมากบ้าง ว่าใน
ภพโน้นเราได้มีชื่ออย่างนั้น มีโคตร
อย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขทุกข์
อย่างนั้นๆ มีกำาหนดอายุเพียง
เท่านั้น ครั้นจุติจากภพนั้นแล้ว ได้ไปเกิดในภพโน้น แม้ในภพ
โน้นนั้น เราก็ได้มีชื่ออย่างนั้น
มีโคตรอย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุข
ทุกข์อย่างนั้นๆ มีกำาหนด
อายุเพียงเท่านั้น ครั้นจุติจากภพโน้นนั้นแล้ว ได้มาเกิดในภพนี้
เราย่อมระลึกถึงชาติก่อนได้เป็น
อันมาก พร้อมทั้งอุเทส พร้อมทั้งอาการ ด้วยประการฉะนี้
พราหมณ์ วิชชาที่หนึ่งนี่แล เรา
ได้บรรลุแล้วในปฐมยามแห่งราตรี อวิชชา เรากำา จัดได้แล้ว
วิชชาเกิดแก่เราแล้ว ความมืด
เรากำา จัดได้แล้ว แสงสว่างเกิดแก่เราแล้ว เหมือนที่เกิดแก่
บุคคลผู้ไม่ประมาท มีความเพียร
เผากิเลส ส่งจิตไปแล้วอยู่ฉะนั้น ความชำาแรกออกครั้งที่หนึ่ง
ของเรานี้แล ได้เป็นเหมือนการ
ทำาลายออกจากกะเปาะฟองแห่งลูกไก่ฉะนั้น.
จุตูปปาตญาณ
เรานั้ น เมื่ อจิตเป็ นสมาธิ บริสุทธิ์ ผุดผ่อง ไม่มีกิเลส
ปราศจากอุปกิเลสอ่อน ควร
แก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้แล้ว ได้น้อมจิตไปเพื่อ
ญาณเครื่องรู้จุติและอุปบัติ
ของสัตว์ทั้งหลาย เรานั้นย่อมเล็งเห็นหมู่สัตว์ผู้กำาลังจุติ กำาลังอุ
ปบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี
มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ล่วงจักษุ
ของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์
ผู้เข้าถึงตามกรรมว่า หมู่สัตว์ผู้เกิดเป็นอยู่เหล่านี้ ประกอบด้วย
กายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต
ติเตียนพระอริยเจ้า เป็นมิจฉาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำา ด้วย
อำานาจมิจฉาทิฏฐิ หมู่สัตว์ผู้เกิดเป็นอยู่
เหล่านั้น เบื้องหน้าแต่แตกกายตายไป เข้าถึงอบาย ทุคติ
วินิบาต นรก หรือว่าหมู่สัตว์ผู้เกิด
เป็นอยู่เหล่านี้ ประกอบด้วยกายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต ไม่ติ
เตียนพระอริยเจ้า เป็น
สัมมาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำาด้วยอำานาจสัมมาทิฏฐิ หมู่สัตว์ผู้
เกิดเป็นอยู่เหล่านั้น เบื้องหน้าแต่แตก
กายตายไป เข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ เราย่อมเล็งเห็นหมู่สัตว์ผู้
กำาลังจุติ กำาลังอุปบัติ เลว ประณีต
มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอัน
บริสุทธิ์ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อม
รู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ผู้เข้าถึงตามกรรมด้วยประการดังนี้ พราหมณ์
วิชชาที่สองนี้แล เราได้บรรลุแล้ว
ในมัชฌิมยามแห่งราตรี อวิชชา เรากำาจัดได้แล้ว วิชชาเกิดแก่
เราแล้ว ความมืดเรากำาจัดได้แล้ว
แสงสว่างเกิดแก่เราแล้ว เหมือนที่เกิดแก่บุคคลผู้ไม่ประมาท มี
ความเพียรเผากิเลส ส่งจิตไป
แล้วอยู่ฉะนั้น ความชำาแรกออกครั้งที่สองของเรานี้แล ได้เป็น
เหมือนการทำาลายออกจากกะเปาะ
ฟองแห่งลูกไก่ ฉะนั้น.
อาสวักขยญาณ
เรานั้ น เมื่ อจิตเป็ นส ม า ธิ บริ สุ ทธิ์ ผุดผ่อง ไม่มีกิ เลส
ปราศจากอุปกิเลสอ่อน ควร
แก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้แล้ว ได้น้อมจิตไปเพื่ออา
สวักขยญาณ เรานั้นได้รู้ชัด
ตามเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้เหตุให้เกิดทุกข์
ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ความ
ดับทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์
ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า เหล่านี้
อาสวะ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้เหตุให้เกิดอาสวะ ได้รู้ชัดตาม
เป็นจริงว่า นี้ความดับอาสวะ ได้รู้
ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับอาสวะ เมื่อเรานั้น
รู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตได้
หลุดพ้นแล้วแม้จากกามาสวะ ได้หลุดพ้นแล้วแม้จากภวาสวะ
ได้หลุดพ้นแล้วแม้จากอวิชชาสวะ
เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ได้มีญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว ได้รู้ด้วย
ปัญญาอันยิ่งว่า ชาติสิ้นแล้ว
พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำาได้ทำาเสร็จแล้ว กิจอื่นอีกเพื่อ
ความเป็นอย่างนี้มิได้มี พราหมณ์
วิชชาที่สามนี้ แล เราได้บรรลุแล้วในปัจฉิมยามแห่งราตรี
อวิชชา เรากำาจัดได้แล้ว วิชชาเกิด
แก่เราแล้ว ความมืดเรากำาจัดได้แล้ว แสงสว่างเกิดแก่เราแล้ว
เหมือนที่เกิดแก่บุคคลผู้ไม่ประมาท
มีความเพียรเผากิเลสส่งจิตไปแล้วอยู่ ฉะนั้น ความชำาแรกออก
ครั้งที่สามของเรานี้แล ได้เป็น
เหมือนการทำาลายออกจากกะเปาะฟองแห่งลูกไก่ ฉะนั้น.
เวรัญชพราหมณ์แสดงตนเป็นอุบาสก
[๔] เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสอย่างนี้แล้ว เวรัญชพราหมณ์ได้
ทูลคำานี้แด่พระผู้มีพระภาค
ว่า ท่านพระโคดมเป็ นผู้ เจริญที่ สุด ท่านพระโคดมเป็ นผู้
ประเสริฐที่สุด ข้าแต่ท่านพระโคดม
ภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้งนัก ภาษิตของพระองค์ไพเราะนัก
พระองค์ทรงประกาศธรรมโดย
อเนกปริยายอย่างนี้ เปรียบเหมือนบุคคลหงายของที่ควำ่า เปิด
ของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง
หรือส่องประทีปในที่มืดด้วยตั้งใจว่า คนมีจักษุจักเห็นรูปดังนี้
ข้าพเจ้านี้ขอถึงท่านพระโคดม
พระธรรม และพระสงฆ์ว่าเป็นสรณะ ขอพระองค์จงทรงจำา
ข้าพเจ้าว่าเป็นอุบาสกผู้ถึงสรณะ
ตลอดชีวิต จำาเดิมแต่วันนี้เป็นต้นไป และขอพระองค์พร้อมด้วย
ภิกษุสงฆ์จงทรงรับอาราธนาอยู่
จำาพรรษา ที่เมืองเวรัญชาของข้าพเจ้าเถิด.
พระผู้มีพระภาคทรงรับอาราธนาด้วยพระอาการดุษณี ครั้น
เวรัญชพราหมณ์ทราบการรับ
อาราธนาของพระผู้มีพระภาคแล้ว ได้ลุกจากที่นั่งถวายบังคม
พระผู้มีพระภาค ทำาประทักษิณ
หลีกไป.
เมืองเวรัญชาเกิดทุพภิกขภัย
[๕] ก็โดยสมัยนั้ นแล เมืองเวรัญชา มีภิกษาหารน้ อย
ประชาชนหาเลี้ยงชีพฝืดเคือง
มีกระดูกคนตายขาวเกลื่อน ต้องมีสลากซื้ออาหาร ภิกษุสงฆ์จะ
ยังอัตภาพให้เป็นไปด้วยการ
ถือบาตรแสวงหา ก็ทำาไม่ได้ง่าย ครั้งนั้นพวกพ่อค้าม้าชาวอุตรา
ปถะ มีม้าประมาณ ๕๐๐ ตัว ได้
เข้าพักแรมตลอดฤดูฝนในเมืองเวรัญชา พวกเขาได้ตกแต่งข้าว
แดงสำาหรับภิกษุรูปละแล่งไว้ที่
คอกม้า เวลาเช้าภิกษุทั้งหลายครองอันตรวาสกแล้ว ถือบาตร
จีวรเข้าไปบิณฑบาตในเมืองเวรัญชา
เมื่อไม่ได้บิณฑบาต จึงเที่ยวไปบิณฑบาตที่คอกม้า รับข้าวแดง
รูปละแล่ง นำาไปสู่อารามแล้วลงครก
โขลกฉัน ส่วนท่านพระอานนท์บดข้าวแดงแล่งหนึ่งที่ศิลา แล้ว
น้อมเข้าไปถวายแด่พระผู้มีพระภาค
พระผู้มีพระภาคเสวยพระกระยาหารที่บดถวายนั้นอยู่ ได้ทรง
สดับเสียงครกแล้ว.
พระพุทธประเพณี
พระตถาคตทั้งหลายทรงทราบอยู่ ย่อมตรัสถามก็มี ทรง
ทราบอยู่ย่อมไม่ตรัสถามก็มี
ทรงทราบกาลแล้วตรัสถาม ทรงทราบกาลแล้วไม่ตรัสถาม
พระตถาคตทั้งหลายย่อมตรัสถามสิ่ง
ที่ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่ตรัสถามสิ่ งที่ไม่ประกอบด้วย
ประโยชน์ สิ่งที่ไม่ประกอบด้วย
ประโยชน์ พระองค์ทรงกำา จัดด้วยข้อปฏิบัติ พระผู้มีพระภาค
พุทธเจ้าทั้งหลายย่อมทรงสอบถาม
ภิกษุทั้งหลายด้วยอาการสองอย่าง คือ จักทรงแสดงธรรมอย่าง
หนึ่ง จักทรงบัญญัติสิกขาบทแก่
พระสาวกทั้งหลายอย่างหนึ่ง.
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคตรั สถามท่ านพระอานนท์ว่า
อานนท์ นั่นเสียงครกหรือหนอ
จึงท่านพระอานนท์กราบทูลเนื้อความนั้นให้ทรงทราบ พระผู้มี
พระภาคตรัสสรรเสริญว่า ดีละ
ดีละ อานนท์ พวกเธอเป็นสัตบุรุษ ชนะวิเศษแล้ว พวกเพื่อน
พรหมจารีชั้นหลังจักดูหมิ่นข้าว
สาลีและข้าวสุกอันระคนด้วยเนื้อ.
พระมหาโมคคัลลานะเปล่งสีหนาท
[๖] ครั้งนั้น ท่านพระมหาโมคคัลลานะเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระ
ภาค ถวายบังคมแล้วนั่ง
ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ได้กราบทูลคำานี้แด่พระผู้มีพระภาคว่า
พระพุทธเจ้าข้า บัดนี้เมืองเวรัญชา
มีภิกษาหารน้อย ประชาชนหาเลี้ยงชีพฝืดเคือง มีกระดูกคน
ตายขาวเกลื่อน ต้องมีสลากซื้อ
อาหาร ภิกษุสงฆ์จะยังอัตภาพให้เป็นไปด้วยการถือบาตร
แสวงหา ก็ทำาไม่ได้ง่าย พระพุทธเจ้าข้า
พื้นเบื้องล่างแห่งแผ่นดินผืนใหญ่นี้ สมบูรณ์ มีรสอันโอชา
เหมือนนำ้าผึ้งหวี่ที่ไม่มีตัวอ่อนฉะนั้น
ขอประทานพระวโรกาส ข้าพระพุทธเจ้าจะพึงพลิกแผ่นดิน
ภิกษุทั้งหลายจักได้ฉันง้วนดิน
พระพุทธเจ้าข้า.
พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า ดูกรโมคคัลลานะ ก็สัตว์ผู้อาศัย
แผ่นดินเล่า เธอจะทำา
อย่างไรแก่สัตว์เหล่านั้น?
ม. ข้าพระพุทธเจ้าจักนิรมิตฝ่ามือข้างหนึ่งให้เป็นดุจแผ่นดิน
ใหญ่ ยังสัตว์ผู้อาศัยแผ่นดิน
เหล่านั้นให้ไปอยู่ในฝ่ามือนั้น จักพลิกแผ่นดินด้วยมืออีกข้าง
หนึ่ง พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. อย่าเลย โมคคัลลานะ การพลิกแผ่นดิน เธออย่าพอใจเลย
สัตว์ทั้งหลายจะพึง
ได้รับผลตรงกันข้าม.
ม . ขอประทานพระวโรกาส ขอภิกษุสงฆ์ทั้งหมดพึงไป
บิณฑบาตในอุตรกุรุทวีป พระ-
*พุทธเจ้าข้า.
ภ. ก็ภิกษุผู้ไม่มีฤทธิ์เล่า เธอจักทำาอย่างไรแก่ภิกษุเหล่านั้น?
ม. ข้าพระพุทธเจ้าจักทำาให้ภิกษุทั้งหมดไปได้ พระพุทธเจ้า
ข้า.
ภ . อย่าเลย โมคคัลลานะ การที่ ภิ กษุ สงฆ์ทั้ งหมดไป
บิณฑบาตถึงอุตรกุรุทวีป เธออย่า
พอใจเลย.
เหตุให้พระศาสนาดำารงอยู่ไม่นานและนาน
[๗] ครั้งนั้น ท่านพระสารีบุตรไปในที่สงัดหลีกเร้นอยู่ ได้มี
ความปริวิตกแห่งจิตเกิด
ขึ้นอย่างนี้ว่า พระศาสนาของพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทั้งหลาย
พระองค์ไหนไม่ดำารงอยู่นาน ของ
พระองค์ไหนดำารงอยู่นาน ดังนี้ ครั้นเวลาสายัณห์ท่านออกจาก
ที่เร้นแล้ว เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระ-
*ภาค ถวายบังคม นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งแล้วกราบทูลว่า
พระพุทธเจ้าข้า ข้าพระพุทธเจ้าไปใน
ที่สงัดหลีกเร้นอยู่ ณ ตำาบลนี้ ได้มีความปริวิตกแห่งจิตเกิดขึ้น
อย่างนี้ว่า พระศาสนาของพระผู้มี
พระภาคพุทธเจ้าทั้งหลาย พระองค์ไหนไม่ดำารงอยู่นาน ของ
พระองค์ไหนดำารงอยู่นาน.
พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า ดูกรสารีบุตร พระศาสนาของ
พระผู้มีพระภาคพระนามวิปัสสี
พระนามสิขี และพระนามเวสสภู ไม่ดำารงอยู่นาน ของพระผู้มี
พระภาคพระนามกกุสันธะ พระ
นามโกนาคมนะ และพระนามกัสสปะดำารงอยู่นาน.
ส. อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ให้พระศาสนาของพระผู้มี
พระภาคพระนามวิปัสสี
พระนามสิขี และพระนามเวสสภู ไม่ดำารงอยู่นาน พระพุทธเจ้า
ข้า?
ภ. ดูกรสารีบุตร พระผู้มีพระภาคพระนามวิปัสสี พระนามสิขี
และพระนามเวสสภู
ทรงท้อพระหฤทัยเพื่อจะทรงแสดงธรรมโดยพิสดารแก่สาวกทั้ง
หลาย อนึ่ง สุตตะ เคยยะ
เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาดก อัพภูตธรรม เวทัล
ละ ของพระผู้มีพระภาคทั้ง
สามพระองค์นั้นมีน้อย สิกขาบทก็มิได้ทรงบัญญัติ ปาติโมกข์ก็
มิได้ทรงแสดงแก่สาวก เพราะ
อันตรธานแห่ งพระผู้ มีพระภาคพุ ทธเจ้าเหล่ านั้ น เพราะ
อันตรธานแห่งสาวกผู้ตรัสรู้ตามพระพุทธเจ้า
เหล่านั้น สาวกชั้นหลังที่ต่างชื่อกัน ต่างโคตรกัน ต่างชาติกัน
ออกบวชจากตระกูลต่างกัน จึง
ยังพระศาสนานั้ นให้อันตรธานโดยฉับพลัน ดูกรสารี บุตร
ดอกไม้ต่างพรรณที่เขากองไว้บนพื้น
กระดาน ยังไม่ได้ร้อยด้วยด้าย ลมย่อมกระจาย ขจัด กำาจัด ซึ่ง
ดอกไม้เหล่านั้นได้ ข้อนั้น
เพราะเหตุอะไร เพราะเขาไม่ได้ร้อยด้วยด้าย ฉันใด เพราะ
อันตรธานแห่งพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้า
เหล่านั้น เพราะอันตรธานแห่งสาวกผู้ตรัสรู้ตามพระพุทธเจ้า
เหล่านั้น สาวกชั้นหลังที่ต่างชื่อกัน
ต่างโคตรกัน ต่างชาติกัน ออกบวชจากตระกูลต่างกัน จึงยังพระ
ศาสนานั้นให้อันตรธานโดยฉับ
พลัน ฉันนั้นเหมือนกัน เพราะพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าเหล่านั้น
ทรงท้อพระหฤทัยเพื่อจะทรง
กำาหนดจิตของสาวกด้วยพระหฤทัย แล้วทรงสั่งสอนสาวก .
ดูกรสารีบุตร เรื่องเคยมีมาแล้ว พระผู้มีพระภาคอรหันต
สัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม
เวสสภู ทรงกำาหนดจิตภิกษุสงฆ์ด้วยพระหฤทัยแล้วทรงสั่งสอน
พรำ่าสอน ภิกษุสงฆ์ประมาณ
พันรูป ในไพรสนฑ์อันน่าพึงกลัวแห่งหนึ่งว่า พวกเธอจงตรึก
อย่างนี้ อย่าได้ตรึกอย่างนั้น จง
ทำาในใจอย่างนี้ อย่าได้ทำาในใจอย่างนั้น จงละส่วนนี้ จงเข้าถึง
ส่วนนี้อยู่เถิด ดังนี้ ลำาดับนั้นแล
จิตของภิกษุประมาณพันรูปนั้น อันพระผู้มีพระภาคอรหันต
สัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามเวสสภูทรง
สั่งสอนอยู่อย่างนั้น ทรงพรำ่า สอนอยู่อย่างนั้น ได้หลุดพ้นแล้ว
จากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่น
ในเพราะความที่ไพรสณฑ์อันน่าพึงกลัวนั้นซิ เป็นถิ่นที่น่า
สยดสยอง จึงมีคำานี้ว่า ผู้ใดผู้หนึ่งซึ่ง
ยังไม่ปราศจากราคะเข้าไปสู่ไพรสณฑ์นั้น โดยมากโลมชาติ
ย่อมชูชัน.
ดูกรสารีบุตร อันนี้แลเป็นเหตุ อันนี้แลเป็นปัจจัย ให้พระ
ศาสนาของพระผู้มีพระภาค
พระนามวิปัสสี พระนามสิขี และพระนามเวสสภูไม่ดำา รงอยู่
นาน.
ส. อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ให้พระศาสนาของพระผู้มี
พระภาคพระนามกกุสันธะ
พระนามโกนาคมนะ และพระนามกั สสปะ ดำา รงอยู่ นาน
พระพุทธเจ้าข้า?
ภ. ดูกรสารีบุตร พระผู้มีพระภาคพระนามกกุสันธะ พระนาม
โกนาคมนะ และพระนาม
กัสสปะ มิได้ทรงท้อพระหฤทัยเพื่อจะทรงแสดงธรรมโดย
พิสดารแก่สาวกทั้งหลาย อนึ่ง สุตตะ
เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาดก อัพภูต
ธรรม เวทัลละ ของพระผู้มี
พระภาคทั้ งสามพระองค์นั้นมีมาก สิกขาบทก็ทรงบัญญัติ
ปาติโมกข์ก็ทรงแสดงแก่สาวก เพราะ
อันตรธานแห่ งพระผู้ มีพระภาคพุ ทธเจ้าเหล่ านั้ น เพราะ
อันตรธานแห่งสาวกผู้ตรัสรู้ตามพระพุทธเจ้า
เหล่านั้น สาวกชั้นหลังที่ต่างชื่อกัน ต่างโคตรกัน ต่างชาติกัน
ออกบวชจากตระกูลต่างกัน จึง
ดำารงพระศาสนานั้นไว้ได้ตลอดระยะกาลยืนนาน ดูกรสารีบุตร
ดอกไม้ต่างพรรณที่เขากองไว้บน
พื้นกระดาน ร้อยดีแล้วด้วยด้าย ลมย่อมกระจายไม่ได้ ขจัดไม่ได้
กำาจัดไม่ได้ซึ่งดอกไม้เหล่านั้น
ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะเขาร้อยดีแล้วด้วยด้าย ฉันใด เพราะ
อันตรธานแห่งพระผู้มีพระภาค
พุทธเจ้าเหล่านั้น เพราะอันตรธานแห่งสาวกผู้ตรัสรู้ตามพระ
พุทธเจ้าเหล่านั้น สาวกชั้นหลังที่
ต่างชื่อกัน ต่างโคตรกัน ต่างชาติกัน ออกบวชจากตระกูลต่าง
กัน จึงดำารงพระศาสนานั้นไว้ได้
ตลอดระยะกาลยืนนาน ฉันนั้น เหมือนกัน.
ดูกรสารีบุตร อันนี้แลเป็นเหตุ อันนี้แลเป็นปัจจัย ให้พระศาสนา
ของพระผู้มีพระภาค
พระนามกกุสันธะ พระนามโกนาคมนะ และพระนามกัสสปะ
ดำารงอยู่นาน.
ปรารภเหตุให้ทรงบัญญัติสิกขาบท
[๘] ลำา ดับนั้นแล ท่านพระสารีบุตรลุกจากอาสนะ ทำาผ้า
อุตราสงค์เฉวียงบ่าข้างหนึ่ง
ประณมอัญชลีไปทางพระผู้มีพระภาคแล้วกราบทูลว่า ถึงเวลา
แล้ว พระพุทธเจ้าข้า ข้าแต่พระสุคต
ถึงเวลาแล้ว ที่จะทรงบัญญัติสิกขาบท ที่จะทรงแสดงปาติโมกข์
แก่สาวก อันจะเป็นเหตุให้
พระศาสนานี้ยั่งยืนดำารงอยู่ได้นาน.
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า จงรอก่อน สารีบุตร จงยับยั้งก่อนสา
รีบุตร ตถาคตผู้เดียวจักรู้
กาลในกรณีย์นั้น พระศาสดายังไม่บัญญัติสิกขาบท ยังไม่แสดง
ปาติโมกข์แก่สาวก ตลอดเวลา
ที่ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งอาสวะบางเหล่า ยังไม่ปรากฏในสงฆ์ใน
ศาสนานี้ ต่อเมื่อใดอาสวัฏ-
*ฐานิยธรรมบางเหล่า ปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้ เมื่อนั้นพระ
ศาสดาจึงจะบัญญัติสิกขาบท แสดง
ปาติโมกข์แก่สาวก เพื่อกำาจัดอาสวัฏฐานิยธรรมเหล่านั้นแหละ
อาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่า ยังไม่
ปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้ ตลอดเวลาที่สงฆ์ยังไม่ถึงความเป็น
หมู่ใหญ่โดยภิกษุผู้บวชนาน ต่อ
เมื่อใดสงฆ์ถึงความเป็นหมู่ใหญ่โดยภิกษุผู้บวชนานแล้ว และอา
สวัฏฐานิยธรรมบางเหล่าย่อม
ปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้ เมื่อนั้นพระศาสดาจึงจะบัญญัติ
สิกขาบท แสดงปาติโมกข์แก่สาวก
เพื่อกำาจัดอาสวัฏฐานิยธรรมเหล่านั้นแหละ อาสวัฏฐานิยธรรม
บางเหล่า ยังไม่ปรากฏในสงฆ์ใน
ศาสนานี้ ตลอดเวลาที่สงฆ์ยังไม่ถึงความเป็นหมู่ใหญ่โดยแพร่
หลาย ต่อเมื่อใดสงฆ์ถึงความเป็น
หมู่ใหญ่โดยแพร่หลายแล้ว และอาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่า
ย่อมปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้
เมื่อนั้นพระศาสดาจึงจะบัญญัติสิกขาบท แสดงปาติโมกข์แก่
สาวกเพื่อกำาจัดอาสวัฏฐานิยธรรม
เหล่านั้นแหละ อาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่า ยังไม่ปรากฏใน
สงฆ์ในศาสนานี้ ตลอดเวลาที่สงฆ์
ยังไม่ถึงความเป็นหมู่ใหญ่เลิศโดยลาภ ต่อเมื่อใดสงฆ์ถึงความ
เป็นหมู่ใหญ่เลิศโดยลาภแล้ว และ
อาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่า ย่อมปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้
เมื่อนั้นพระศาสดาจึงจะบัญญัติ-
*สิกขาบท แสดงปาติโมกข์แก่สาวก เพื่อกำาจัดอาสวัฏฐานิย
ธรรมเหล่านั้นแหละ ดูกรสารีบุตร
ก็ภิกษุสงฆ์ไม่มีเสนียด ไม่มีโทษ ปราศจากมัวหมองบริสุทธิ์
ผุดผ่องตั้งอยู่ในสารคุณ เพราะบรรดา
ภิกษุ ๕๐๐ รูปนี้ ภิกษุที่ทรงคุณธรรมอย่างตำ่า ก็เป็นโสดาบัน มี
ความไม่ตกตำ่าเป็นธรรมดา เป็น
ผู้เที่ยง เป็นผู้ที่จะตรัสรู้ในเบื้องหน้า.
เสด็จนิเวศน์เวรัญชพราหมณ์
[๙] ครั้นปวารณาพรรษาแล้ว พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกท่าน
พระอานนท์มารับสั่งว่า
ดูกรอานนท์ พระตถาคตทั้งหลายยังมิได้บอกลาผู้ที่นิมนต์ให้อยู่
จำาพรรษาแล้ว จะไม่หลีกไปสู่ที่
จาริกในชนบท ข้อนี้เป็นประเพณีของพระตถาคตทั้งหลาย มา
ไปกันเถิดอานนท์ เราจะบอกลา
เวรัญชพราหมณ์ .
ท่านพระอานนท์ทูลสนองพระพุทธดำา รัสว่า เป็นดังรับสั่ง
พระพุทธเจ้าข้า.
ขณะนั้น พระผู้มีพระภาคทรงอันตรวาสกแล้ว ถือบาตรจีวร
มีท่านพระอานนท์เป็น
ปัจฉาสมณะ เสด็จพระพุทธดำา เนินไปสู่นิเวศน์ของเวรัญช
พราหมณ์ ครั้นถึงแล้วประทับนั่งเหนือ
พระพุทธอาสน์ที่เขาจัดถวาย ทันใดนั้น เวรัญชพราหมณ์ดำาเนิน
เข้าไปสู่ที่ประทับ ครั้นแล้วถวาย
บังคม นั่งเฝ้าอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พระองค์รับสั่งว่า ดูกร
พราหมณ์ เราเป็นผู้อันท่านนิมนต์
อยู่จำาพรรษาแล้ว เราขอบอกลาท่าน เราปรารถนาจะหลีกไปสู่
ที่จาริกในชนบท.
เวรัญชพราหมณ์กราบทูลว่า เป็นความจริง ท่านพระโคดม
ข้าพเจ้านิมนต์พระองค์อยู่
จำาพรรษา ก็แต่ว่าไทยธรรมอันใดที่จะพึงถวาย ไทยธรรมอันนั้น
ข้าพเจ้ายังมิได้ถวาย และไทย-
*ธรรมนั้นมิใช่ว่าจะไม่มี ทั้งประสงค์จะไม่ถวายก็หาไม่ ภายใน
ไตรมาสนี้ พระองค์จะพึงได้ไทย-
*ธรรมนั้นจากไหน เพราะฆราวาสมีกิจมาก มีกรณียะมาก ขอ
ท่านพระโคดมพร้อมด้วยพระสงฆ์
จงทรงพระกรุณาโปรดรับภัตตาหารของข้าพเจ้า เพื่อเจริญบุญ
กุศลและปีติปราโมทย์ในวันพรุ่งนี้แก่
ข้าพเจ้าด้วยเถิด.
พระผู้มีพระภาคทรงรับอัชเฌสนาโดยดุษณีภาพ และแล้ว
ทรงชี้แจงให้เวรัญชพราหมณ์
เห็นแจ้ง สมาทาน อาจหาญ ร่าเริงด้วยธรรมีกถา แล้วทรงลุก
จากที่ประทับเสด็จกลับ .
หลังจากนั้น เวรัญชพราหมณ์สั่งให้ตกแต่งของเคี้ยวของฉัน
อันประณีตในนิเวศน์ของตน
โดยผ่านราตรีนั้นแล้ว ให้เจ้าพนักงานไปกราบทูลภัตกาลแด่
พระผู้มีพระภาคว่า ถึงเวลาแล้ว ท่าน
พระโคดม ภัตตาหารเสร็จแล้ว.
ขณะนั้นเป็นเวลาเช้า พระผู้มีพระภาคทรงอันตรวาสกแล้ว
ถือบาตรจีวรเสด็จพระพุทธ-
*ดำาเนินไปสู่นิเวศน์ของเวรัญชพราหมณ์ ครั้นถึงแล้ว ประทับ
นั่งเหนือพระพุทธอาสน์ที่เขาจัดถวาย
พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์ จึงเวรัญชพราหมณ์อังคาสภิกษุสงฆ์มี
พระพุทธเจ้าเป็นประมุข ด้วยขาทนีย-
*โภชนียาหารอันประณีต ด้วยมือของตนจนให้ห้ามภัตรแล้ว ได้
ถวายไตรจีวรแด่พระผู้มีพระภาค
ผู้เสวยเสร็จทรงนำา พระหัตถ์ออกจากบาตรแล้วให้ทรงครอง
และถวายผ้าคู่ให้ภิกษุครอง รูปละ
สำา รั บ จึงพระองค์ทรงชี้แจงให้เวรัญชพราหมณ์ เห็นแจ้ง
สมาทาน อาจหาญ ร่าเริงด้วยธรรมีกถา
แล้วทรงลุกจากที่ประทับเสด็จกลับ ครั้นพระองค์ประทับอยู่ที่
เมืองเวรัญชาตามพระพุทธาภิรมย์แล้ว
เสด็จพระพุทธดำา เนินไปยังเมืองท่าปยาคะ ไม่ทรงแวะเมือง
โสเรยยะ เมืองสังกัสสะ เมือง
กัณณกุชชะ ทรงข้ามแม่นำ้า ค งคาที่ เมื องท่าปยาคะ เสด็จ
พระพุทธดำาเนินถึงพระนครพาราณสี ครั้น
พระองค์ประทับอยู่ที่พระนครพาราณสีตามพระพุทธาภิรมย์
แล้ว เสด็จจาริกไปโดยมรรคาอันจะไป
สู่พระนครเวสาลี เมื่อเสด็จจาริกไปโดยลำา ดับ ถึงพระนครเว
สาลีนั้นแล้ว ทราบว่าพระองค์ประทับ
อยู่ที่กูฏาคารศาลา ป่ามหาวัน เขตพระนครเวสาลีนั้น.
เวรัญชภาณวาร จบ.
------------
ปาราชิกกัณฑ์ ปฐมปาราชิกสิกขาบท
เรื่องพระสุทินน์
[๑๐] ก็โดยสมัยนั้นแล ณ สถานที่ไม่ห่างจากพระนครเวสาลี
มีบ้านตำาบลหนึ่ง ชื่อ
กลันทะ ในบ้านนั้นมีบุตรชาวบ้านกลันทะผู้หนึ่ง ชื่อ สุทินน์ เป็น
เศรษฐีบุตร ครั้งนั้น สุทินน์
กลันทบุตรได้เดินธุระบางอย่างในพระนครเวสาลีกับสหาย
หลายคน ขณะนั้นแล พระผู้มีพระภาค
อันบริษัทหมู่ใหญ่แวดล้อมแล้วประทับนั่งแสดงธรรมอยู่ สุทินน์
กลันทบุตรได้แลเห็นพระผู้มี
พระภาค อันบริษัทหมู่ใหญ่แวดล้อมประทับนั่งแสดงธรรมอยู่
เพราะได้เห็น ความตรึกนี้ ได้มี
แก่เขาว่า ไฉนหนอเราจะพึงได้ฟังธรรมบ้าง แล้วเขาก็เดินผ่าน
เข้าไปทางบริษัทนั้น ครั้นถึงแล้ว
นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ความรำาพึงนี้ได้มีแก่เขาผู้นั่ง ณ ที่ควร
ส่วนข้างหนึ่งฉะนี้ว่า ด้วยวิธี
อย่างไรๆ เราจึงจะรู้ทั่วถึงธรรมที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว
อันบุคคลที่ยังครองเรือนอยู่ จะ
ประพฤติพรหมจรรย์นี้ให้บริบูรณ์โดยส่วนเดียว ให้บริสุทธิ์โดย
ส่วนเดียว ดุจสังข์ที่ขัดแล้ว ทำา
ไม่ได้ง่าย ไฉนหนอ เราพึงปลงผมและหนวดครองผ้ากาสายะ
ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต
ครั้นบริษัทนั้น อันพระผู้มีพระภาคทรงแสดง ให้เห็นแจ้ง ให้
สมาทาน อาจหาญ ร่าเริง ด้วย
ธรรมีกถาแล้ว ลุกจากที่นั่ง ถวายบังคมพระผู้มีพระภาค ทำาประ
ทักษิณหลีกไปแล้ว หลังจากบริษัท
ลุกไปแล้วไม่นานนัก เขาได้เดินเข้าไปใกล้ที่ประทับ ถวายบังคม
แล้ว นั่งเฝ้าอยู่ ณ ที่ควรส่วน
ข้างหนึ่ง.
สุทินน์กลันทบุตรนั่งเฝ้าอยู่ ณ ที่นั้นแล ได้กราบทูลคำานี้แด่
พระผู้มีพระภาคว่า พระพุทธ-
*เจ้าข้า ด้วยวิธีอย่างไรๆ ข้าพระพุทธเจ้าจึงจะรู้ทั่วถึงธรรมที่
พระองค์ทรงแสดงแล้ว อันบุคคลที่ยัง
ครองเรือนอยู่ จะประพฤติพรหมจรรย์นี้ให้บริบูรณ์โดยส่วน
เดียว ให้บริสุทธิ์โดยส่วนเดียว ดุจสังข์
ที่ขัดแล้ว ทำาไม่ได้ง่าย ข้าพระพุทธเจ้าปรารถนาจะปลงผมและ
หนวด ครองผ้ากาสายะ ออกจาก
เรือนบวชเป็นบรรพชิต ขอพระองค์ทรงพระกรุณาโปรดให้ข้า
พระพุทธเจ้าบวชเถิด พระพุทธเจ้าข้า.
พระผู้มีพระภาคตรั สถามว่ า ดูกรสุทินน์ ก็มารดาบิ ดา
อนุญาตให้เธอออกจากเรือนบวช
เป็นบรรพชิตแล้วหรือ?
สุทินน์กลันทบุตรกราบทูลว่า ยังไม่ได้อนุญาต พระพุทธเจ้า
ข้า.
ภ . ดูกรสุทินน์ พระตถาคตทั้ งหลาย ย่อมไม่บวชบุตรที่
มารดาบิดายังมิได้อนุญาต.
สุ. ข้าพระพุทธเจ้าจักกระทำาโดยวิธีที่มารดาบิดาจักอนุญาต
ให้ข้าพระพุทธเจ้าออกจากเรือน
บวชเป็นบรรพชิต พระพุทธเจ้าข้า.
ขออนุญาตออกบวช
[๑๑] หลังจากนั้นแล สุทินน์กลันทบุตรเสร็จการเดินธุระที่ใน
พระนครเวสาลีนั้นแล้ว
กลับสู่กลันทคามเข้าหามารดาบิดา แล้วได้กล่าวคำานี้กะมารดา
บิดาว่า ข้าแต่มารดาบิดา ด้วยวิธี
อย่างไรๆ ลูกจึงจะรู้ทั่วถึงธรรมที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว
อันบุคคลที่ยังครองเรือนอยู่ จะ
ประพฤติพรหมจรรย์นี้ให้บริบูรณ์โดยส่วนเดียว ให้บริสุทธิ์โดย
ส่วนเดียว ดุจสังข์ที่ขัดแล้ว ทำา
ไม่ได้ง่าย ลูกปรารถนาจะปลงผมและหนวด ครองผ้ากาสายะ
ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต
ขอมารดาบิดาจงอนุญาตให้ลูกออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต
เถิด.
เมื่อสุทินน์กลันทบุตรกล่าวอย่างนี้แล้ว มารดาบิดาของเขา
ได้กล่าวคำานี้กะเขาว่า ลูกสุทินน์
เจ้าเท่านั้นเป็นบุตรคนเดียว เป็นที่รัก เป็นที่พอใจของเรา เป็นผู้
เจริญมาด้วยความสุข อันพี่เลี้ยง
