SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
Download to read offline
1
โครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่เซลลูลาร
วิวัฒนาการ ของระบบโทรศัพทเคลื่อนที่เซลลูลาร
พ.ศ.
2524 Cellular ระบบแรกคือ NMT450 MHz (Nordic Mobile
Telephone)
ประเทศในแถบสแกนดิเนเวีย (นอรเวย สวีเดน และฟนแลนด)
2526 ระบบ AMPS 800 MHz (Advance Mobile Phone
System) ไดกําเนิดขึ้น
ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา
2527 ระบบ TACS (Total Access Communication
System) ประเทศอังกฤษ
(ดัดแปลงจากระบบ AMPS 800 เปน AMPS 900 MHz)
2529 ระบบ NMT 900 MHz ประเทศนอรเวย, สวีเดน, ฟนแลนด
วิวัฒนาการ ของระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ Digital
พ.ศ.
2530 GSM (Global System for Mobile Communication)
เกิดขึ้นในกลุมประเทศยุโรป (MoU)
ADC (American Digital Cellular)
ประเทศสหรัฐอเมริกา พัฒนา จากระบบ AMPS
DCS 1800 (Digital Cellular System 1800 MHz) ประเทศอังกฤษ
2537 PDC (Pacific Digital Cellular) ประเทศญี่ปุน
2
วิวัฒนาการ ของระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทย
พ.ศ.
2525 เริ่มใช NMT4
(ตอมาหยุดชะงัก เนื่องจากเปนระบบที่ลาสมัย คนไมนิยมใช)
2530 กสท. เปดใหบริการ ระบบ AMPS 800 MHz (Band A)
2533 AIS รับสัมปทานจากองคการโทรศัพท 20 ป ใหเปดบริการโทรศัพทเคลื่อนที่
ระบบ NMT 900 MHz
2534 TAC ไดรับสัมปทานจาก กสท. 22 ป ใหเปดบริการระบบ AMPS 800
MHz (Band B)
2537 ระบบ Digital มีใชงานในประเทศไทย มีผูดําเนินการ 2 ราย คือ
1. AIS ใหบริการระบบ GSM 900
2. TAC ใหบริการระบบ PCN 1800 (Personal Communication
Network 1800MHz) TAC โอนงานบางสวนให แก บริษัท Wireless
Communication Service (WCS) และ บริษัท
Digital Phone Co.Ltd. (DPC)
2540 GSM 1800 คือ HELLO 1800 เดิม AIS ไดรับมาดําเนินการ โดยใช
เครือขายเดิม และโรมมิ่ง ดวย GSM แตประสิทธิภาพไมดีเมื่อออกตางจังหวัด เหมาะที่จะ
ใชใน กรุงเทพ ระบบการทํางานของ Digital GSM 1800 จะใชงานไดจาก 2 เครือขาย
1.เครือขาย DPC ซงครอบคลุมพื้นที่สวนใหญของกทม. ขณะนี้
2.เครือขายรวม (Roaming) เมื่อผูใชบริการนําโทรศัพท ไปใชนอกเครือขาย DPC
ซึ่ง
ึ่
หมายถึงเขตปริมณฑลและตางจังหวัด ขณะนี้ DPC เปด โรมมิ่งกับเครือขาย
T A C ซึ่งใช
ความถี่เดียวกัน คือ 1800 MHz และเมื่อ D P C เริ่มโรมมิ่งกับเครือขาย
A I S ซึ่งใชความถี่ 9 0 0
MHz โทรศัพทที่ใชเปน ระบบ DUAL BAND ซึ่งจะคนหาคลื่นโดย
อัตโนมัติ
3
2541 กสท. ปรับปรุงระบบแอนะล็อก AMPS 800 MHz (Band A) เปนระบบ
ดิจิตอล CDMA ยาน ความถี่ 800 MHz (CDMA 800) จํานวน 2 ลานเลขหมาย
2544 ระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ดิจิตอล 1900 MHz ดําเนินงานโดย บวท.ทศท และ
กสท. ถูกพัฒนาขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา มีชื่อเรียกวา Personal
Communication Service (PCS) ปจจุบันมีอยู 3 เทคโนโลยีที่เปนทางเลือกคือ
GSM 1900, IS-95 CDMA และ IS-136 TDMA
2544 TA Orange (TAO) เปดใหบริการระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ดิจิตอล
GSM 1800 MHz
2545 กิจการรวมคา THAI MOBILE บ. ทศท. คอรปอเรชั่น จก.(มหาชน)กับ บ.
กสท. โทรคมนาคม จก.(มหาชน) เปดใหบริการเครือขาย GSM 1900 MHz
2546 บ. ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส จก. (Huthinson CAT Wireless) เปดใหบริการ
ระบบ CDMA ความถี่ 800 MHzภายใตชื่อ HUTCH แตไดรับสัมปทานในพื้นที่
เพียง 23 จังหวัด (รวมกรุงเทพฯ และ ปริมณฑล)
การทํางานของระบบเซลลูลาร
ระบบเซลูลารใชเทคโนโลยีการสื่อสารไรสายเปนหัวใจสําคัญ โดยจัดพื้นที่ใหบริการตางๆกับ
พื้นที่ดังกลาวจะถูกเรียกวา "เซลล"(cell)"ในการติดตอขอมูลของสัญญาณควบคุมและสัญญาณเสียง
จะถูกสงดวยสัญญาณพลังงานคลื่นวิทยุระดับต่ํา ขึ้นไปในอากาศ แลวสงไปยังสถานียอยที่ใกลที่สุด
โดยสถานีดังกลาวจะเชื่อมตออยูกับชุมสายโทรศัพทเซลูลาร ที่จะเปนเสมือน ตัวควบคุม และคอยสลับ
สายสัญญาณชองสนทนา ซึ่งตอกันเปนระบบโครงขายของโทรศัพทเคลื่อนที่ สัญญาณเสียงนี้ จะถูกสง
ตอไปยังชุมสายโทรศัพท ขององคการโทรศัพท หากผูรับปลายทางเปนโทรศัพทตามสถานที่ทํางาน
หรือตามบาน หรือ อาจตอไปยังชุมสายโทรศัพทเคลื่อนที่ ของอีกระบบหนึ่งเมื่อผูรับปลายทางเปน
เครื่องโมบายล
ขั้นตอนการทํางานขางตนมีความสําคัญ สําหรับระบบเซลลูลารมากเพราะเปนวิธีทําใหการ
สนทนาเปนไปไดอยางตอเนื่อง ไมถูกขัดจังหวะเมื่อลูกขายเคลื่อนที่ไปดวย นั่นคือเทคนิคที่เรียกวา (
แฮนดออฟ ) Hand off หรือ อาจเรียกวา( แฮนโอเวอร ) Hand over ในขณะสนทนาคู
สนทนาทั้งสองฝายจะอยูบนชองสัญญาณเสียง ( Voice channel ) ที่สถานีฐานจะกําหนดให เมื่อ
4
ลูกขายเดินทางออกไปนอกพื้นที่ใหบริการของสถานีแรก การรับและสงสัญญาณระหวางตัวเครื่องกับ
สถานีฐานเริ่มออนลง สถานีแรกก็จะทําการขอแฮนโอเวอร ไปยังชุมสายถาในสถานีถัดไปมี
ชองสัญญาณ ระบบก็จะทําการสลับชองสัญญาณเสียง ไปยังสถานีใหม โดยจะไมมีการขัดจังหวะการ
สนทนาของผูใชเกิดขึ้นและหากลูกขายเคลื่อนที่ออกไปนอกพื้นที่ใหบริการตามปกติ เครื่องลูกขายก็
ยังคงสามารถโทรไดหากในบริเวณดังกลาว มีสถานีฐานติดตั้งอยู การที่เครื่องลูกขายเดินทางไปใน
พื้นที่ตางๆ อยางไมสามารถคาดคะเนไดจะถูกเรียกวา โรมมิ่ง ( Roaming )
สวนประกอบและคุณสมบัติของระบบโทรศัพทเคลื่อนที่
Component & Characteristics for Mobile Telephone
System
องคประกอบพื้นฐานของระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ ประกอบดวย
1. โทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobile Station : MS)ประกอบดวย SIM+IMEI โดย
MS ทําหนาที่เปลี่ยนสัญญาณเสียงพูดเปนขอมูลดิจิตอลและทําการมอดูเลตขอมูลนั้นออก อากาศ
ดวยคลื่นความถี่สูงไปยังสถานีฐาน และในทางกลับกันทําหนาที่รับสัญญาณคลื่นความถี่สูงจากสถานี
ฐานแปลงเปนสัญญาณ เสียงพูด และชุมสายกับมือถือจะไดรับ 3 ความถี่
1.Up-link
2. Down-link
3.การเพิ่มกําลังสง
2. สถานีฐาน (Base Station : BS:BSC)ทําหนาที่ติดตอสื่อสารกับโทรศัพทเคลื่อนที่
โดยใชความถี่วิทยุซึ่งหนึ่งความถี่สามารถรองรับวงจรการ สื่อสารกับโทรศัพทเคลื่อนที่ และสวน
ควบคุมสถานีฐาน (Base Station Controller)ทําหนาที่ควบคุมการทํางานของสถานีฐาน
หลาย ๆ สถานี (BTS) และยังเปน ตัวกลางในการสงผานสัญญาณเสียงและสัญญาณควบคุมระหวาง
สถานีฐานและชุมสายโทรศัพทเคลื่อนที่ ไดแก
- เก็บรักษาขอมูลประจําเซลลตางๆ เชน ความถี่ Output power
- ตัดสินใจสั่งการ Hand over ไปยัง MS แตละเครื่อง
- วัดสถิติของ Traffic ในเวลาตางๆ
- สั่งการ BTS ใหสงสัญญาณที่จําเปน ในการทํา Cell Set Up
- คํานวณและสั่งการให BTS และ MS ปรับกําลังสงใหเหมาะสม
3. ชุมสายโทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobile Telephone Exchange or Mobile
Switching Center:MSC)ทําหนาที่ควบคุมการสนทนา โดยรับผิดชอบในการสรางวงจร
สื่อสารตาม คําขอของผูใชบริการ รักษาสภาพของวงจร และปลดวงจรสื่อสารเมื่อเลิกใชงาน นอกจากนี้
ใหสวนของชุมสาย ยังมี การเก็บขอมูลของผูใชบริการเพื่อใชในการตรวจสอบกอนจะใหบริการ
5
ผูใชบริการแตละราย ชุมสาย เชื่อมตอกับชุมสาย ของระบบโทรศัพทอื่น ๆ เชน เครือขาย PSTN
NMT หรือ TAC เพื่อใหผูใชบริการในแตละเครือขายสามารถโทรเรียกถึงกันได