นางนมประคบประหงมมาด้วยความสุข เจ้าไม่รู้จักความทุกข์
สักน้อย แม้เจ้าจะตายเราก็ไม่
ปรารถนาจะจาก เหตุไฉนเราจักอนุญาตให้เจ้าผู้ยังมีชีวิตอยู่
ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตได้เล่า.
แม้ครั้งที่สอง สุทินน์กลันทบุตรก็ได้กล่าวคำานี้กะมารดาบิดา
ว่า ข้าแต่มารดาบิดา ด้วย
วิธีอย่างไรๆ ลูกจึงจะรู้ทั่วถึงธรรมที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดง
แล้ว อันบุคคลที่ยังครองเรือนอยู่
จะประพฤติพรหมจรรย์นี้ ให้บริบูรณ์โดยส่วนเดียว ให้บริสุทธิ์
โดยส่วนเดียว ดุจสังข์ที่ขัดแล้ว
ทำาไม่ได้ง่าย ลูกปรารถนาจะปลงผมและหนวดครองผ้ากาสายะ
ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต
ขอมารดาบิดาจงอนุญาตให้ลูกออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต
เถิด.
แม้ครั้งที่สอง มารดาบิดาของเขาก็ได้กล่าวคำานี้กะเขาว่า ลูก
สุทินน์ เจ้าเท่านั้นเป็นบุตร
คนเดียว เป็นที่รักเป็นที่พอใจของเรา เป็นผู้เจริญมาด้วยความ
สุข อันพี่เลี้ยงนางนมประคบประหงม
มาด้วยความสุข เจ้าไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เจ้าจะตายเรา
ก็ไม่ปรารถนาจะจาก เหตุไฉน
เราจักอนุญาตให้เจ้าผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนบวชเป็น
บรรพชิตได้เล่า.
แม้ครั้งที่สาม สุทินน์กลันทบุตรก็ได้กล่าวคำานี้กะมารดาบิดา
ว่า ข้าแต่มารดาบิดา ด้วย
วิธีอย่างไรๆ ลูกจึงจะรู้ทั่วถึงธรรมที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดง
แล้ว อันบุคคลที่ยังครองเรือนอยู่
จะประพฤติพรหมจรรย์นี้ ให้บริบูรณ์โดยส่วนเดียว ให้บริสุทธิ์
โดยส่วนเดียว ดุจสังข์ที่ขัดแล้ว
ทำาไม่ได้ง่าย ลูกปรารถนาจะปลงผมและหนวดครองผ้ากาสายะ
ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต
ขอมารดาบิดาจงอนุญาตให้ลูกออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต
เถิด.
แม้ครั้งที่สาม มารดาบิดาของเขาก็ได้กล่าวคำานี้กะเขาว่า ลูก
สุทินน์ เจ้าเท่านั้นเป็นบุตร
คนเดียว เป็นที่รัก เป็นที่พอใจของเรา เป็นผู้เจริญมาด้วยความ
สุข อันพี่เลี้ยงนางนมประคบ
ประหงมมาด้วยความสุข เจ้าไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เจ้า
จะตายเราก็ไม่ปรารถนาจะจาก
เหตุไฉน เราจักอนุญาตให้เจ้าผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนบวช
เป็นบรรพชิตได้เล่า.
ทันใดนั้นแล สุทินน์กลันทบุตรแน่ใจว่า มารดาบิดาไม่
อนุญาตให้เราออกจากเรือนบวช
เป็นบรรพชิต จึงนอนลงบนพื้นอันปราศจากเครื่ องลาด ณ
สถานที่นั้นเอง ด้วยตัดสินใจว่า การ
ตายหรือการบวชจักมีแก่เราในสถานที่นี้แหละ และแล้วเขาไม่
บริโภคอาหารแม้หนึ่งมื้อ ไม่บริโภค
อาหารแม้สองมื้อ ไม่บริโภคอาหารแม้สามมื้อ ไม่บริโภคอาหาร
แม้สี่มื้อ ไม่บริโภคอาหารแม้ห้ามื้อ
ไม่บริโภคอาหารแม้หกมื้อ ไม่บริโภคอาหารแม้เจ็ดมื้อ.
มารดาบิดาไม่อนุญาต
[๑๒] จะอย่างไรก็ตาม มารดาบิดาของเขาได้กล่าวคำานี้ว่า
ลูกสุทินน์ เจ้าเท่านั้นเป็น
บุตรคนเดียว เป็นที่รัก เป็นที่พอใจของเรา เป็นผู้เจริญมาด้วย
ความสุข อันพี่เลี้ยงนางนม
ประคบประหงมมาด้วยความสุข เจ้าไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย
แม้เจ้าจะตายเราก็ไม่ปรารถนาจะ
จาก เหตุไฉน เราจักอนุญาตให้เจ้าผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือน
บวชเป็นบรรพชิตได้เล่า จงลุกขึ้น
เถิด ลูกสุทินน์ จงกิน จงดื่ม และจงรื่นเริง จงสมัครใจกิน ดื่ม
รื่นเริง บริโภคกาม ทำาบุญ
อยู่เถิด เราไม่อนุญาตให้เจ้าออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต.
เมื่อมารดาบิดากล่าวอย่างนี้แล้ว สุทินน์กลันทบุตรได้นิ่ง.
แม้ครั้งที่สอง มารดาบิดาของเขาก็ได้กล่าวคำานี้กะเขาว่า ลูก
สุทินน์ เจ้าเท่านั้นเป็นบุตร
คนเดียว เป็นที่รักเป็นที่พอใจของเรา เป็นผู้เจริญมาด้วยความ
สุข อันพี่เลี้ยงนางนมประคบประหงม
มาด้วยความสุข เจ้าไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เจ้าจะตายเรา
ก็ไม่ปรารถนาจะจาก เหตุไฉน
เราจักอนุญาตให้เจ้าผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนบวชเป็น
บรรพชิตได้เล่า จงลุกขึ้นเถิดลูกสุทินน์
จงกิน จงดื่ม และจงรื่นเริง จงสมัครใจกิน ดื่ม รื่นเริง บริโภค
กาม ทำาบุญอยู่เถิด เราไม่อนุญาต
ให้เจ้าออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต
แม้ครั้งที่สอง สุทินน์กลันทบุตรก็ได้นิ่ง.
แม้ครั้งที่สาม มารดาบิดาของเขาก็ได้กล่าวคำานี้กะเขาว่า ลูก
สุทินน์ เจ้าเท่านั้นเป็นบุตร
คนเดียว เป็นที่รัก เป็นที่พอใจของเรา เป็นผู้เจริญมาด้วยความ
สุข อันพี่เลี้ยงนางนมประคบ
ประหงมมาด้วยความสุข เจ้าไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เจ้า
จะตายเราก็ไม่ปรารถนาจะจาก
เหตุไฉน เราจักอนุญาตให้เจ้าผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนบวช
เป็นบรรพชิตได้เล่า จงลุกขึ้นเถิด
ลูกสุทินน์ จงกิน จงดื่ม และจงรื่นเริง จงสมัครใจกิน ดื่มรื่นเริง
บริโภคกาม ทำาบุญอยู่เถิด
เราไม่อนุญาตให้เจ้าออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต.
แม้ครั้งที่สาม สุทินน์กลันทบุตรก็ได้นิ่ง.
พวกสหายช่วยเจรจา
[๑๓] ยิ่งกว่านั้น พวกสหายของสุทินน์กลันทบุตร ก็ได้เข้าไป
หาสุทินน์กลันทบุตร
ครั้นถึงแล้วได้กล่าวคำานี้ว่า สุทินน์เพื่อนรัก เธอเท่านั้นเป็นบุตร
คนเดียว เป็นที่รัก เป็นที่
พอใจของมารดาบิดา บิดาเป็นผู้เจริญมาด้วยความสุข อันพี่
เลี้ยงนางนมประคบประหงมมาด้วย
ความสุข เธอไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เธอจะตามมารดา
บิดาก็ไม่ปรารถนาจะจาก เหตุไฉน
ท่านทั้งสองจักอนุญาตให้เธอผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนบวช
เป็นบรรพชิตได้เล่า ลุกขึ้นเถิดสุทินน์
เพื่อนรัก จงกิน จงดื่ม และจงรื่นเริง จงสมัครใจกิน ดื่ม รื่นเริง
บริโภคกาม ทำาบุญอยู่เถิด
มารดาบิดาไม่อนุญาตให้เธอออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต.
เมื่อขอกล่าวอย่างนี้แล้ว สุทินน์กลันทบุตรได้นิ่ง.
แม้ครั้งที่สอง พวกสหายของสุทินน์กลันทบุตรก็ได้กล่าวคำานี้
กะเขาว่า สุทินน์เพื่อนรัก
เธอเท่านั้นเป็นบุตรคนเดียว เป็นที่รักเป็นที่พอใจของมารดา
บิดา เป็นผู้เจริญมาด้วยความสุข
อันพี่เลี้ยงนางนมประคบประหงมมาด้วยความสุข เธอไม่รู้จัก
ความทุกข์สักน้อย แม้เธอจะตาย
มารดาบิดา ก็ไม่ปรารถนาจะจาก เหตุไฉนท่านทั้งสองจัก
อนุญาตให้เธอผู้ยังมีชีวิตอยู่ ออกจาก
เรือนบวชเป็นบรรพชิตได้เล่า ลุกขึ้นเถิดสุทินน์เพื่อนรัก จงกิน
จงดื่ม และจงรื่นเริง
จงสมัครใจกิน ดื่ม รื่นเริง บริโภคกาม ทำาบุญอยู่เถิด มารดา
บิดาไม่อนุญาตให้เธอออกจากเรือน
บวชเป็นบรรพชิต.
แม้ครั้งที่สอง สุทินน์กลันทบุตรก็ได้นิ่ง.
แม้ครั้งที่สาม พวกสหายของสุทินน์กลันทบุตร ก็ได้กล่าวคำา
นี้กะเขาว่า สุทินน์เพื่อนรัก
เธอเท่านั้นเป็นบุตรคนเดียว เป็นที่รัก เป็นที่พอใจของมารดา
บิดา เป็นผู้เจริญมาด้วยความสุข
อันพี่เลี้ยงนางนมประคบประหงมมาด้วยความสุข เธอไม่รู้จัก
ความทุกข์สักน้อย แม้เธอจะตาย
มารดาบิ ดาก็ไม่ปรารถนาจะจาก เหตุไฉนท่านทั้งสองจัก
อนุญาตให้เธอผู้ยังมีชีวิตอยู่ ออกจาก
เรือนบวชเป็นบรรพชิตได้เล่า ลุกขึ้นเถิดสุทินน์เพื่อนรัก จงกิน
จงดื่ม และจงรื่นเริง จง
สมัครใจกิน ดื่ม รื่นเริง บริโภคกาม ทำาบุญอยู่เถิด มารดาบิดา
ไม่อนุญาตให้เธอออกจากเรือน
บวชเป็นบรรพชิต.
แม้ครั้งที่สาม สุทินน์กลันทบุตรก็ได้นิ่ง.
เมื่อไม่สำาเร็จ พวกสหายของสุทินน์กลันทบุตร จึงเข้าไปหา
มารดาบิดาของสุทินน์
กลันทบุตร ครั้นถึงแล้วได้กล่าวคำานี้ว่า ข้าแต่มารดาบิดา สุทิน
น์นั่นนอนลงบนพื้นอันปราศจาก
เครื่องลาด ด้วยตัดสินใจว่าการตายหรือการบวชจักมีแก่เรา ณ
ที่นี้แหละ ถ้ามารดาบิดาไม่
อนุญาตให้สุทินน์ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต ความตายจัก
มาถึง ณ ที่นั้นเอง ถ้าอนุญาต
ให้สุทินน์ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตก็จักได้เห็นเขาแม้ผู้
บวชแล้ว ถ้าสุทินน์จักไม่ยินดีใน
การออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต เขาจักมีทางดำา เนินอื่น
อะไรเล่า เขาจักกลับมา ณ ที่นี้แหละ
ขอมารดาบิดาจงอนุญาตให้สุทินน์ออกจากเรือนบวชเป็น
บรรพชิตเถิด.
อนุญาตจ้ะ ให้ลูกสุทินน์ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต
มารดาบิดากล่าวยินยอม .
สุทินน์กลันทบุตรออกบวช
[๑๔] ทันใดนั้น พวกสหายของสุทินน์กลันทบุตร เข้าไปหาสุ
ทินน์กลันทบุตร แล้ว
ได้บอกเขาว่า ลุกขึ้นเถิด สุทินน์เพื่อนรัก มารดาบิดาอนุญาตให้
เธอออกจากเรือนบวชเป็น
บรรพชิตแล้ว พอสุทินน์กลันทบุตรได้ทราบว่า มารดาบิดา
อนุญาตให้ออกจากเรือนบวชเป็น
บรรพชิตแล้ว ก็ร่าเริงดีใจ ลุกขึ้นลูบเนื้อลูบตัวด้วยฝ่ามือ ครั้น
ยาเยียกำาลังอยู่สองสามวันแล้ว
จึงเข้าไปสู่พุทธสำานัก ถวายบังคมพระผู้มีพระภาค นั่งเฝ้า ณ ที่
ควรส่วนข้างหนึ่ง เขานั่งเฝ้าอยู่
อย่างนั้นแล ได้กราบทูลแด่พระผู้มีพระภาคว่า ข้าพระพุทธเจ้า
อันมารดาบิดาอนุญาตให้ออกจากเรือน
บวชเป็นบรรพชิตแล้ว พระพุทธเจ้าข้า ขอพระองค์ได้โปรดให้ข้า
พระพุทธเจ้าบวชเถิดพระ-
*พุทธเจ้าข้า.
สุทินน์กลันทบุตรได้รับบรรพชาอุปสมบทในพุทธสำานักดังนี้
ก็แลเห็นท่านพระสุทินน์
อุปสมบทแล้วไม่นาน ประพฤติสมาทานธุดงคคุณเห็นปานนี้ คือ
เป็นผู้ถืออรัญญิกธุดงค์
ปิณฑปาติกธุดงค์ ปังสุกูลิกธุดงค์ สปทานจาริกธุดงค์ พำานักอยู่
ใกล้หมู่บ้านชาววัชชีตำาบลหนึ่ง.
พระสุทินน์เยี่ยมสกุล
[๑๕] ก็โดยสมัยนั้นแล วัชชีชนบทอัตคัดอาหาร ประชาชนหา
เลี้ยงชีพฝืดเคือง มี
กระดูกคนตายขาวเกลื่อน ต้องมีสลากซื้ออาหาร ภิกษุสงฆ์จะยัง
อัตภาพให้เป็นไปด้วยการถือ
บาตรแสวงหาก็ทำาไม่ได้ง่าย ครั้งนั้น ท่านพระสุทินน์ได้มีความ
คิดเห็นว่า เวลานี้วัชชีชนบทอัตคัด
อาหาร ประชาชนหาเลี้ยงชีพฝืดเคือง มีกระดูกคนตายขาว
เกลื่อน ต้องมีสลากซื้ออาหาร ภิกษุ-
*สงฆ์จะยังอัตภาพให้เป็นไปด้วยการถือบาตรแสวงหา ก็ทำาไม่
ได้ง่าย ก็แลญาติของเราในพระนคร
เวสาลีมีมาก ล้วนเป็นคนมั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะมาก มีทอง
และเงินมาก มีเครื่องอุปกรณ์
ที่น่าปลื้มใจมาก มีข้าวเปลือกเป็นทรัพยากรมาก ไฉนหนอ เรา
พึงเข้าไปพำานักอยู่ใกล้หมู่ญาติ
แม้หมู่ญาติก็จักได้อาศัยเราให้ทานทำาบุญ และภิกษุทั้งหลายก็
จักได้ลาภ ทั้งเราก็จักไม่ลำาบากด้วย
บิณฑบาต ดั่งนั้น ท่านพระสุทินน์จึงเก็บงำาเสนาสนะ ถือบาตร
จีวรหลีกไปโดยมรรคาอันจะไปสู่
พระนครเวสาลี เที่ยวจาริกไปโดยลำาดับ ถึงพระนครเวสาลีแล้ว
ทราบว่า เธอพำานักอยู่
ณ กูฏาคารศาลา ป่ามหาวัน เขตพระนครเวสาลีนั้น.
บรรดาญาติของท่านพระสุทินน์ ได้ทราบข่าวว่า พระสุทินน์
กลันทบุตรกลับมาสู่พระนคร
เวสาลีแล้ว จึงนำาภัตตาหารมีประมาณ ๖๐ หม้อไปถวายท่าน
พระสุทินน์ๆ สละภัตตาหารประมาณ
๖๐ หม้อนั้นถวายแก่ภิกษุทั้งหลาย แล้วเช้าวันนั้นครองอันตรวา
สกถือบาตรจีวรเข้าไปบิณฑบาต
ยังกลันทคาม เที่ยวบิณฑบาตไปตามลำาดับตรอกในกลันทคาม
ใกล้จะถึงเรือนบิดาของตน
ก็พอดีทาสีของญาติท่านพระสุทินน์ กำาลังมีความมุ่งหมายจะเท
ขนมสดที่ค้างคืน จึงท่านพระสุทินน์
ได้กล่าวคำานี้กะนางว่า น้องหญิง ถ้าของนั้นมีอันจะต้องทิ้งเป็น
ธรรมดา ขอท่านจงเกลี่ยลงใน
บาตรของเรานี้เถิด ขณะที่นางกำาลังเกลี่ยขนมสดที่ค้างคืนนั้น
ลงในบาตร นางจำาเค้ามือ เท้าและ
เสียงของพระสุทินน์ได้ จึงรีบเข้าไปหามารดาของท่านพระสุทิน
น์ ครั้นถึงแล้วได้กล่าวคำานี้กะ
มารดาของท่านว่า คุณนายเจ้าขา โปรดทราบ พระสุทินน์บุตร
คุณนายกลับมาแล้วเจ้าค่ะ.
แม่ทาสี ถ้าเจ้าพูดจริง เราจะปลดเจ้ามิให้เป็นทาสี มารดา
ท่านพระสุทินน์กล่าว.
ขณะที่ท่านพระสุทินน์กำา ลังอาศัยพะไลเรือนแห่งหนึ่งฉัน
ขนมสดที่ค้างคืนนั้น พอดีบิดา
ของท่านพระสุทินน์เดินกลับมาจากที่ทำางาน ได้แลเห็นท่านพระ
สุทินน์กำาลังอาศัยพะไลเรือน
แห่งหนึ่งฉันขนมสดที่ค้างคืนนั้นอยู่ จึงเดินเข้าไปหาท่านพระสุ
ทินน์ ครั้นถึงแล้วได้กล่าวคำานี้
กะท่านว่า มีอยู่หรือ พ่อสุทินน์ นี่พ่อจักฉันขนมสดที่ค้างคืน พ่อสุ
ทินน์ พ่อควรไปเรือน
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑

More Related Content

What's hot

พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๔
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๔พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๔
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๔Rose Banioki
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๘
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๘พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๘
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๘Rose Banioki
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘Rose Banioki
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๒
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๒พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๒
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๒Rose Banioki
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐Rose Banioki
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๓
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๓พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๓
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๓Rose Banioki
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖Rose Banioki
 

What's hot (7)

พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๔
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๔พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๔
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๔
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๘
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๘พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๘
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๘
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๒
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๒พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๒
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๒
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๓
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๓พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๓
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๓
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖
 

More from Rose Banioki

Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุน
Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุนSpm ระบบความคิดพิชิตการลงทุน
Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุนRose Banioki
 
2013ar-Berkshire Hathaway
2013ar-Berkshire Hathaway2013ar-Berkshire Hathaway
2013ar-Berkshire HathawayRose Banioki
 
Techinque mutual-fund
Techinque mutual-fundTechinque mutual-fund
Techinque mutual-fundRose Banioki
 
หนังสือความทรงอภิญญา
หนังสือความทรงอภิญญาหนังสือความทรงอภิญญา
หนังสือความทรงอภิญญาRose Banioki
 
Nutritive values of foods
Nutritive values of foodsNutritive values of foods
Nutritive values of foodsRose Banioki
 
Ipad user guide ios7
Ipad user guide ios7Ipad user guide ios7
Ipad user guide ios7Rose Banioki
 
Iphone user guide th
Iphone user guide thIphone user guide th
Iphone user guide thRose Banioki
 
The differencebetweenbeachesinindia&greece
The differencebetweenbeachesinindia&greeceThe differencebetweenbeachesinindia&greece
The differencebetweenbeachesinindia&greeceRose Banioki
 
Toilets pierre daspe
Toilets pierre daspeToilets pierre daspe
Toilets pierre daspeRose Banioki
 
Pps hollywood dorado_bea
Pps hollywood dorado_beaPps hollywood dorado_bea
Pps hollywood dorado_beaRose Banioki
 
Photos carlosalbertobau
Photos carlosalbertobauPhotos carlosalbertobau
Photos carlosalbertobauRose Banioki
 

More from Rose Banioki (20)

Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุน
Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุนSpm ระบบความคิดพิชิตการลงทุน
Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุน
 
2013ar-Berkshire Hathaway
2013ar-Berkshire Hathaway2013ar-Berkshire Hathaway
2013ar-Berkshire Hathaway
 
Instant tax
Instant taxInstant tax
Instant tax
 
Techinque mutual-fund
Techinque mutual-fundTechinque mutual-fund
Techinque mutual-fund
 
หนังสือความทรงอภิญญา
หนังสือความทรงอภิญญาหนังสือความทรงอภิญญา
หนังสือความทรงอภิญญา
 
Nutritive values of foods
Nutritive values of foodsNutritive values of foods
Nutritive values of foods
 
Thaifood table
Thaifood tableThaifood table
Thaifood table
 
Ipad user guide ios7
Ipad user guide ios7Ipad user guide ios7
Ipad user guide ios7
 
Iphone user guide th
Iphone user guide thIphone user guide th
Iphone user guide th
 
P4
P4P4
P4
 
P3
P3P3
P3
 
P1
P1P1
P1
 
To myfriends
To myfriendsTo myfriends
To myfriends
 
The differencebetweenbeachesinindia&greece
The differencebetweenbeachesinindia&greeceThe differencebetweenbeachesinindia&greece
The differencebetweenbeachesinindia&greece
 
Toilets pierre daspe
Toilets pierre daspeToilets pierre daspe
Toilets pierre daspe
 
Tibet
TibetTibet
Tibet
 
Pps hollywood dorado_bea
Pps hollywood dorado_beaPps hollywood dorado_bea
Pps hollywood dorado_bea
 
Photosdutempspass
PhotosdutempspassPhotosdutempspass
Photosdutempspass
 
Photo mix7
Photo mix7Photo mix7
Photo mix7
 
Photos carlosalbertobau
Photos carlosalbertobauPhotos carlosalbertobau
Photos carlosalbertobau
 

พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑

  • 1. พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑ ตอนที่ ๑ พระวินัยปิฎก เล่ม ๑ มหาวิภังค์ ปฐมภาค ขอนอบน้อมแ ด่พระผู้มีพระภาคอรหันต สัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น เวรัญชกัณฑ์ เรื่องเวรัญชพราหมณ์ [๑] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพระพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ ควงไม้สะเดาที่นเฬรุยักษ์ สิงสถิต เขตเมืองเวรัญชา พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ประมาณ ๕๐๐ รูป เวรัญชพราหมณ์ ได้สดับข่าวถนัดแน่ว่า ท่านผู้เจริญ พระสมณะโคดมศากยบุตร ทรงผนวชจากศากยตระกูล ประทับอยู่ ณ บริเวณต้นไม้สะเดาที่นเฬรุยักษ์สิงสถิต เขตเมือง เวรัญชา พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์ หมู่ใหญ่ประมาณ ๕๐๐ รูป ก็แลพระกิตติศัพท์อันงามของท่าน พระโคดมพระองค์นั้น ขจรไปแล้ว
  • 2. อย่างนี้ว่า พระผู้มีพระภาคองค์นั้น ทรงเป็นพระอรหันต์แม้ เพราะเหตุนี้ ทรงตรัสรู้เองโดยชอบ แม้เพราะเหตุนี้ ทรงบรรลุวิชชาและจรณะแม้เพราะเหตุนี้ เสด็จ ไปดีแม้เพราะเหตุนี้ ทรงทราบ โลกแม้เพราะเหตุนี้ ทรงเป็นสารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึกไม่มีผู้อื่นยิ่ง กว่าแม้เพราะเหตุนี้ ทรงเป็น ศาสดาของเทพและมนุษย์ทั้งหลายแม้เพราะเหตุนี้ ทรงเป็น พุทธะแม้เพราะเหตุนี้ ทรงเป็นพระ ผู้มีพระภาคแม้เพราะเหตุนี้ พระองค์ทรงทำา โลกนี้พร้อมทั้ง เทวโลก มารโลก พรหมโลกให้แจ้งชัด ด้วยพระปัญญาอันยิ่งของพระองค์เอง แล้วทรงสอนหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณะพราหมณ์ เทพ และมนุ ษย์ ให้รู้ ทรงแสดงธรร ม งา มในเบื้ องต้ น งามใน ท่ามกลาง งามในที่สุด ทรงประกาศ พรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถทั้งพยัญชนะครบบริบูรณ์บริสุทธิ์ อนึ่ง การเห็นพระอรหันต์ทั้งหลายเห็น ปานนั้น เป็นความดี . เวรัญชพราหมณ์กล่าวตู่พระพุทธเจ้า [๒] หลังจากนั้น เวรัญชพราหมณ์ได้ไปในพุทธสำานัก ครั้นถึง แล้วได้ทูลปราศรัยกับ พระผู้มีพระภาค ครั้นผ่านการทูลปราศรัยพอให้เป็นที่บันเทิง เป็นที่ระลึกถึงกันไปแล้ว จึงนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เวรัญชพราหมณ์นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง แล้ว ได้ทูลคำานี้แด่พระผู้มีพระภาค
  • 3. ว่า ท่านพระโคดม ข้าพเจ้าได้ทราบมาว่า พระสมณะโคดม ไม่ ไหว้ ไม่ลุกรับพวกพราหมณ์ผู้แก่ ผู้เฒ่า ผู้ใหญ่ ผู้ล่วงกาล ผ่านวัยมาโดยลำาดับ หรือไม่เชื้อเชิญ ด้วยอาสนะ ข้อที่ข้าพเจ้าทราบมานี้ นั้นเป็นเช่นนั้นจริง อันการที่ท่านพระโคดมไม่ไหว้ ไม่ลุกรับพวก พราหมณ์ผู้แก่ ผู้เฒ่า ผู้ใหญ่ ผู้ ล่วงกาล ผ่านวัยมาโดยลำาดับ หรือไม่เชื้อเชิญด้วยอาสนะนี้นั้น ไม่สมควรเลย . พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรพราหมณ์ ในโลก ทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ใน หมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณะ พราหมณ์ เทพ และมนุษย์ เราไม่เล็ง เห็นบุคคลที่เราควรไหว้ ควร ลุกรับ หรือควรเชื้อเชิญด้วยอาสนะ เพราะว่า ตถาคตพึงไหว้ พึง ลุกรับ หรือพึงเชื้อเชิญ บุคคลใดด้วยอาสนะ แม้ศีรษะของบุคคลนั้นก็จะพึงขาดตกไป. ว. ท่านพระโคดมมีปกติไม่ไยดี. ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะ โคดมมีปกติไม่ไยดี ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะความไยดีในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ เหล่านั้น ตถาคต ละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำาให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำาไม่ ให้มีในภายหลัง มีไม่เกิดอีก ต่อไปเป็นธรรมดา นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโค ดมมีปกติไม่ไยดี ดังนี้ชื่อว่า
  • 4. กล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว. ว. ท่านพระโคดมไม่มีสมบัติ. ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะ โคดมไม่มีสมบัติ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะสมบัติ คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ เหล่านั้น ตถาคตละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำาให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำาไม่ให้มีใน ภายหลัง มีไม่เกิดอีกต่อไปเป็น ธรรมดา นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมไม่มี สมบัติ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก แต่ ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว. ว. ท่านพระโคดมกล่าวการไม่ทำา . ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะ โคดมกล่าวการไม่ทำา ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะเรากล่าวการไม่ทำา กายทุจริต วจี ทุจริต มโนทุจริต เรากล่าวการ ไม่ทำาสิ่งที่เป็นบาปอกุศลหลายอย่าง นี้แล เหตุที่เขากล่าวหา เราว่า พระสมณะโคดมกล่าวการ ไม่ทำา ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว. ว. ท่านพระโคดมกล่าวความขาดสูญ. ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะ โคดมกล่าวความขาดสูญ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะเรากล่าวความขาดสูญแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ เรากล่าวความ
  • 5. ขาดสูญแห่งสภาพที่เป็นบาปอกุศลหลายอย่าง นี้แล เหตุที่เขา กล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดม กล่าวความขาดสูญ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่ง กล่าว. ว. ท่านพระโคดมช่างรังเกียจ. ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะ โคดมช่างรังเกียจ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะเรารังเกียจกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต เรารังเกียจความถึงพร้อมแห่ง สภาพที่เป็นบาปอกุศลหลายอย่าง นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเรา ว่า พระสมณะโคดมช่างรังเกียจ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว. ว. ท่านพระโคดมช่างกำาจัด. ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะ โคดมช่างกำาจัด ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะเราแสดงธรรมเพื่อกำา จัด ราคะ โทสะ โมหะ แสดงธรรมเพื่อกำาจัดสภาพ ที่เป็นบาปอกุศลหลายอย่างนี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระ สมณะโคดมช่างกำาจัด ดังนี้ ชื่อว่า กล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว. ว. ท่านพระโคดมช่างเผาผลาญ. ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะ โคดมช่างเผาผลาญ ดังนี้
  • 6. ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะเรากล่าวธรรมที่เป็นบาปอกุศล คือ กาย ทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ว่า เป็นธรรมที่ควรเผาผลาญ ธรรมที่เป็นบาปอกุศลซึ่งควรเผา ผลาญ อันผู้ใดละได้แล้ว ตัดราก ขาดแล้ว ทำาให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำาไม่ให้มีในภายหลัง มีไม่เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา เรากล่าวผู้นั้นว่าเป็นคนช่างเผาผลาญ พราหมณ์ ธรรมทั้ง หลายที่เป็นบาปอกุศล ซึ่งควรเผาผลาญ ตถาคตละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำาให้เป็นเหมือนตาลยอด ด้วน ทำาไม่ให้มีในภายหลัง มีไม่เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมช่างเผาผลาญ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว. ว. ท่านพระโคดมไม่ผุดเกิด. ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะ โคดมไม่ผุดเกิด ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะการนอนในครรภ์ต่อไป การเกิดในภพ ใหม่ อันผู้ใดละได้แล้ว ตัดราก ขาดแล้ว ทำาให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำาไม่ให้มีในภายหลัง มีไม่เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา เรากล่าวผู้นั้นว่าเป็นคนไม่ผุดเกิด พราหมณ์ การนอนในครรภ์ ต่อไป การเกิดในภพใหม่ ตถาคต ละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำาให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำาไม่ ให้มีในภายหลัง มีไม่เกิดอีก
  • 7. ต่อไปเป็นธรรมดา นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโค ดมไม่ผุดเกิด ดังนี้ ชื่อว่า กล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว. ทรงอุปมาด้วยลูกไก่ [๓] ดูกรพราหมณ์ เปรียบเหมือนฟองไก่ ๘ ฟอง ๑๐ ฟอง หรือ ๑๒ ฟอง ฟองไก่ เหล่านั้น อันแม่ไก่พึงกกดีแล้ว อบดีแล้ว ฟักดีแล้ว บรรดาลูกไก่ เหล่านั้น ลูกไก่ตัวใดทำาลาย กะเปาะฟอง ด้วยปลายเล็บเท้า หรือด้วยจะงอยปาก ออกมาได้ โดยสวัสดีก่อนกว่าเขา ลูกไก่ ตัวนั้นควรเรียกว่ากระไร จะเรียกว่าพี่หรือน้อง. ว. ท่านพระโคดม ควรเรียกว่าพี่ เพราะมันแก่กว่าเขา. ทรงแสดงฌาน ๔ และวิชชา ๓ ภ. เราก็เหมือนอย่างนั้นแล พราหมณ์ เมื่อประชาชนผู้ตกอยู่ ในอวิชชา เกิดในฟอง อันกะเปาะฟองหุ้มห่อไว้ ผู้เดียวเท่านั้นในโลก ได้ทำาลายกะ เปาะฟอง คือ อวิชชา แล้วได้ ตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิญาณอันยอดเยี่ยม เรานั้นเป็นผู้เจริญ ที่สุด ประเสริฐที่สุดของโลก เพราะความเพียรของเราที่ปรารภแล้วแล ไม่ย่อหย่อน สติดำารง มั่นไม่ฟั่นเฟือน กายสงบ ไม่ กระสับกระส่าย จิตตั้งมั่น มีอารมณ์เป็นหนึ่ง. ปฐมฌาน
  • 8. เรานั้นแล สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรม ได้ บรรลุปฐมฌาน มีวิตก มีวิจาร มีปีติและสุขซึ่งเกิดแต่วิเวกอยู่. ทุติยฌาน เราได้บรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิต ณ ภายใน เป็น ธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร เพราะวิตก วิจาร สงบไป มีปีติและสุขซึ่งเกิดแต่สมาธิ อยู่. ตติยฌาน เรามีอุเบกขาอยู่ มีสติ มีสัมปชัญญะ และเสวยสุขด้วยนาม กาย เพราะปีติสิ้นไป ได้บรรลุตติยฌาน ที่พระอริยะทั้งหลายสรรเสริญว่า เป็นผู้มี อุเบกขา มีสติ มีสุขอยู่ ดังนี้ อยู่. จตุตถฌาน เราได้บรรลุจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์ และดับโสมนัส โทมนัส ก่อนๆ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่. บุพเพนิวาสานุสสติญาณ เรานั้ น เมื่ อจิตเป็ นสมาธิ บริสุทธิ์ ผุดผ่อง ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลสอ่อน ควร แก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้แล้ว ได้น้อมจิตไปเพื่อบุพ เพนิวาสานุสสติญาณ เรานั้น ย่อมระลึกชาติก่อนได้เป็นอันมาก คือระลึกชาติได้หนึ่งชาติบ้าง สองชาติบ้าง สามชาติบ้าง
  • 9. สี่ชาติบ้าง ห้าชาติบ้าง สิบชาติบ้าง ยี่สิบชาติบ้าง สามสิบชาติ บ้าง สี่สิบชาติบ้าง ห้าสิบชาติบ้าง ร้อยชาติบ้าง พันชาติบ้าง แสนชาติบ้าง ตลอดสังวัฏฏกัลป์เป็น อันมากบ้าง ตลอดวิวัฏฏกัลป์ เป็นอันมากบ้าง ตลอดสังวัฏฏวิวัฏฏกัลป์เป็นอันมากบ้าง ว่าใน ภพโน้นเราได้มีชื่ออย่างนั้น มีโคตร อย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขทุกข์ อย่างนั้นๆ มีกำาหนดอายุเพียง เท่านั้น ครั้นจุติจากภพนั้นแล้ว ได้ไปเกิดในภพโน้น แม้ในภพ โน้นนั้น เราก็ได้มีชื่ออย่างนั้น มีโคตรอย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุข ทุกข์อย่างนั้นๆ มีกำาหนด อายุเพียงเท่านั้น ครั้นจุติจากภพโน้นนั้นแล้ว ได้มาเกิดในภพนี้ เราย่อมระลึกถึงชาติก่อนได้เป็น อันมาก พร้อมทั้งอุเทส พร้อมทั้งอาการ ด้วยประการฉะนี้ พราหมณ์ วิชชาที่หนึ่งนี่แล เรา ได้บรรลุแล้วในปฐมยามแห่งราตรี อวิชชา เรากำา จัดได้แล้ว วิชชาเกิดแก่เราแล้ว ความมืด เรากำา จัดได้แล้ว แสงสว่างเกิดแก่เราแล้ว เหมือนที่เกิดแก่ บุคคลผู้ไม่ประมาท มีความเพียร เผากิเลส ส่งจิตไปแล้วอยู่ฉะนั้น ความชำาแรกออกครั้งที่หนึ่ง ของเรานี้แล ได้เป็นเหมือนการ ทำาลายออกจากกะเปาะฟองแห่งลูกไก่ฉะนั้น. จุตูปปาตญาณ