4. ฐานขอมูล (Database)
- Home Location Register (HLR)เก็บขอมูลตางๆ ที่เกี่ยวของกับผูใชบริการ
เชนการ การปด- เปดเครื่อง การโทรออกและรับสาย บริการเสริม การใชงานครั้งสุดทาย และ
HLR ติดตั้งอยูที่จังหวัดที่เปน NOTE ใหญๆ ฐานขอมูลทุกฐานจะทําการ Update
ขอมูลพรอมกันจะทําใหสามารถติดตอไดเร็วขึ้น
- Visitor Location Register (VLR)เปนฐานขอมูลที่ติดอยูกับ MSC เก็บ
ขอมูลชั่วคราวของผูใชบริการขณะมีการใชงานอยู เชน ต่ําแหนงการใชงาน
- Authentication Centre (AUC)เปนฐานขอมูลที่เปนความลับ การเขาถึงจะตองมี
การใสรหัสผานดวย
5. สวนปฏิบัติการและควบคุม (Operation & Maintenance Center : OMC)
เปนปฏิบัติการและควบคุมชองทาง ที่จะติดตอสื่อสารวาชองทางใหนสะดวกและเหมาะสมที่สุด เชน
ไมโครเวฟ ใยแกวนําแสง และ ดูแลตรวจเช็ค CELL จุดตางๆ
รูปที่ 1
6
รูปที่ 2
รูปที่ 1-3 สวนประกอบและคุณสมบัติของระบบโทรศัพทเคลื่อนที่
รูปที่ 3
การทํางานของระบบเซลลูลาร สามารถแบงขั้นตอนการทํางานไดเปน 4 สวนดังนี้
1. เมื่อโมบายลเริ่มเปดเครื่อง ในขณะที่เริ่มใชเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ตัวเครื่องจะทําการ
ตรวจสอบพรอมกับคนหา สัญญาณจากชองสัญญาณที่มีอยูในอากาศเอง เมื่อตัวเครื่องตรวจ
พบสัญญาณที่มีระดับความแรงของสัญญาณมากที่สุด ( นั่นคือสถานีฐานที่ใกลที่สุด ) ตัวเครื่อง
ก็จะทําการจูนเขาหาความถี่นั้น และ หลังจากนั้นจะคงไวชั่วขณะจนกวาตัวโทรศัพท จะ
เคลื่อนที่เขัาไปหาเซลลอื่น ซึ่งมีสัญญาณแรงกวา ในขั้นตอนนี้จะถูกเรียกวา เปนการคนหา
ตําแหนงของตัวโมบายลเอง ( Self-location scheme ) ขั้นตอนดังกลาว เครื่องจะ
จัดการเองอัตโนมัติ วิธีการดังกลาว จะเปนการชวยลดโหลด บนสายสงสัญญาณของเซลล
ตางๆในการคนหาตําแหนงของโมบายล ขอเสียคือ วิธีการดังกลาวจะทําใหระบบ ไมสามารถ
ทราบตําแหนงของโมบายลที่เปดใชงานอยู ในแตละเซลลไดจนกวา จะมีการเรียกเขาหา
7
โทรศัพทจากที่อื่นและยังทําใหระบบ ตองใชเวลามากขึ้นสําหรับการเรียกหาโมบายล การเรียก
หาดังกลาวเรียกวาการ " เพจจิ้ง" ( Paging Process )
รูปที่ 4 แสดงโมบายลและสถานีฐาน
2. เมื่อผูใชโมบายลทําการโทรออก ซึ่งมีไดสองกรณี เชน โมบายลไปยังแลนดไลน และ
โมบายลไปยังโมบายล หลังจาก ผูใชกดหมายเลขโทรศัพทและ ทําการกดปุม Send
สัญญาณขอใชบริการ จะถูกสงขึ้นไปบนชองสัญญาณโดยจะถูกเรียกวา เซตอัพ แชนแนล (
Set-up channel ) ที่ตัวเครื่องไดจูนเขาหาชองสัญญาณไวแลว ในการคนหาตําแหนง
ของตัวเอง ตัวสถานีฐาน จะหนาที่เลือกชองสัญญาณสําหรับการสนทนาขณะเดียวกันสถานี
ฐานจะติดตอกับชุมสายโทรศัพทเคลื่อนที่ เพื่อทําการเชื่อมตอชองสัญญาณของผูเรียกกับผู
รับเขาหากัน
3. เมื่อระบบโทรศัพทเรียกเขาหาตัวโมบายล ไดแกแลนดไลนไปยังโมบายล นั่นคือมีผูใช
โทรศัพทสาธารณะทําการเรียก เขาโทรศัพทเคลื่อนที่ชุมสายโทรศัพทธรรมดา จะทราบจาก
กลุมหมายเลขที่ผูใชกด เชน 01-7654321 และจะเชื่อมสัญญาณ เขาหาชุมสาย
โทรศัพทเคลื่อนที่ จากนั้นชุมสายโทรศัพทเคลื่อนที่ ก็จะทําการเพจขอมูลสั้นๆเขาหา
โทรศัพทเคลื่อนที่ตามขอมูล ที่มีอยูที่ชุมสายของหมายเลขนั้น และตามอัลกอริทึมในการคนหา
เครื่องลูกขาย ในแตละสถานีฐานระบบจะทําการสงขอความ เรียก ( Paging Message )
ผานทางเซตอัพแชนแนล เมื่อเครื่องโมบายลรับทราบวาเปนการเรียกเขาหาตัวเองจะทําการ
ติดตอกลับผานทางเซตอัพแชนแนล ที่มีระดับความแรงของสัญญาณมากที่สุด จากนั้นสถานี
ฐานก็จะคนหาชองสัญญาณ ที่วางอยู ใหสามารถเชื่อมตอการสนทนาได ตัวเครื่องโมบายลจะ
ทําการจูนหาความถี่ของชองสัญญาณดังกลาว ตามคําสั่ง ของสถานีฐาน
4. เมื่อสิ้นสุดการสนทนา หรือเมื่อคูสนทนาวางหู โดยผูใชเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่กดคีย
สิ้นสุดการสนทนา END จะมี สัญญาณสิ้นสุดสงไปยังสถานีฐานและสงสัญญาณตอผานไป
ยังชุมสายชุมสายจะยกเลิกการใชชองสัญญาณดังกลาวทั้งสองขาง สถานีฐานก็จะยกเลิก การใช
ชองสัญญาณที่ใชอยูเชนกัน และตัวเครื่องโมบายลก็จะกลับไปทําการวัดสัญญาณความแรง
ของเซตอัพแชนแนลอีกครั้งหนึ่ง
บริการของระบบเซลลูลาร
8
ชนิดของบริการสําหรับระบบเซลลูลารสามารถแบงไดเปนสองแบบดวยกันดังนี้ คือ
1. เทเลโฟนนี่เซอรวิส ( Telephone services ) บริการดังกลาวหมายถึง
ความสามารถตางๆที่จําเปนสําหรับลูกขาย เพื่อให สามารถสื่อสารกับลูกขายอีกเครื่องหนึ่งได
ตัวอยางของเทเลโฟนนี่เซอรวิส ไดแก
บริการโทรศัพทปกติ( Normal Telephon ) เปนบริการสื่อสารสองทิศทางตามปกติ
รวมถึงความสามารถในการ โทรเขาและ โทรออกไปยังระบบโทรศัพทสาธารณะและระบบ
เซลลูลาอื่นๆ
บริการดีทีเอ็มเอฟ ( DTMF : Dual Tone Multi Frequeney ) ดีทีเอ็มเอฟ
คือคลื่นที่เปนโทนของสัญญาณจะใช สําหรับการควบคุมตางๆผานทางโทรศัพท เชน รีโมต
คอนโทนสําหรับเครื่องตอบรับโทรศัพทอัตโนมัติ
บริการสงแฟกซ ( Faximile ) ในระบบเซลลูลารบางชนิด ไดถูกออกแบบมาใหสามาร
สงขอมูลที่เปนสัญญาณ อะนาลอกของ แฟกซได
บริการสงขอความ ( Short Message Services-SMS ) เปนบริการสําหรับสง
ขอความตัวอักษร ขนาดจํากัด ผานไปยังเครื่องโมบายลไดโดยอาจสามารถสงจากเครื่องหนึ่ง
ไปยังอีกเครื่องหนึ่งก็ได หากโมบายลเครื่องที่ออกไปนอกพื้นที่ ใหบริการหรือปดเครื่อง
ขอความดังกลาวก็จะถูกเก็บไวที่ศูนยบริการขอความกอน
บริการฝากขอความ ( Voice Mail ) เปนรูปแบบการใหบริการที่เสมือนเครื่องโมบายล
มีเครื่องตอบรับโทรศัพทอยู ภายในระบบทําใหสามารถฝากขอความใหกับเครื่องลูกขายไดใน
ที่ซึ่งมีชื่อเรียกเฉพาะวา วอยซเมลบ็อก ( Voice Mail Box )
2. แบเรอรเซอรวิส ( Bearer services) หมายถึงบริการที่จําเปนในการสื่อสัญญาณที่
เหมาะสมระหวางจุดเชื่อมตอสองจุด เปนความสามารถในการเชื่อมตอกับโครงขายตางๆ
หมายถึงบริการ การสงขอมูลในรูปแบบซิงโครนัส และ อะซิงโครนัส โดยสามารถแบง
ออกเปนโครงขายปลายทางดังตอไปนี้
ระบบโทรศัพทสาธารณะ ( PSTN: Public Switched Telephone
Network ) ไดแกการสงขอมูลในรูปแบบของ อะนาลอกที่ตองผานเครื่องโมเด็ม
(MODEM)
ระบบไอเอสดีเอ็น (ISDN: Integrated Service Digital Network) เปน
การสงขอมูลในรูปของดิจิตอลที่ไมตอง ใชโมเด็ม
ระบบพีเอสพีดีเอ็น (PSPDN: Packet Switched Public Data Network)
ระบบพีเอดี (PAD: Packet Assembly/Disassembly)
9
ระบบซีเอสพีดีเอ็น (CSPDN: Circuit Switched Plublic Data
Network)
นอกจากระบบบริการทั้งสองรูปแบบดังกลาว ในระบบเซลลูลารบางระบบจะมีบริการเสริม
สําหรับบริการเทเลเซอรวิส ดวยซึ่งเรียกวา ซับพลีเมนตารี่เซอรวิส (Supplementary
Services) ซึ่งเปนบริการพิเศษในรูปแบบดังตอไปนี้ บริการโอนสาย (Call
Forwarding) บริการดังกลาว ทําใหสายที่เรียกเขาโทรศัพทเคลื่อนที่ ถูกโอนไปเขาเครื่อง
โทรศัพทปลายทางเครื่องอื่น ตามเงื่อนไขของโทรศัพทเคลื่อนที่ซึ่งใชบริการดังกลาวโดยมีอยู
4 เงื่อนไขดังนี้
- โอนสายเมื่อไมสามารถติดตอโมบายลได (Mobile Not Reachable)
- โอนสายเมื่อโมบายลไมวาง (Mobile Busy)
- โอนสายเมื่อผูใชโมบายลไมรับสาย (No Reply) โดยผูใชยังเปดเครื่องอยู
- โอนสายในทุกกรณี (Unconditional)
บริการปองกันการโทรออก (Barring of Outgoing Calls) มีเงื่อนไขการปองกัน
การโทรออกดังตอไปนี้ - ปองกันการโทรออกทั้งหมด (all outgoing calls) - ปองกัน
การโทรออกตางประเทศ (all outgoing international calls) - ปองกันการโทร
ออกตางประเทศยกเวนเปนการโทรเขาหาประเทศตัวเอง (all outgoing
internationalcalls except those directed to home PLMN:
Public Land Mobile Network)
• กรณีนี้จะใชสําหรับเวลาที่ลูกขายเดินทางไปอยูในตางประเทศจะทําใหสามารถโทรกลับ
ประเทศได *
บริการปองกันการโทรเขา (Barring of Incoming Calls)ลักษณะเหมือนกับการ
ปองกันการโทรออกเชนเดียวกัน สามารถแบงออกเปนกรณีตาง ๆ ไดดังนี้ - ปองกันการโทร
เขาทั้งหมด (all incoming call) - ปองกันการโทรเขาเมื่อเดินทางออกไปนอกพื้นที่
การใหบริการที่ลงทะเบียนอยู (incoming calls when roaming outside
home PLMN)
บริการพักสาย (Call Hold) บริการพิเศษดังกลาวทําใหผูใชงานสามารถขัดจังหวะการ
โทรขณะนั้นและสามารถโทรกับอีกสาย หนึ่งได บริการพักสายสามารถใชกับบริการโทรศัพท
ธรรมดาเทานั้น
บริการรับสายเรียกซอน (Call Waiting) บริการนี้ทําใหผูใชสามารถทราบไดวามีผูเรียก