  • 10. เรานั้ น เมื่ อจิตเป็ นสมาธิ บริสุทธิ์ ผุดผ่อง ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลสอ่อน ควร แก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้แล้ว ได้น้อมจิตไปเพื่อ ญาณเครื่องรู้จุติและอุปบัติ ของสัตว์ทั้งหลาย เรานั้นย่อมเล็งเห็นหมู่สัตว์ผู้กำาลังจุติ กำาลังอุ ปบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ล่วงจักษุ ของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ ผู้เข้าถึงตามกรรมว่า หมู่สัตว์ผู้เกิดเป็นอยู่เหล่านี้ ประกอบด้วย กายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ติเตียนพระอริยเจ้า เป็นมิจฉาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำา ด้วย อำานาจมิจฉาทิฏฐิ หมู่สัตว์ผู้เกิดเป็นอยู่ เหล่านั้น เบื้องหน้าแต่แตกกายตายไป เข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก หรือว่าหมู่สัตว์ผู้เกิด เป็นอยู่เหล่านี้ ประกอบด้วยกายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต ไม่ติ เตียนพระอริยเจ้า เป็น สัมมาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำาด้วยอำานาจสัมมาทิฏฐิ หมู่สัตว์ผู้ เกิดเป็นอยู่เหล่านั้น เบื้องหน้าแต่แตก กายตายไป เข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ เราย่อมเล็งเห็นหมู่สัตว์ผู้ กำาลังจุติ กำาลังอุปบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอัน บริสุทธิ์ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อม รู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ผู้เข้าถึงตามกรรมด้วยประการดังนี้ พราหมณ์ วิชชาที่สองนี้แล เราได้บรรลุแล้ว
  • 11. ในมัชฌิมยามแห่งราตรี อวิชชา เรากำาจัดได้แล้ว วิชชาเกิดแก่ เราแล้ว ความมืดเรากำาจัดได้แล้ว แสงสว่างเกิดแก่เราแล้ว เหมือนที่เกิดแก่บุคคลผู้ไม่ประมาท มี ความเพียรเผากิเลส ส่งจิตไป แล้วอยู่ฉะนั้น ความชำาแรกออกครั้งที่สองของเรานี้แล ได้เป็น เหมือนการทำาลายออกจากกะเปาะ ฟองแห่งลูกไก่ ฉะนั้น. อาสวักขยญาณ เรานั้ น เมื่ อจิตเป็ นส ม า ธิ บริ สุ ทธิ์ ผุดผ่อง ไม่มีกิ เลส ปราศจากอุปกิเลสอ่อน ควร แก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้แล้ว ได้น้อมจิตไปเพื่ออา สวักขยญาณ เรานั้นได้รู้ชัด ตามเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้เหตุให้เกิดทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ความ ดับทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า เหล่านี้ อาสวะ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้เหตุให้เกิดอาสวะ ได้รู้ชัดตาม เป็นจริงว่า นี้ความดับอาสวะ ได้รู้ ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับอาสวะ เมื่อเรานั้น รู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตได้ หลุดพ้นแล้วแม้จากกามาสวะ ได้หลุดพ้นแล้วแม้จากภวาสวะ ได้หลุดพ้นแล้วแม้จากอวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ได้มีญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว ได้รู้ด้วย ปัญญาอันยิ่งว่า ชาติสิ้นแล้ว
  • 12. พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำาได้ทำาเสร็จแล้ว กิจอื่นอีกเพื่อ ความเป็นอย่างนี้มิได้มี พราหมณ์ วิชชาที่สามนี้ แล เราได้บรรลุแล้วในปัจฉิมยามแห่งราตรี อวิชชา เรากำาจัดได้แล้ว วิชชาเกิด แก่เราแล้ว ความมืดเรากำาจัดได้แล้ว แสงสว่างเกิดแก่เราแล้ว เหมือนที่เกิดแก่บุคคลผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลสส่งจิตไปแล้วอยู่ ฉะนั้น ความชำาแรกออก ครั้งที่สามของเรานี้แล ได้เป็น เหมือนการทำาลายออกจากกะเปาะฟองแห่งลูกไก่ ฉะนั้น. เวรัญชพราหมณ์แสดงตนเป็นอุบาสก [๔] เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสอย่างนี้แล้ว เวรัญชพราหมณ์ได้ ทูลคำานี้แด่พระผู้มีพระภาค ว่า ท่านพระโคดมเป็ นผู้ เจริญที่ สุด ท่านพระโคดมเป็ นผู้ ประเสริฐที่สุด ข้าแต่ท่านพระโคดม ภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้งนัก ภาษิตของพระองค์ไพเราะนัก พระองค์ทรงประกาศธรรมโดย อเนกปริยายอย่างนี้ เปรียบเหมือนบุคคลหงายของที่ควำ่า เปิด ของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง หรือส่องประทีปในที่มืดด้วยตั้งใจว่า คนมีจักษุจักเห็นรูปดังนี้ ข้าพเจ้านี้ขอถึงท่านพระโคดม พระธรรม และพระสงฆ์ว่าเป็นสรณะ ขอพระองค์จงทรงจำา ข้าพเจ้าว่าเป็นอุบาสกผู้ถึงสรณะ ตลอดชีวิต จำาเดิมแต่วันนี้เป็นต้นไป และขอพระองค์พร้อมด้วย ภิกษุสงฆ์จงทรงรับอาราธนาอยู่
  • 13. จำาพรรษา ที่เมืองเวรัญชาของข้าพเจ้าเถิด. พระผู้มีพระภาคทรงรับอาราธนาด้วยพระอาการดุษณี ครั้น เวรัญชพราหมณ์ทราบการรับ อาราธนาของพระผู้มีพระภาคแล้ว ได้ลุกจากที่นั่งถวายบังคม พระผู้มีพระภาค ทำาประทักษิณ หลีกไป. เมืองเวรัญชาเกิดทุพภิกขภัย [๕] ก็โดยสมัยนั้ นแล เมืองเวรัญชา มีภิกษาหารน้ อย ประชาชนหาเลี้ยงชีพฝืดเคือง มีกระดูกคนตายขาวเกลื่อน ต้องมีสลากซื้ออาหาร ภิกษุสงฆ์จะ ยังอัตภาพให้เป็นไปด้วยการ ถือบาตรแสวงหา ก็ทำาไม่ได้ง่าย ครั้งนั้นพวกพ่อค้าม้าชาวอุตรา ปถะ มีม้าประมาณ ๕๐๐ ตัว ได้ เข้าพักแรมตลอดฤดูฝนในเมืองเวรัญชา พวกเขาได้ตกแต่งข้าว แดงสำาหรับภิกษุรูปละแล่งไว้ที่ คอกม้า เวลาเช้าภิกษุทั้งหลายครองอันตรวาสกแล้ว ถือบาตร จีวรเข้าไปบิณฑบาตในเมืองเวรัญชา เมื่อไม่ได้บิณฑบาต จึงเที่ยวไปบิณฑบาตที่คอกม้า รับข้าวแดง รูปละแล่ง นำาไปสู่อารามแล้วลงครก โขลกฉัน ส่วนท่านพระอานนท์บดข้าวแดงแล่งหนึ่งที่ศิลา แล้ว น้อมเข้าไปถวายแด่พระผู้มีพระภาค พระผู้มีพระภาคเสวยพระกระยาหารที่บดถวายนั้นอยู่ ได้ทรง สดับเสียงครกแล้ว. พระพุทธประเพณี
  • 14. พระตถาคตทั้งหลายทรงทราบอยู่ ย่อมตรัสถามก็มี ทรง ทราบอยู่ย่อมไม่ตรัสถามก็มี ทรงทราบกาลแล้วตรัสถาม ทรงทราบกาลแล้วไม่ตรัสถาม พระตถาคตทั้งหลายย่อมตรัสถามสิ่ง ที่ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่ตรัสถามสิ่ งที่ไม่ประกอบด้วย ประโยชน์ สิ่งที่ไม่ประกอบด้วย ประโยชน์ พระองค์ทรงกำา จัดด้วยข้อปฏิบัติ พระผู้มีพระภาค พุทธเจ้าทั้งหลายย่อมทรงสอบถาม ภิกษุทั้งหลายด้วยอาการสองอย่าง คือ จักทรงแสดงธรรมอย่าง หนึ่ง จักทรงบัญญัติสิกขาบทแก่ พระสาวกทั้งหลายอย่างหนึ่ง. ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคตรั สถามท่ านพระอานนท์ว่า อานนท์ นั่นเสียงครกหรือหนอ จึงท่านพระอานนท์กราบทูลเนื้อความนั้นให้ทรงทราบ พระผู้มี พระภาคตรัสสรรเสริญว่า ดีละ ดีละ อานนท์ พวกเธอเป็นสัตบุรุษ ชนะวิเศษแล้ว พวกเพื่อน พรหมจารีชั้นหลังจักดูหมิ่นข้าว สาลีและข้าวสุกอันระคนด้วยเนื้อ. พระมหาโมคคัลลานะเปล่งสีหนาท [๖] ครั้งนั้น ท่านพระมหาโมคคัลลานะเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระ ภาค ถวายบังคมแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ได้กราบทูลคำานี้แด่พระผู้มีพระภาคว่า พระพุทธเจ้าข้า บัดนี้เมืองเวรัญชา
  • 15. มีภิกษาหารน้อย ประชาชนหาเลี้ยงชีพฝืดเคือง มีกระดูกคน ตายขาวเกลื่อน ต้องมีสลากซื้อ อาหาร ภิกษุสงฆ์จะยังอัตภาพให้เป็นไปด้วยการถือบาตร แสวงหา ก็ทำาไม่ได้ง่าย พระพุทธเจ้าข้า พื้นเบื้องล่างแห่งแผ่นดินผืนใหญ่นี้ สมบูรณ์ มีรสอันโอชา เหมือนนำ้าผึ้งหวี่ที่ไม่มีตัวอ่อนฉะนั้น ขอประทานพระวโรกาส ข้าพระพุทธเจ้าจะพึงพลิกแผ่นดิน ภิกษุทั้งหลายจักได้ฉันง้วนดิน พระพุทธเจ้าข้า. พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า ดูกรโมคคัลลานะ ก็สัตว์ผู้อาศัย แผ่นดินเล่า เธอจะทำา อย่างไรแก่สัตว์เหล่านั้น? ม. ข้าพระพุทธเจ้าจักนิรมิตฝ่ามือข้างหนึ่งให้เป็นดุจแผ่นดิน ใหญ่ ยังสัตว์ผู้อาศัยแผ่นดิน เหล่านั้นให้ไปอยู่ในฝ่ามือนั้น จักพลิกแผ่นดินด้วยมืออีกข้าง หนึ่ง พระพุทธเจ้าข้า. ภ. อย่าเลย โมคคัลลานะ การพลิกแผ่นดิน เธออย่าพอใจเลย สัตว์ทั้งหลายจะพึง ได้รับผลตรงกันข้าม. ม . ขอประทานพระวโรกาส ขอภิกษุสงฆ์ทั้งหมดพึงไป บิณฑบาตในอุตรกุรุทวีป พระ- *พุทธเจ้าข้า. ภ. ก็ภิกษุผู้ไม่มีฤทธิ์เล่า เธอจักทำาอย่างไรแก่ภิกษุเหล่านั้น?
  • 16. ม. ข้าพระพุทธเจ้าจักทำาให้ภิกษุทั้งหมดไปได้ พระพุทธเจ้า ข้า. ภ . อย่าเลย โมคคัลลานะ การที่ ภิ กษุ สงฆ์ทั้ งหมดไป บิณฑบาตถึงอุตรกุรุทวีป เธออย่า พอใจเลย. เหตุให้พระศาสนาดำารงอยู่ไม่นานและนาน [๗] ครั้งนั้น ท่านพระสารีบุตรไปในที่สงัดหลีกเร้นอยู่ ได้มี ความปริวิตกแห่งจิตเกิด ขึ้นอย่างนี้ว่า พระศาสนาของพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทั้งหลาย พระองค์ไหนไม่ดำารงอยู่นาน ของ พระองค์ไหนดำารงอยู่นาน ดังนี้ ครั้นเวลาสายัณห์ท่านออกจาก ที่เร้นแล้ว เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระ- *ภาค ถวายบังคม นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งแล้วกราบทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า ข้าพระพุทธเจ้าไปใน ที่สงัดหลีกเร้นอยู่ ณ ตำาบลนี้ ได้มีความปริวิตกแห่งจิตเกิดขึ้น อย่างนี้ว่า พระศาสนาของพระผู้มี พระภาคพุทธเจ้าทั้งหลาย พระองค์ไหนไม่ดำารงอยู่นาน ของ พระองค์ไหนดำารงอยู่นาน. พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า ดูกรสารีบุตร พระศาสนาของ พระผู้มีพระภาคพระนามวิปัสสี พระนามสิขี และพระนามเวสสภู ไม่ดำารงอยู่นาน ของพระผู้มี พระภาคพระนามกกุสันธะ พระ นามโกนาคมนะ และพระนามกัสสปะดำารงอยู่นาน.
  • 17. ส. อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ให้พระศาสนาของพระผู้มี พระภาคพระนามวิปัสสี พระนามสิขี และพระนามเวสสภู ไม่ดำารงอยู่นาน พระพุทธเจ้า ข้า? ภ. ดูกรสารีบุตร พระผู้มีพระภาคพระนามวิปัสสี พระนามสิขี และพระนามเวสสภู ทรงท้อพระหฤทัยเพื่อจะทรงแสดงธรรมโดยพิสดารแก่สาวกทั้ง หลาย อนึ่ง สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาดก อัพภูตธรรม เวทัล ละ ของพระผู้มีพระภาคทั้ง สามพระองค์นั้นมีน้อย สิกขาบทก็มิได้ทรงบัญญัติ ปาติโมกข์ก็ มิได้ทรงแสดงแก่สาวก เพราะ อันตรธานแห่ งพระผู้ มีพระภาคพุ ทธเจ้าเหล่ านั้ น เพราะ อันตรธานแห่งสาวกผู้ตรัสรู้ตามพระพุทธเจ้า เหล่านั้น สาวกชั้นหลังที่ต่างชื่อกัน ต่างโคตรกัน ต่างชาติกัน ออกบวชจากตระกูลต่างกัน จึง ยังพระศาสนานั้ นให้อันตรธานโดยฉับพลัน ดูกรสารี บุตร ดอกไม้ต่างพรรณที่เขากองไว้บนพื้น กระดาน ยังไม่ได้ร้อยด้วยด้าย ลมย่อมกระจาย ขจัด กำาจัด ซึ่ง ดอกไม้เหล่านั้นได้ ข้อนั้น เพราะเหตุอะไร เพราะเขาไม่ได้ร้อยด้วยด้าย ฉันใด เพราะ อันตรธานแห่งพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้า เหล่านั้น เพราะอันตรธานแห่งสาวกผู้ตรัสรู้ตามพระพุทธเจ้า เหล่านั้น สาวกชั้นหลังที่ต่างชื่อกัน
  • 18. ต่างโคตรกัน ต่างชาติกัน ออกบวชจากตระกูลต่างกัน จึงยังพระ ศาสนานั้นให้อันตรธานโดยฉับ พลัน ฉันนั้นเหมือนกัน เพราะพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าเหล่านั้น ทรงท้อพระหฤทัยเพื่อจะทรง กำาหนดจิตของสาวกด้วยพระหฤทัย แล้วทรงสั่งสอนสาวก . ดูกรสารีบุตร เรื่องเคยมีมาแล้ว พระผู้มีพระภาคอรหันต สัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม เวสสภู ทรงกำาหนดจิตภิกษุสงฆ์ด้วยพระหฤทัยแล้วทรงสั่งสอน พรำ่าสอน ภิกษุสงฆ์ประมาณ พันรูป ในไพรสนฑ์อันน่าพึงกลัวแห่งหนึ่งว่า พวกเธอจงตรึก อย่างนี้ อย่าได้ตรึกอย่างนั้น จง ทำาในใจอย่างนี้ อย่าได้ทำาในใจอย่างนั้น จงละส่วนนี้ จงเข้าถึง ส่วนนี้อยู่เถิด ดังนี้ ลำาดับนั้นแล จิตของภิกษุประมาณพันรูปนั้น อันพระผู้มีพระภาคอรหันต สัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามเวสสภูทรง สั่งสอนอยู่อย่างนั้น ทรงพรำ่า สอนอยู่อย่างนั้น ได้หลุดพ้นแล้ว จากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่น ในเพราะความที่ไพรสณฑ์อันน่าพึงกลัวนั้นซิ เป็นถิ่นที่น่า สยดสยอง จึงมีคำานี้ว่า ผู้ใดผู้หนึ่งซึ่ง ยังไม่ปราศจากราคะเข้าไปสู่ไพรสณฑ์นั้น โดยมากโลมชาติ ย่อมชูชัน. ดูกรสารีบุตร อันนี้แลเป็นเหตุ อันนี้แลเป็นปัจจัย ให้พระ ศาสนาของพระผู้มีพระภาค