เขาอีกสายหนึ่งขณะที่กําลังมีการ สนทนาตามปกติอยู ลูกขายสามารถตอบรับหรือปฏิเสธการ
ตอบรับสายที่เรียกเขามาได
10
บริการประชุมทางโทรศัพท (Call Conference) เปนบริการของระบบเซลลูลารที่ทํา
ใหสามารถสนทนาไดจํานวนลูกขาย หลายคนพรอมกันตั้งแต 3 ถึง 6 คน
บริการแสดงหมายเลขของสายเรียกเขา (Calling line identification
presentation/restriction)
บริการแสดงขอมูลคาใชจาย (Advice of Charge) เปนบริการที่ทําใหสามารถแสดง
ปริมาณรายจายจองลุกขายโดยคราว ๆ ได
การ Interface ระหวางโทรศัพทเคลื่อนที่กับโทรศัพทธรรมดา (PSTN)
รูปที่ 5
รูปที่ 6
11
รูปที่ 5-6 การ Interface ระหวางโทรศัพทเคลื่อนที่กับโทรศัพทธรรมดา (PSTN)
ชนิดของเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่
• โทรศัพทเคลื่อนที่ติดตั้งในรถยนต รูปที่ 7
• โทรศัพทเคลื่อนที่แบบหิ้ว
รูปที่ 8
• โทรศัพทเคลื่อนที่แบบมือถือ
• โทรศัพทเคลื่อนที่สาธารณะ รูปที่ 9
รูปที่ 10
รูปที่ 7-10 ชนิดของโทรศัพทเคลื่อนที่
12
รูปที่ 11 ขอบเขตในการติดตอสถานีฐานที่ตางกันของโทรศัพทเคลื่อนที่แบบมือถือกับแบบที่
ติดในรถยนต
รูปที่ 12 ความสัมพันธระหวางกําลังสงกับระยะทางระหวางสถานีฐานกับโทรศัพทเคลื่อนที
จากรูปที่ 12 เปนการปรับกําลังสงของโทรศัพทเคลื่อนที่ โดยจะมีลักษณะเปน
ขั้นบันได กําลังสงจะคอยๆเพิ่มขึ้นตามระยะทางและจะคํานึงถึงสิ่งกีดขวางดวยเพราะจะมีผลที่จะทํา
ใหกําลังสงลดลงได
13
รูปที่ 13 เปนการ รับ-สง สัญญานของโทรศัพทเคลื่อนที่
โครงสรางของโครงขาย (NETWORK STRUCTURE)
PLMN (Public Land Mobile Network)
หมายถึงโครงขายทั้งหมดของระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ Cellular ไมรวม PSTN ซึ่ง
ทุกๆ โครงขายสามารถแบงออกเปน Area ขนาดตางๆ กัน
-Cell แตละ Cell เปนสวนยอยของ PLMN
-Cell หลายๆ Cell สามารถรวมกันเปนบริเวณที่เรียกวา LA (Location Area) หรือ
TA (Traffic Area)
-LA หรือ TA ทั้งหมดที่ควบคุมโดยแตละชุมสายโทรศัพทเคลื่อนที่ เรียกวา Service
Area ซึ่งถาโทรศัพทเคลื่อนที่อยูในบริเวณ LA หรือ TA เดียวกันแลว จะไมมีการ
Update ขอมูลเกี่ยวกับตําแหนงของเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ที่ชุมสาย
-Service Area หลายๆ Service Area รวมกันเปน PLMN
พื้นที่ใหบริการ Area ในระดับตางๆ
14
รูปที่ 14 พื้นที่ใหบริการ Area ในระดับตางๆ
Cell หรือ รวงผึ่ง หมายถึง พื้นที่ที่ครอบคลุมโดยสถานีฐาน ซึ่งสถานีฐานอาจจะ
ครอบคลุม Cell 1 Cell หรือมากกวา ขึ้นอยูกับสายอากาศที่ใช Cell แบงออกไดเปน 2 แบบ คือ
การติดตอกับสถานีฐาน
Cellular
ื่อนที่แบบเซลลูลารรูปที่ 15 ลักษณะของ Cell และการติดตอกับสถานีฐานโทรศัพทเคล
คือ การสื่อสารที่ใชคลื่นวิทยุสงสัญญาณทําใหผูใชสามารถเคลื่อนที่ไปมาได
โดยแบงพื้นที่เปนสวนยอย ๆ เรียกวา เซลล ซึ่งเปนสถานีรับสงสัญญาณกับผูใช
ในพื้นที่ของเซลลนั้น ๆ โทรศัพทเคลื่อนที่แบบเซลลูลารจะมีอยู 2 แบบ คือแบบ
Analog และแบบ Digital
15
ลักษณะสายอากาศที่ครอบคลุมสถานีฐานของ Cell
1. Omni directional Cell หมายถึง Cell ที่ครอบคลุมโดยสถานีฐานที่ใช
สายอากาศสงสัญญาณออกไปทุกทิศทุกทาง
6
1
5
2
4
3
6
1
5
2
4
3
7
6
1
5
2
4
3
7
1
6 2
7
5 3
41
6 2
7
5 3 17
4
1
6
5
2
4
3
7
1
6 2
7
5 3
รูปที่ 164
รูปที่ 17
รูปที่ 16-17 การแบง Cell การใชงานที่สามารถนําความถี่
16
รูปที่ 18 Omni directional Antennas
Omni directional Cell
รูปที่ 19 เซลลบริเวณของสนามของสัญญาณที่สงออกจากสายอากาศ
2. Sector Cell หมายถึง Cell ที่ใชสายอากาศ 3 ตัว แตละตัวครอบคลุมบริเวณ
120 องศา
แตละสถานีฐานจะครอบคลุม Sector Cell ตั้งแต 1 Sector Cell จนถึง 3
Sector Cell
แตละ Sector Cell จะใช 2 ความถี่ ในการสงสัญญาณ คือความถี่หนึ่งสงจาก
สถานีฐาน ไปยังเครื่องโทรศัพทและอีกความถี่หนึ่งสงจากเครื่องโทรศัพทไปยังสถานีฐาน
17
c
รูปที่ 20 Sector directional Cell
รูปที่ 21 การติดตั้งสายอากาศแบบ Diversity
ลักษณะสายอากาศที่ใชกับเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่
1. Yagi Antenna เปนสายอากาศชนิดหนึ่งที่ใชรับและสงสัญญาณ กระจายคลื่นแบบมี
ทิศทาง และมีเกณฑขยายกําลังสงสูง มีใชงานกับโทรศัพทเคลื่อนที่แบบ Cellular ในยุกต
แรกๆ แสดงดังรูปที่ 22
18
รูปที่ 22 yagi antenna ความถี่ 450 Mhz และ 890-960 Mhz
2. Helical Antenna เปนสายอากาศชนิดหนึ่งที่ใชรับและสงสัญญาณ จะกระจายคลื่น
รอบทิศทาง
โดยจะใชงานเปนตัวสงและรับสัญญาณของโทรศัพทเคลื่อนที่ และอุปกรณสื่อสารชนิดอื่นๆ จะมี
การออกแบบคลายกับสปริง มีลักษณะเปนขดๆ ขนาดของตัวสายอากาศนั้นจะมีลักษณะแตกตางกัน
ออกไป จะขึ้นอยูกับความถี่ที่ใชงานและลักษณะการใชงาน แสดงดังรูปที่ 23
รูปที่ 23 Helical Antenna
3. Microstirp Antenna เปนสายอากาศชนิดหนึ่งที่ใชรับและสงสัญญาณ มี
ลักษณะเปนแผนโดยไดพัฒนามาจากสายอากาศแบบ Helical เพื่อความสะดวกในการใชงาน
ขนาดของตัวสายอากาศนั้นจะมีลักษณะแตกตางกันออกไป จะขึ้นอยูกับความถี่ที่ใชงานและลักษณะ
การใชงาน สายอากาศแบบ Microtrip ตอนนี้เปนที่นิยมและนํามาใชงานในโทรศัพทเคลื่อนที่
หลายยี่หอ แสดงดังรูปที่ 24
คุณสมบัติเฉพาะของโทรศัพทเคลื่อนที่แบบ Cellular
1. Frequency Reuse
เนื่องจากความถี่ที่ใชอยูในระบบมีอยูอยางจํากัด ไมเพียงพอตอการขยายสถานีฐาน
ดังนั้นเพื่อเพิ่มความจุของระบบ จึงตองนําเอาเทคนิค Frequency Reuse มาใช คือ
รูปที่ 24 Microstirp
19
นําเอาความถี่ที่ใชกับ Cell หนึ่งแลวมาใชกับ Cell อื่นที่มีระยะหางกันพอสมควรเพื่อจะ
ไมใหเกิดการ Interference ซึ่งระยะหางระหวาง Cell ที่ใชความถี่เดียวกันนี้เรียกวา
Reuse Distance
รูปที่ 25 หลักการ Frequency Reuse
2. Hand Over
หมายถึง ขณะที่กําลังสนทนา โทรศัพทเคลื่อนที่จาก Cell หนึ่ง ไปยังอีก
Cell หนึ่ง หรือเปลี่ยน TC แตอยูภายใน Cell เดิม โดยไมขัดจังหวะการสนทนา สามารถ
ทําไดโดยการเปรียบเทียบ Signal Strength กับ S/N วาอยูต่ํากวาระดับที่กําหนดหรือไม
การ Hand Over มีอยู 2 แบบ
2.1. การ Hand Over ภายใน Cell
2.2. การ Hand Over ระหวาง Cell
3. Roaming
หรือ Up-Date นระบบตรวจสอบและ Up-Date
ต่ําแหนงปจจุบันของโทรศัพทเคลื่อนที่ ( MS )
Location เป
รูปที่ 26 หลักการ Hand Over
20
รูปที่ 27 หลักการ Roaming
เทคนิคของระบบเซลลูลาร
เนื่องจากระบบเซลลูลารนั้นมีจุดประสงคในการใชทรัพยากรอันจํากัดของแถบความถี่
วิธีการซึ่งชวยในการแกปญหาตาง ๆ ของ ระบบเซลลูลารเปนขอมูลที่นาศึกษามาก การศึกษา
เทคนิคของระบบเซลลูลารสามารถพิจารณาแบงออกไดเปน 5 สวนดวยกันดังตอไปนี้
1. หลักการของชองสัญญาณที่ใชความถี่ซ้ํา (Frequency Reuse Channel)
2. ปจจัยในการลดสัญญาณรบกวนของชองสัญญาณขางเคียง (Co-channel
interference reduction factor)
3. คาอัตราสวนของสัญญาณพาหะตอสัญญาณรบกวนที่ตองการ (Carrier to
interference ratio)
4. ขั้นตอนในการทําแฮนดโอเวอร (Hand Over Procedure)
5. การแบงเซลล (Call Spliting)
การออกแบบการติดตั้งสถานีฐาน
การติดตั้งสถานีฐานจะตองมีการวางแผนการติดตั้งที่ดีเพื่อที่จะใหไดพื้นที่บริการที่เหมาะสม
กับปริมาณความตองการใชงาน และเพื่อลดผลของสัญญาณรบกวนจากโคแชนเนบอินเตอร
เฟอเรนซ ขั้นตอนการออกแบบเซลลอาจสรุปไดคราว ๆ ดังตอไปนี้
1. การวิเคราะหความตองการใชงานและพื้นที่ที่ตองการไดรับการบริการ
2. คํานวณหาปริมาณความตองการใชชองสัญญาณหรือที่เรียกวาการจราจร (Traffic)
3. วางแผนการติดตั้งเซลลตามตําแหนงของสถานที่ตาง ๆ
4. ประมาณขนาดของเซลลที่จะใชงานและผลของสัญญาณรบกวนที่จะเกิดขึ้น
5. สงทีมออกไปสํารวจและจัดหาสถานที่ในบริเวณใกลเคียงกับตําแหนงที่วางแผนไว
21
6. นําเครื่องมือวัดไปวัดสัญญาณในพื้นที่นั้น เพื่อจะจัดหาความถี่ที่เหมาะสมกับพื้นที่ดังกลาว
7. รวบรวมขอมูลของความถี่และตําแหนงของสถานีฐานที่จะติดตั้งทั้งหมด และนํามาสรุป
เปนแผนสุดทาย
8. ติดตั้งสถานีฐาน
9. ทําการปรับระบบ เชน หากความถี่ที่เปดขึ้นในงานมีปญหาสัญญาณรบกวนก็ตองทําการ
เปลี่ยนแปลงสัญญาณใหม และทําการ ปรับคาพารามิเตอรตาง ๆ เชน การทําแฮนดโอเวอร
10. เมื่อปริมาณความหนาแนนการใชงานมากขึ้น จํานวนชองสัญญาณที่กําหนดไวในชอง