  • 19. พระนามวิปัสสี พระนามสิขี และพระนามเวสสภูไม่ดำา รงอยู่ นาน. ส. อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ให้พระศาสนาของพระผู้มี พระภาคพระนามกกุสันธะ พระนามโกนาคมนะ และพระนามกั สสปะ ดำา รงอยู่ นาน พระพุทธเจ้าข้า? ภ. ดูกรสารีบุตร พระผู้มีพระภาคพระนามกกุสันธะ พระนาม โกนาคมนะ และพระนาม กัสสปะ มิได้ทรงท้อพระหฤทัยเพื่อจะทรงแสดงธรรมโดย พิสดารแก่สาวกทั้งหลาย อนึ่ง สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาดก อัพภูต ธรรม เวทัลละ ของพระผู้มี พระภาคทั้ งสามพระองค์นั้นมีมาก สิกขาบทก็ทรงบัญญัติ ปาติโมกข์ก็ทรงแสดงแก่สาวก เพราะ อันตรธานแห่ งพระผู้ มีพระภาคพุ ทธเจ้าเหล่ านั้ น เพราะ อันตรธานแห่งสาวกผู้ตรัสรู้ตามพระพุทธเจ้า เหล่านั้น สาวกชั้นหลังที่ต่างชื่อกัน ต่างโคตรกัน ต่างชาติกัน ออกบวชจากตระกูลต่างกัน จึง ดำารงพระศาสนานั้นไว้ได้ตลอดระยะกาลยืนนาน ดูกรสารีบุตร ดอกไม้ต่างพรรณที่เขากองไว้บน พื้นกระดาน ร้อยดีแล้วด้วยด้าย ลมย่อมกระจายไม่ได้ ขจัดไม่ได้ กำาจัดไม่ได้ซึ่งดอกไม้เหล่านั้น ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะเขาร้อยดีแล้วด้วยด้าย ฉันใด เพราะ อันตรธานแห่งพระผู้มีพระภาค
  • 20. พุทธเจ้าเหล่านั้น เพราะอันตรธานแห่งสาวกผู้ตรัสรู้ตามพระ พุทธเจ้าเหล่านั้น สาวกชั้นหลังที่ ต่างชื่อกัน ต่างโคตรกัน ต่างชาติกัน ออกบวชจากตระกูลต่าง กัน จึงดำารงพระศาสนานั้นไว้ได้ ตลอดระยะกาลยืนนาน ฉันนั้น เหมือนกัน. ดูกรสารีบุตร อันนี้แลเป็นเหตุ อันนี้แลเป็นปัจจัย ให้พระศาสนา ของพระผู้มีพระภาค พระนามกกุสันธะ พระนามโกนาคมนะ และพระนามกัสสปะ ดำารงอยู่นาน. ปรารภเหตุให้ทรงบัญญัติสิกขาบท [๘] ลำา ดับนั้นแล ท่านพระสารีบุตรลุกจากอาสนะ ทำาผ้า อุตราสงค์เฉวียงบ่าข้างหนึ่ง ประณมอัญชลีไปทางพระผู้มีพระภาคแล้วกราบทูลว่า ถึงเวลา แล้ว พระพุทธเจ้าข้า ข้าแต่พระสุคต ถึงเวลาแล้ว ที่จะทรงบัญญัติสิกขาบท ที่จะทรงแสดงปาติโมกข์ แก่สาวก อันจะเป็นเหตุให้ พระศาสนานี้ยั่งยืนดำารงอยู่ได้นาน. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า จงรอก่อน สารีบุตร จงยับยั้งก่อนสา รีบุตร ตถาคตผู้เดียวจักรู้ กาลในกรณีย์นั้น พระศาสดายังไม่บัญญัติสิกขาบท ยังไม่แสดง ปาติโมกข์แก่สาวก ตลอดเวลา ที่ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งอาสวะบางเหล่า ยังไม่ปรากฏในสงฆ์ใน ศาสนานี้ ต่อเมื่อใดอาสวัฏ-
  • 21. *ฐานิยธรรมบางเหล่า ปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้ เมื่อนั้นพระ ศาสดาจึงจะบัญญัติสิกขาบท แสดง ปาติโมกข์แก่สาวก เพื่อกำาจัดอาสวัฏฐานิยธรรมเหล่านั้นแหละ อาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่า ยังไม่ ปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้ ตลอดเวลาที่สงฆ์ยังไม่ถึงความเป็น หมู่ใหญ่โดยภิกษุผู้บวชนาน ต่อ เมื่อใดสงฆ์ถึงความเป็นหมู่ใหญ่โดยภิกษุผู้บวชนานแล้ว และอา สวัฏฐานิยธรรมบางเหล่าย่อม ปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้ เมื่อนั้นพระศาสดาจึงจะบัญญัติ สิกขาบท แสดงปาติโมกข์แก่สาวก เพื่อกำาจัดอาสวัฏฐานิยธรรมเหล่านั้นแหละ อาสวัฏฐานิยธรรม บางเหล่า ยังไม่ปรากฏในสงฆ์ใน ศาสนานี้ ตลอดเวลาที่สงฆ์ยังไม่ถึงความเป็นหมู่ใหญ่โดยแพร่ หลาย ต่อเมื่อใดสงฆ์ถึงความเป็น หมู่ใหญ่โดยแพร่หลายแล้ว และอาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่า ย่อมปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้ เมื่อนั้นพระศาสดาจึงจะบัญญัติสิกขาบท แสดงปาติโมกข์แก่ สาวกเพื่อกำาจัดอาสวัฏฐานิยธรรม เหล่านั้นแหละ อาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่า ยังไม่ปรากฏใน สงฆ์ในศาสนานี้ ตลอดเวลาที่สงฆ์ ยังไม่ถึงความเป็นหมู่ใหญ่เลิศโดยลาภ ต่อเมื่อใดสงฆ์ถึงความ เป็นหมู่ใหญ่เลิศโดยลาภแล้ว และ อาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่า ย่อมปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้ เมื่อนั้นพระศาสดาจึงจะบัญญัติ-
  • 22. *สิกขาบท แสดงปาติโมกข์แก่สาวก เพื่อกำาจัดอาสวัฏฐานิย ธรรมเหล่านั้นแหละ ดูกรสารีบุตร ก็ภิกษุสงฆ์ไม่มีเสนียด ไม่มีโทษ ปราศจากมัวหมองบริสุทธิ์ ผุดผ่องตั้งอยู่ในสารคุณ เพราะบรรดา ภิกษุ ๕๐๐ รูปนี้ ภิกษุที่ทรงคุณธรรมอย่างตำ่า ก็เป็นโสดาบัน มี ความไม่ตกตำ่าเป็นธรรมดา เป็น ผู้เที่ยง เป็นผู้ที่จะตรัสรู้ในเบื้องหน้า. เสด็จนิเวศน์เวรัญชพราหมณ์ [๙] ครั้นปวารณาพรรษาแล้ว พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกท่าน พระอานนท์มารับสั่งว่า ดูกรอานนท์ พระตถาคตทั้งหลายยังมิได้บอกลาผู้ที่นิมนต์ให้อยู่ จำาพรรษาแล้ว จะไม่หลีกไปสู่ที่ จาริกในชนบท ข้อนี้เป็นประเพณีของพระตถาคตทั้งหลาย มา ไปกันเถิดอานนท์ เราจะบอกลา เวรัญชพราหมณ์ . ท่านพระอานนท์ทูลสนองพระพุทธดำา รัสว่า เป็นดังรับสั่ง พระพุทธเจ้าข้า. ขณะนั้น พระผู้มีพระภาคทรงอันตรวาสกแล้ว ถือบาตรจีวร มีท่านพระอานนท์เป็น ปัจฉาสมณะ เสด็จพระพุทธดำา เนินไปสู่นิเวศน์ของเวรัญช พราหมณ์ ครั้นถึงแล้วประทับนั่งเหนือ พระพุทธอาสน์ที่เขาจัดถวาย ทันใดนั้น เวรัญชพราหมณ์ดำาเนิน เข้าไปสู่ที่ประทับ ครั้นแล้วถวาย
  • 23. บังคม นั่งเฝ้าอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พระองค์รับสั่งว่า ดูกร พราหมณ์ เราเป็นผู้อันท่านนิมนต์ อยู่จำาพรรษาแล้ว เราขอบอกลาท่าน เราปรารถนาจะหลีกไปสู่ ที่จาริกในชนบท. เวรัญชพราหมณ์กราบทูลว่า เป็นความจริง ท่านพระโคดม ข้าพเจ้านิมนต์พระองค์อยู่ จำาพรรษา ก็แต่ว่าไทยธรรมอันใดที่จะพึงถวาย ไทยธรรมอันนั้น ข้าพเจ้ายังมิได้ถวาย และไทย- *ธรรมนั้นมิใช่ว่าจะไม่มี ทั้งประสงค์จะไม่ถวายก็หาไม่ ภายใน ไตรมาสนี้ พระองค์จะพึงได้ไทย- *ธรรมนั้นจากไหน เพราะฆราวาสมีกิจมาก มีกรณียะมาก ขอ ท่านพระโคดมพร้อมด้วยพระสงฆ์ จงทรงพระกรุณาโปรดรับภัตตาหารของข้าพเจ้า เพื่อเจริญบุญ กุศลและปีติปราโมทย์ในวันพรุ่งนี้แก่ ข้าพเจ้าด้วยเถิด. พระผู้มีพระภาคทรงรับอัชเฌสนาโดยดุษณีภาพ และแล้ว ทรงชี้แจงให้เวรัญชพราหมณ์ เห็นแจ้ง สมาทาน อาจหาญ ร่าเริงด้วยธรรมีกถา แล้วทรงลุก จากที่ประทับเสด็จกลับ . หลังจากนั้น เวรัญชพราหมณ์สั่งให้ตกแต่งของเคี้ยวของฉัน อันประณีตในนิเวศน์ของตน โดยผ่านราตรีนั้นแล้ว ให้เจ้าพนักงานไปกราบทูลภัตกาลแด่ พระผู้มีพระภาคว่า ถึงเวลาแล้ว ท่าน พระโคดม ภัตตาหารเสร็จแล้ว.
  • 24. ขณะนั้นเป็นเวลาเช้า พระผู้มีพระภาคทรงอันตรวาสกแล้ว ถือบาตรจีวรเสด็จพระพุทธ- *ดำาเนินไปสู่นิเวศน์ของเวรัญชพราหมณ์ ครั้นถึงแล้ว ประทับ นั่งเหนือพระพุทธอาสน์ที่เขาจัดถวาย พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์ จึงเวรัญชพราหมณ์อังคาสภิกษุสงฆ์มี พระพุทธเจ้าเป็นประมุข ด้วยขาทนีย- *โภชนียาหารอันประณีต ด้วยมือของตนจนให้ห้ามภัตรแล้ว ได้ ถวายไตรจีวรแด่พระผู้มีพระภาค ผู้เสวยเสร็จทรงนำา พระหัตถ์ออกจากบาตรแล้วให้ทรงครอง และถวายผ้าคู่ให้ภิกษุครอง รูปละ สำา รั บ จึงพระองค์ทรงชี้แจงให้เวรัญชพราหมณ์ เห็นแจ้ง สมาทาน อาจหาญ ร่าเริงด้วยธรรมีกถา แล้วทรงลุกจากที่ประทับเสด็จกลับ ครั้นพระองค์ประทับอยู่ที่ เมืองเวรัญชาตามพระพุทธาภิรมย์แล้ว เสด็จพระพุทธดำา เนินไปยังเมืองท่าปยาคะ ไม่ทรงแวะเมือง โสเรยยะ เมืองสังกัสสะ เมือง กัณณกุชชะ ทรงข้ามแม่นำ้า ค งคาที่ เมื องท่าปยาคะ เสด็จ พระพุทธดำาเนินถึงพระนครพาราณสี ครั้น พระองค์ประทับอยู่ที่พระนครพาราณสีตามพระพุทธาภิรมย์ แล้ว เสด็จจาริกไปโดยมรรคาอันจะไป สู่พระนครเวสาลี เมื่อเสด็จจาริกไปโดยลำา ดับ ถึงพระนครเว สาลีนั้นแล้ว ทราบว่าพระองค์ประทับ อยู่ที่กูฏาคารศาลา ป่ามหาวัน เขตพระนครเวสาลีนั้น. เวรัญชภาณวาร จบ.
  • 25. ------------ ปาราชิกกัณฑ์ ปฐมปาราชิกสิกขาบท เรื่องพระสุทินน์ [๑๐] ก็โดยสมัยนั้นแล ณ สถานที่ไม่ห่างจากพระนครเวสาลี มีบ้านตำาบลหนึ่ง ชื่อ กลันทะ ในบ้านนั้นมีบุตรชาวบ้านกลันทะผู้หนึ่ง ชื่อ สุทินน์ เป็น เศรษฐีบุตร ครั้งนั้น สุทินน์ กลันทบุตรได้เดินธุระบางอย่างในพระนครเวสาลีกับสหาย หลายคน ขณะนั้นแล พระผู้มีพระภาค อันบริษัทหมู่ใหญ่แวดล้อมแล้วประทับนั่งแสดงธรรมอยู่ สุทินน์ กลันทบุตรได้แลเห็นพระผู้มี พระภาค อันบริษัทหมู่ใหญ่แวดล้อมประทับนั่งแสดงธรรมอยู่ เพราะได้เห็น ความตรึกนี้ ได้มี แก่เขาว่า ไฉนหนอเราจะพึงได้ฟังธรรมบ้าง แล้วเขาก็เดินผ่าน เข้าไปทางบริษัทนั้น ครั้นถึงแล้ว นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ความรำาพึงนี้ได้มีแก่เขาผู้นั่ง ณ ที่ควร ส่วนข้างหนึ่งฉะนี้ว่า ด้วยวิธี อย่างไรๆ เราจึงจะรู้ทั่วถึงธรรมที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว อันบุคคลที่ยังครองเรือนอยู่ จะ ประพฤติพรหมจรรย์นี้ให้บริบูรณ์โดยส่วนเดียว ให้บริสุทธิ์โดย ส่วนเดียว ดุจสังข์ที่ขัดแล้ว ทำา ไม่ได้ง่าย ไฉนหนอ เราพึงปลงผมและหนวดครองผ้ากาสายะ ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต
  • 26. ครั้นบริษัทนั้น อันพระผู้มีพระภาคทรงแสดง ให้เห็นแจ้ง ให้ สมาทาน อาจหาญ ร่าเริง ด้วย ธรรมีกถาแล้ว ลุกจากที่นั่ง ถวายบังคมพระผู้มีพระภาค ทำาประ ทักษิณหลีกไปแล้ว หลังจากบริษัท ลุกไปแล้วไม่นานนัก เขาได้เดินเข้าไปใกล้ที่ประทับ ถวายบังคม แล้ว นั่งเฝ้าอยู่ ณ ที่ควรส่วน ข้างหนึ่ง. สุทินน์กลันทบุตรนั่งเฝ้าอยู่ ณ ที่นั้นแล ได้กราบทูลคำานี้แด่ พระผู้มีพระภาคว่า พระพุทธ- *เจ้าข้า ด้วยวิธีอย่างไรๆ ข้าพระพุทธเจ้าจึงจะรู้ทั่วถึงธรรมที่ พระองค์ทรงแสดงแล้ว อันบุคคลที่ยัง ครองเรือนอยู่ จะประพฤติพรหมจรรย์นี้ให้บริบูรณ์โดยส่วน เดียว ให้บริสุทธิ์โดยส่วนเดียว ดุจสังข์ ที่ขัดแล้ว ทำาไม่ได้ง่าย ข้าพระพุทธเจ้าปรารถนาจะปลงผมและ หนวด ครองผ้ากาสายะ ออกจาก เรือนบวชเป็นบรรพชิต ขอพระองค์ทรงพระกรุณาโปรดให้ข้า พระพุทธเจ้าบวชเถิด พระพุทธเจ้าข้า. พระผู้มีพระภาคตรั สถามว่ า ดูกรสุทินน์ ก็มารดาบิ ดา อนุญาตให้เธอออกจากเรือนบวช เป็นบรรพชิตแล้วหรือ? สุทินน์กลันทบุตรกราบทูลว่า ยังไม่ได้อนุญาต พระพุทธเจ้า ข้า. ภ . ดูกรสุทินน์ พระตถาคตทั้ งหลาย ย่อมไม่บวชบุตรที่ มารดาบิดายังมิได้อนุญาต.
  • 27. สุ. ข้าพระพุทธเจ้าจักกระทำาโดยวิธีที่มารดาบิดาจักอนุญาต ให้ข้าพระพุทธเจ้าออกจากเรือน บวชเป็นบรรพชิต พระพุทธเจ้าข้า. ขออนุญาตออกบวช [๑๑] หลังจากนั้นแล สุทินน์กลันทบุตรเสร็จการเดินธุระที่ใน พระนครเวสาลีนั้นแล้ว กลับสู่กลันทคามเข้าหามารดาบิดา แล้วได้กล่าวคำานี้กะมารดา บิดาว่า ข้าแต่มารดาบิดา ด้วยวิธี อย่างไรๆ ลูกจึงจะรู้ทั่วถึงธรรมที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว อันบุคคลที่ยังครองเรือนอยู่ จะ ประพฤติพรหมจรรย์นี้ให้บริบูรณ์โดยส่วนเดียว ให้บริสุทธิ์โดย ส่วนเดียว ดุจสังข์ที่ขัดแล้ว ทำา ไม่ได้ง่าย ลูกปรารถนาจะปลงผมและหนวด ครองผ้ากาสายะ ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต ขอมารดาบิดาจงอนุญาตให้ลูกออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต เถิด. เมื่อสุทินน์กลันทบุตรกล่าวอย่างนี้แล้ว มารดาบิดาของเขา ได้กล่าวคำานี้กะเขาว่า ลูกสุทินน์ เจ้าเท่านั้นเป็นบุตรคนเดียว เป็นที่รัก เป็นที่พอใจของเรา เป็นผู้ เจริญมาด้วยความสุข อันพี่เลี้ยง นางนมประคบประหงมมาด้วยความสุข เจ้าไม่รู้จักความทุกข์ สักน้อย แม้เจ้าจะตายเราก็ไม่ ปรารถนาจะจาก เหตุไฉนเราจักอนุญาตให้เจ้าผู้ยังมีชีวิตอยู่ ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตได้เล่า.
  • 28. แม้ครั้งที่สอง สุทินน์กลันทบุตรก็ได้กล่าวคำานี้กะมารดาบิดา ว่า ข้าแต่มารดาบิดา ด้วย วิธีอย่างไรๆ ลูกจึงจะรู้ทั่วถึงธรรมที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดง แล้ว อันบุคคลที่ยังครองเรือนอยู่ จะประพฤติพรหมจรรย์นี้ ให้บริบูรณ์โดยส่วนเดียว ให้บริสุทธิ์ โดยส่วนเดียว ดุจสังข์ที่ขัดแล้ว ทำาไม่ได้ง่าย ลูกปรารถนาจะปลงผมและหนวดครองผ้ากาสายะ ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต ขอมารดาบิดาจงอนุญาตให้ลูกออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต เถิด. แม้ครั้งที่สอง มารดาบิดาของเขาก็ได้กล่าวคำานี้กะเขาว่า ลูก สุทินน์ เจ้าเท่านั้นเป็นบุตร คนเดียว เป็นที่รักเป็นที่พอใจของเรา เป็นผู้เจริญมาด้วยความ สุข อันพี่เลี้ยงนางนมประคบประหงม มาด้วยความสุข เจ้าไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เจ้าจะตายเรา ก็ไม่ปรารถนาจะจาก เหตุไฉน เราจักอนุญาตให้เจ้าผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนบวชเป็น บรรพชิตได้เล่า. แม้ครั้งที่สาม สุทินน์กลันทบุตรก็ได้กล่าวคำานี้กะมารดาบิดา ว่า ข้าแต่มารดาบิดา ด้วย วิธีอย่างไรๆ ลูกจึงจะรู้ทั่วถึงธรรมที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดง แล้ว อันบุคคลที่ยังครองเรือนอยู่ จะประพฤติพรหมจรรย์นี้ ให้บริบูรณ์โดยส่วนเดียว ให้บริสุทธิ์ โดยส่วนเดียว ดุจสังข์ที่ขัดแล้ว
  • 29. ทำาไม่ได้ง่าย ลูกปรารถนาจะปลงผมและหนวดครองผ้ากาสายะ ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต ขอมารดาบิดาจงอนุญาตให้ลูกออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต เถิด. แม้ครั้งที่สาม มารดาบิดาของเขาก็ได้กล่าวคำานี้กะเขาว่า ลูก สุทินน์ เจ้าเท่านั้นเป็นบุตร คนเดียว เป็นที่รัก เป็นที่พอใจของเรา เป็นผู้เจริญมาด้วยความ สุข อันพี่เลี้ยงนางนมประคบ ประหงมมาด้วยความสุข เจ้าไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เจ้า จะตายเราก็ไม่ปรารถนาจะจาก เหตุไฉน เราจักอนุญาตให้เจ้าผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนบวช เป็นบรรพชิตได้เล่า. ทันใดนั้นแล สุทินน์กลันทบุตรแน่ใจว่า มารดาบิดาไม่ อนุญาตให้เราออกจากเรือนบวช เป็นบรรพชิต จึงนอนลงบนพื้นอันปราศจากเครื่ องลาด ณ สถานที่นั้นเอง ด้วยตัดสินใจว่า การ ตายหรือการบวชจักมีแก่เราในสถานที่นี้แหละ และแล้วเขาไม่ บริโภคอาหารแม้หนึ่งมื้อ ไม่บริโภค อาหารแม้สองมื้อ ไม่บริโภคอาหารแม้สามมื้อ ไม่บริโภคอาหาร แม้สี่มื้อ ไม่บริโภคอาหารแม้ห้ามื้อ ไม่บริโภคอาหารแม้หกมื้อ ไม่บริโภคอาหารแม้เจ็ดมื้อ. มารดาบิดาไม่อนุญาต [๑๒] จะอย่างไรก็ตาม มารดาบิดาของเขาได้กล่าวคำานี้ว่า ลูกสุทินน์ เจ้าเท่านั้นเป็น
  • 30. บุตรคนเดียว เป็นที่รัก เป็นที่พอใจของเรา เป็นผู้เจริญมาด้วย ความสุข อันพี่เลี้ยงนางนม ประคบประหงมมาด้วยความสุข เจ้าไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เจ้าจะตายเราก็ไม่ปรารถนาจะ จาก เหตุไฉน เราจักอนุญาตให้เจ้าผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือน บวชเป็นบรรพชิตได้เล่า จงลุกขึ้น เถิด ลูกสุทินน์ จงกิน จงดื่ม และจงรื่นเริง จงสมัครใจกิน ดื่ม รื่นเริง บริโภคกาม ทำาบุญ อยู่เถิด เราไม่อนุญาตให้เจ้าออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต. เมื่อมารดาบิดากล่าวอย่างนี้แล้ว สุทินน์กลันทบุตรได้นิ่ง. แม้ครั้งที่สอง มารดาบิดาของเขาก็ได้กล่าวคำานี้กะเขาว่า ลูก สุทินน์ เจ้าเท่านั้นเป็นบุตร คนเดียว เป็นที่รักเป็นที่พอใจของเรา เป็นผู้เจริญมาด้วยความ สุข อันพี่เลี้ยงนางนมประคบประหงม มาด้วยความสุข เจ้าไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เจ้าจะตายเรา ก็ไม่ปรารถนาจะจาก เหตุไฉน เราจักอนุญาตให้เจ้าผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนบวชเป็น บรรพชิตได้เล่า จงลุกขึ้นเถิดลูกสุทินน์ จงกิน จงดื่ม และจงรื่นเริง จงสมัครใจกิน ดื่ม รื่นเริง บริโภค กาม ทำาบุญอยู่เถิด เราไม่อนุญาต ให้เจ้าออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต แม้ครั้งที่สอง สุทินน์กลันทบุตรก็ได้นิ่ง. แม้ครั้งที่สาม มารดาบิดาของเขาก็ได้กล่าวคำานี้กะเขาว่า ลูก สุทินน์ เจ้าเท่านั้นเป็นบุตร
  • 31. คนเดียว เป็นที่รัก เป็นที่พอใจของเรา เป็นผู้เจริญมาด้วยความ สุข อันพี่เลี้ยงนางนมประคบ ประหงมมาด้วยความสุข เจ้าไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เจ้า จะตายเราก็ไม่ปรารถนาจะจาก เหตุไฉน เราจักอนุญาตให้เจ้าผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนบวช เป็นบรรพชิตได้เล่า จงลุกขึ้นเถิด ลูกสุทินน์ จงกิน จงดื่ม และจงรื่นเริง จงสมัครใจกิน ดื่มรื่นเริง บริโภคกาม ทำาบุญอยู่เถิด เราไม่อนุญาตให้เจ้าออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต. แม้ครั้งที่สาม สุทินน์กลันทบุตรก็ได้นิ่ง. พวกสหายช่วยเจรจา [๑๓] ยิ่งกว่านั้น พวกสหายของสุทินน์กลันทบุตร ก็ได้เข้าไป หาสุทินน์กลันทบุตร ครั้นถึงแล้วได้กล่าวคำานี้ว่า สุทินน์เพื่อนรัก เธอเท่านั้นเป็นบุตร คนเดียว เป็นที่รัก เป็นที่ พอใจของมารดาบิดา บิดาเป็นผู้เจริญมาด้วยความสุข อันพี่ เลี้ยงนางนมประคบประหงมมาด้วย ความสุข เธอไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เธอจะตามมารดา บิดาก็ไม่ปรารถนาจะจาก เหตุไฉน ท่านทั้งสองจักอนุญาตให้เธอผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนบวช เป็นบรรพชิตได้เล่า ลุกขึ้นเถิดสุทินน์ เพื่อนรัก จงกิน จงดื่ม และจงรื่นเริง จงสมัครใจกิน ดื่ม รื่นเริง บริโภคกาม ทำาบุญอยู่เถิด มารดาบิดาไม่อนุญาตให้เธอออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต.
  • 32. เมื่อขอกล่าวอย่างนี้แล้ว สุทินน์กลันทบุตรได้นิ่ง. แม้ครั้งที่สอง พวกสหายของสุทินน์กลันทบุตรก็ได้กล่าวคำานี้ กะเขาว่า สุทินน์เพื่อนรัก เธอเท่านั้นเป็นบุตรคนเดียว เป็นที่รักเป็นที่พอใจของมารดา บิดา เป็นผู้เจริญมาด้วยความสุข อันพี่เลี้ยงนางนมประคบประหงมมาด้วยความสุข เธอไม่รู้จัก ความทุกข์สักน้อย แม้เธอจะตาย มารดาบิดา ก็ไม่ปรารถนาจะจาก เหตุไฉนท่านทั้งสองจัก อนุญาตให้เธอผู้ยังมีชีวิตอยู่ ออกจาก เรือนบวชเป็นบรรพชิตได้เล่า ลุกขึ้นเถิดสุทินน์เพื่อนรัก จงกิน จงดื่ม และจงรื่นเริง จงสมัครใจกิน ดื่ม รื่นเริง บริโภคกาม ทำาบุญอยู่เถิด มารดา บิดาไม่อนุญาตให้เธอออกจากเรือน บวชเป็นบรรพชิต. แม้ครั้งที่สอง สุทินน์กลันทบุตรก็ได้นิ่ง. แม้ครั้งที่สาม พวกสหายของสุทินน์กลันทบุตร ก็ได้กล่าวคำา นี้กะเขาว่า สุทินน์เพื่อนรัก เธอเท่านั้นเป็นบุตรคนเดียว เป็นที่รัก เป็นที่พอใจของมารดา บิดา เป็นผู้เจริญมาด้วยความสุข อันพี่เลี้ยงนางนมประคบประหงมมาด้วยความสุข เธอไม่รู้จัก ความทุกข์สักน้อย แม้เธอจะตาย มารดาบิ ดาก็ไม่ปรารถนาจะจาก เหตุไฉนท่านทั้งสองจัก อนุญาตให้เธอผู้ยังมีชีวิตอยู่ ออกจาก
  • 33. เรือนบวชเป็นบรรพชิตได้เล่า ลุกขึ้นเถิดสุทินน์เพื่อนรัก จงกิน จงดื่ม และจงรื่นเริง จง สมัครใจกิน ดื่ม รื่นเริง บริโภคกาม ทำาบุญอยู่เถิด มารดาบิดา ไม่อนุญาตให้เธอออกจากเรือน บวชเป็นบรรพชิต. แม้ครั้งที่สาม สุทินน์กลันทบุตรก็ได้นิ่ง. เมื่อไม่สำาเร็จ พวกสหายของสุทินน์กลันทบุตร จึงเข้าไปหา มารดาบิดาของสุทินน์ กลันทบุตร ครั้นถึงแล้วได้กล่าวคำานี้ว่า ข้าแต่มารดาบิดา สุทิน น์นั่นนอนลงบนพื้นอันปราศจาก เครื่องลาด ด้วยตัดสินใจว่าการตายหรือการบวชจักมีแก่เรา ณ ที่นี้แหละ ถ้ามารดาบิดาไม่ อนุญาตให้สุทินน์ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต ความตายจัก มาถึง ณ ที่นั้นเอง ถ้าอนุญาต ให้สุทินน์ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตก็จักได้เห็นเขาแม้ผู้ บวชแล้ว ถ้าสุทินน์จักไม่ยินดีใน การออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต เขาจักมีทางดำา เนินอื่น อะไรเล่า เขาจักกลับมา ณ ที่นี้แหละ ขอมารดาบิดาจงอนุญาตให้สุทินน์ออกจากเรือนบวชเป็น บรรพชิตเถิด. อนุญาตจ้ะ ให้ลูกสุทินน์ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต มารดาบิดากล่าวยินยอม . สุทินน์กลันทบุตรออกบวช
  • 34. [๑๔] ทันใดนั้น พวกสหายของสุทินน์กลันทบุตร เข้าไปหาสุ ทินน์กลันทบุตร แล้ว ได้บอกเขาว่า ลุกขึ้นเถิด สุทินน์เพื่อนรัก มารดาบิดาอนุญาตให้ เธอออกจากเรือนบวชเป็น บรรพชิตแล้ว พอสุทินน์กลันทบุตรได้ทราบว่า มารดาบิดา อนุญาตให้ออกจากเรือนบวชเป็น บรรพชิตแล้ว ก็ร่าเริงดีใจ ลุกขึ้นลูบเนื้อลูบตัวด้วยฝ่ามือ ครั้น ยาเยียกำาลังอยู่สองสามวันแล้ว จึงเข้าไปสู่พุทธสำานัก ถวายบังคมพระผู้มีพระภาค นั่งเฝ้า ณ ที่ ควรส่วนข้างหนึ่ง เขานั่งเฝ้าอยู่ อย่างนั้นแล ได้กราบทูลแด่พระผู้มีพระภาคว่า ข้าพระพุทธเจ้า อันมารดาบิดาอนุญาตให้ออกจากเรือน บวชเป็นบรรพชิตแล้ว พระพุทธเจ้าข้า ขอพระองค์ได้โปรดให้ข้า พระพุทธเจ้าบวชเถิดพระ- *พุทธเจ้าข้า. สุทินน์กลันทบุตรได้รับบรรพชาอุปสมบทในพุทธสำานักดังนี้ ก็แลเห็นท่านพระสุทินน์ อุปสมบทแล้วไม่นาน ประพฤติสมาทานธุดงคคุณเห็นปานนี้ คือ เป็นผู้ถืออรัญญิกธุดงค์ ปิณฑปาติกธุดงค์ ปังสุกูลิกธุดงค์ สปทานจาริกธุดงค์ พำานักอยู่ ใกล้หมู่บ้านชาววัชชีตำาบลหนึ่ง. พระสุทินน์เยี่ยมสกุล [๑๕] ก็โดยสมัยนั้นแล วัชชีชนบทอัตคัดอาหาร ประชาชนหา เลี้ยงชีพฝืดเคือง มี
  • 35. กระดูกคนตายขาวเกลื่อน ต้องมีสลากซื้ออาหาร ภิกษุสงฆ์จะยัง อัตภาพให้เป็นไปด้วยการถือ บาตรแสวงหาก็ทำาไม่ได้ง่าย ครั้งนั้น ท่านพระสุทินน์ได้มีความ คิดเห็นว่า เวลานี้วัชชีชนบทอัตคัด อาหาร ประชาชนหาเลี้ยงชีพฝืดเคือง มีกระดูกคนตายขาว เกลื่อน ต้องมีสลากซื้ออาหาร ภิกษุ- *สงฆ์จะยังอัตภาพให้เป็นไปด้วยการถือบาตรแสวงหา ก็ทำาไม่ ได้ง่าย ก็แลญาติของเราในพระนคร เวสาลีมีมาก ล้วนเป็นคนมั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะมาก มีทอง และเงินมาก มีเครื่องอุปกรณ์ ที่น่าปลื้มใจมาก มีข้าวเปลือกเป็นทรัพยากรมาก ไฉนหนอ เรา พึงเข้าไปพำานักอยู่ใกล้หมู่ญาติ แม้หมู่ญาติก็จักได้อาศัยเราให้ทานทำาบุญ และภิกษุทั้งหลายก็ จักได้ลาภ ทั้งเราก็จักไม่ลำาบากด้วย บิณฑบาต ดั่งนั้น ท่านพระสุทินน์จึงเก็บงำาเสนาสนะ ถือบาตร จีวรหลีกไปโดยมรรคาอันจะไปสู่ พระนครเวสาลี เที่ยวจาริกไปโดยลำาดับ ถึงพระนครเวสาลีแล้ว ทราบว่า เธอพำานักอยู่ ณ กูฏาคารศาลา ป่ามหาวัน เขตพระนครเวสาลีนั้น. บรรดาญาติของท่านพระสุทินน์ ได้ทราบข่าวว่า พระสุทินน์ กลันทบุตรกลับมาสู่พระนคร เวสาลีแล้ว จึงนำาภัตตาหารมีประมาณ ๖๐ หม้อไปถวายท่าน พระสุทินน์ๆ สละภัตตาหารประมาณ
  • 36. ๖๐ หม้อนั้นถวายแก่ภิกษุทั้งหลาย แล้วเช้าวันนั้นครองอันตรวา สกถือบาตรจีวรเข้าไปบิณฑบาต ยังกลันทคาม เที่ยวบิณฑบาตไปตามลำาดับตรอกในกลันทคาม ใกล้จะถึงเรือนบิดาของตน ก็พอดีทาสีของญาติท่านพระสุทินน์ กำาลังมีความมุ่งหมายจะเท ขนมสดที่ค้างคืน จึงท่านพระสุทินน์ ได้กล่าวคำานี้กะนางว่า น้องหญิง ถ้าของนั้นมีอันจะต้องทิ้งเป็น ธรรมดา ขอท่านจงเกลี่ยลงใน บาตรของเรานี้เถิด ขณะที่นางกำาลังเกลี่ยขนมสดที่ค้างคืนนั้น ลงในบาตร นางจำาเค้ามือ เท้าและ เสียงของพระสุทินน์ได้ จึงรีบเข้าไปหามารดาของท่านพระสุทิน น์ ครั้นถึงแล้วได้กล่าวคำานี้กะ มารดาของท่านว่า คุณนายเจ้าขา โปรดทราบ พระสุทินน์บุตร คุณนายกลับมาแล้วเจ้าค่ะ. แม่ทาสี ถ้าเจ้าพูดจริง เราจะปลดเจ้ามิให้เป็นทาสี มารดา ท่านพระสุทินน์กล่าว. ขณะที่ท่านพระสุทินน์กำา ลังอาศัยพะไลเรือนแห่งหนึ่งฉัน ขนมสดที่ค้างคืนนั้น พอดีบิดา ของท่านพระสุทินน์เดินกลับมาจากที่ทำางาน ได้แลเห็นท่านพระ สุทินน์กำาลังอาศัยพะไลเรือน แห่งหนึ่งฉันขนมสดที่ค้างคืนนั้นอยู่ จึงเดินเข้าไปหาท่านพระสุ ทินน์ ครั้นถึงแล้วได้กล่าวคำานี้ กะท่านว่า มีอยู่หรือ พ่อสุทินน์ นี่พ่อจักฉันขนมสดที่ค้างคืน พ่อสุ ทินน์ พ่อควรไปเรือน