แรกไมเพียงพอ ทําใหตองมีการเพิ่มสัญญาณ ความถี่ หรืออาจตองทําการติดตั้งสถานีฐานใหม
เพิ่มขึ้น ดังนั้นจึงตองไปเริ่มในขอที่ 1 ใหม การทํางานของหนวยงานแผนเซลลจะเปนงานที่
ตองวางแผนไปเรื่อย ๆ เปนวงรอบเพราะระบบมีการขยายอยูตลอดเวลา จากขั้นตอน ขางตน
หลังจากการวิเคราะห ขอมูลที่ระบบจําเปนตองใชในการวางแผนก็คือ
1. ความจุของเซลล ซึ่งหมายถึงจํานวนชองสัญญาณที่ตองการ
2. ขนาดของพื้นที่ใหบริการ หมายถึงรัศมีของเซลล
3. คุณภาพของการใหบริการที่เรียกวา เกรด ออฟ เซอรวิส (GOS:Grade Of
Service)
4. ความถี่ที่สามารถใชงานไดในพื้นที่ดังกลาว
5. คุณภาพของเสียง
6. การขยายระบบในอนาคต
การประยุกตใชงานของระบบโทรศัพทเคลื่อนที่
1. SOLOMON USB GPRS Modem + WLAN โมเด็มไรสาย ออนไลนได
ทุกที่
22
SOLOMON USB GRPS Modem อุปกรณรับสงขอมูลผานเครือขายมือถือ
สามารถรับสงดวยความเร็วสูงสุด 115.2kbps. ทําใหผูที่ใชงาน Notebook สามารถ
ติดตอสื่อสาร และทํางานนอกสถานที่ไดอยางสะดวกสบาย ไมวาจะเปนการทองโลกอินเตอรเน็ต
รับสงอีเมล รวมกับการใชงานของ coperate email (ผานทางโปรแกรม out look
express, MS outlook ) พรอมดวยขนาดที่เล็กมาก และน้ําหนักเบาสุดๆ ติดตั้งงายๆ ตอผาน
USB port ทําใหคุณๆ ที่ตองการติดตอสื่อสารผานอินเตอรเน็ต สามารถพกพา ไดงายๆสบายๆ
Solomon USB WLAN + GPRS Modem SCWi275u
Modem ไรสาย online ไดทุกที่ และยังใชงานกับ Wi-FI
ปจจุบันการใชงานอินเทอรเน็ตนั้น นับวาไดรับความนิยมเปนอยางสูง ทั้งจากการใชงาน
สําหรับผูใชงานตามบานเรือน ที่พักอาศัยหรือผูใชงานตามองคกร ตางๆ แตขอจํากัดของการใชงาน
อินเทอรเน็ตจําเปนที่จะตองอาศัย สายนําสัญญาณ เชน สายโทรศัพทเพื่อเชื่อมตอเขากับโครงขายของผู
ใหบริการ ISPs (Internet Service Provider) ที่เรารูจักกัน แตดวยพัฒนาการทาง
เทคโนโลยีที่กาวหนาขึ้นเรื่อยๆ ทําใหทุกวันนี้ มีการใชงานอินเทอรเน็ตเขากับระบบ โครงขาย
โทรศัพทเคลื่อนที่ ซึ่งไดรับการพัฒนาจนสามารถรองรับ การแลกเปลี่ยนขอมูลความเร็วสูงได การใช
งาน อินเทอรเน็ตไดจากทุกๆ ที่จึงกลายเปนทาง เลือกที่อํานวยความสะดวก สําหรับผูที่ตองการเขาถึง
ขอมูลโดยไมมีเรื่องของสถานที่เปนตัวกีดกั้น
SOLOMON SCWi275u USB WLAN + GPRS Modem เปน
อุปกรณที่ออกแบบมาเพื่อ ตอบสนองไลฟสไตลอันไรขีดจํากัด ดวยความ สามารถที่ทํางานเปนโมเด็ม
แบบไรสายซึ่งรองรับ การใชงานอินเทอรเน็ตผานโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ ที่มีอยู โดยรองรับการ
ทํางานบนระบบโครงขาย GSM/GPRS ทั้งความถี่ GSM900/1800MHz พรอมใหความ
คุมคาในแบบทวีคูณ ดวยการสนับสนุน การเชื่อมตออุปกรณตาง ๆ ผานระบบเครือขาย ไรสาย
มาตรฐาน IEEE 802.11b ซึ่งใหอัตราความเร็วในการแลกเปลี่ยนขอมูลสูงสุด 11Mbps
23
SOLOMON SCWi275u จึงเปรียบเสมือนสํานักงานเคลื่อนที่ที่ติดตัวคุณไปทั่วทุก
หนแหง ชวยใหคุณไมพลาดนัดหมายสําคัญในโลกธุรกิจ พรอม เสมอสําหรับเขาถึงขอมูลอันมีคาที่ให
คุณกาวล้ํานํา คูแขง เชื่อมโยงโลกของการสื่อสารทั้งสัญญาณเสียงและสัญญาณขอมูลใหเปนหนึ่ง
เดียวกัน
รับสง E- Mail, จัดสง SMS ไปยังโทรศัพทมือถือ
สามารถรับสง E- Mail ผานเว็บบราวเซอรไดโดยงาย รองรับการจัดสงขอความสั้น ๆ ในแบบ
SMS ไปยังโทรศัพทมือถือจากเครื่องคอมพิวเตอร
ติดตั้งและใชงานไดงาย ดวยพอรต USB มาตรฐาน 1.1 จึงรองรับการติดตั้งเขากับเครื่อง
คอมพิวเตอรแบบโนตบุกและพีซีไดงาย สนับสนุนการถายโอน ขอมูลดวยความเร็วสูง โดยมาพรอมกับ
สายเชื่อมตอ USB 1 เสน พรอมคูมือการใชงาน ซีดีรอมไดรเวอรซึ่งสนับสนุนการทํางานดวย
โปรแกรม SOLOMON GPRS Manager ที่ทํางานบนระบบปฏิบัติการ Windows
98SE, ME, 2000 และ Windows XP จึงชวยใหบริหารจัดการการ ทํางานเปนเรื่องงาย
และสะดวกสบายยิ่งขึ้น
ทองอินเทอรเน็ตไรสายอยางไรพรมแดนดวย GPRS
USB WLAN+GPRS Modem ใชพอรต USB ในการเชื่อมตอ, เพียงแตคุณ ใสซิมและ
ตอโมเด็มเขากับคอมพิวเตอรโนตบุก หรือเดสท็อป ที่มี USB Port คุณก็สามารถเชื่อมตอ
อินเทอรเน็ตผานเครือขาย GSM ได. คุณสามารถทําไดทั้งรับสงอีเมล เขาเว็บไซต เพื่อดูขาว ดูหุน
หรือดูทิศทางของตลาด, ธุรกิจของคุณจะคลองตัวขึ้น คุณจะไมพลาดขาวสารสําคัญที่มีผลตอธุรกิจของ
คุณ แลวทุกอยางจะอยูในมือคุณ
เชื่อมตอเขาระบบ Wi-Fi Internet
สําหรับ USB WLAN+GPRS Modem ยังสามารถเชื่อมตอเขาระบบ Wi-Fi
Internet เชน SHIN HOTSPOT ไดโดยจะมีการรับสงสัญญาณ จากครือขายไรสาย ซึ่งจะ
อยูตามจุดพื้นที่ที่ใหบริการเทานั้น อาทิ หางสรรพสินคา รานกาแฟ (Starbuck) สนามบินและใน
ยานธุรกิจ
เชื่อมตอเขากับระบบเน็ตเวิรกขององคกรงาย ๆ ดวย Wireless LAN
เนื่องจาก SOLOMON SCWi275u ไดรวมเอา Wireless LAN เขาไวดวยกันและ
รองรับมาตรฐาน IEEE 802.11b/11Mbps เพียงแคองคกร ของคุณใชงานอยู และเพียงคุณ
เลื่อนสวิตซการทํางานไปที่ปุม W คุณก็สามารถเชื่อมตอเขากับระบบ เน็ตเวิรกไดทันที
24
รูปภาพแสดง Solomon USB GRPS Modem + Wireless LAN
SCWi275u
Technical Specification:-
รายละเอียดอุปกรณ:
GPRS:
ความถี่: T
85
win Dual Band GSM900/1800 MHz; GSM
0/1900MHz
เครือขาย: G
G
SM850 0.8W, E-GSM 2W, GSM1800 1W,
SM1900 1W
การบีบอัดขอมูล: MNP 5 & V.42bis
มาตรฐานการสง
ขอมูล:
G
pe
PRS Class B, Multi-slot Class 8 (4 down/1 up/5
r frame), Up to 64Kbps
การตรวจแก
ขอผิดพลาด:
End to end MNP 2-4; LAPM (V.42) & RLP
SIM Card ที่
ใชได:
3V/1.8V
ความสามารถ: Internet, E-mail; Fax (Via Internet)
GSM/ISDN: According to V.110
25
ความตองการ
ระบบ:
W
ฮ
indows XP/2000/ME/98SE และพื้นที่วาง 30 MB บน
รดดิสกา
กระแสไฟ: S
cu
tandby current 20mA, Average 300mA, Max
rrent 460mA
Wireless
LAN :
มาตรฐานการสง
ขอมูล :
IEEE 802.11b/11Mbps
สถาปตยกรรม
เครือขาย:
สน
In
ne
ับสนุน Ad-Hoc (Peer-to-peer without AP) และ
frastructure Modes (Communication to wired
tworks via AP with roaming)
ชวงความถี่: 2.
B
400 ~ 2.4835 GHz (Industrial Scientific Medical
and)
มอตดูเลชั่น : C
B
CK@11/5.5Mbps, QPSK@2Mbps,
PSK@1Mbps
เทคโนโลยี
D
คลื่นวิทยุ :
irect Sequence Spread Spectrum (DSSS)
ระบบความ
64
ปลอดภัย :
/128 Bits WEP Data Encryption
กระแสไฟ:
ไมเกิน 290mA ( ชวงเปดเครื่องไมมีการโอนถายขอมูล) , ไมเกิน
45 ีการโอนถายขอมูล)0mA ( ชวงม
Transmit
Power:
18dBm
Receive
Sensitivity:
r -8
dB bps, -92 dBm@1Mbps
4 dBm@11Mbps, -87 dBm@5.5Mbps, -90
m@2M
Range
Coverage:
Open space 100m - 400m, Indoor space 30m - 100m
LEDs: Link, Activity
26
*Option: 64 or 128MB NAND Flash abailable..
รายละเอ ั่วไป เกี่ยวก :ียดท ับอุปกรณ
น้ําหนัก: 3 กรัม.( 1.16 oz)
ขนาด (กวาง x ยาว
x สูง):
3
นิ้ว x 2.95 นิ้ว (ไมรวมเสาสัญญาณ) x 0.57 นิ้ว.
7 มิลิเมตร x 75 มิลิเมตร ( ไมรวมเสาสัญญาณ) x 14.5 มิลิเมตร 1.45
าเข
อุปกรณชารจ: ไมตองการ
การเชื่อตอ: มาตรฐาน USB 1.1
3
ภาษา: English, Simplified Chinese, Traditional Chinese
กําลังไฟฟ า: USB 5V
อุณหภูม 14~131 (-10~55 )ิ:
Humidity: 0-95% (Non-condensing)
2. ERICSSON Fixed Cellular Terminal
คือ โทรศัพทเคลื่อนที่แบบติดตั้งประจําที่ ที่สามารถใชงาน รวมกับ โทรศัพท โทรสาร
คอมพิวเต ํานักงาน ที่พักอาศัย
หรือภายในธุรกิจ ดวยเทคโนโลยี ของ ERICSSON SWEDEN ทําให ERICSSON
FCT
อร และเครื่อง รูดบัตรเครดิต เพื่ออํานวยความสะดวกภายในส
เปนอุปกรณที่สมบูรณทั้งคุณภาพ และประสิทธิภาพในระบบ GSM900 (AIS),GSM1800
(DTAC,TA Orange,GSM1800) และ GSM1900 (Thai mobile)
27
ประโยชนหลักของ ERICSSON Fixed Cellular Terminal
ทํา
ถึง , คูสายมีไมเพียงพอกับความตองการ ,
ร อพารตเมนท หรือบนยานพาหนะ
ลื่อนที่เปนประจํา เชน ไซดงานกอสราง งานนิทรรศการตาง ๆ
รใชงานของ ERICSSON Fixed Cellular
ัย หรือ ติดตั้งไดหลา
ดวยคุณสมบัติ Triple Band จึงรองรับได 3 ยานความถี่ คือ
GSM900,GSM1800,GSM1900
1. ชวยประหยัดคาโทรทางไกลภายในประเทศ และคาโทรเขามือถือ เมื่อติดตั้งรวมกับตู PABX
ใหควบคุม คาใชจายภายในองคกรได (ขึ้นกับโปรโมชั่นของซิมการดที่เลือก)
2. เหมาะกับการติดตั้งในพื้นที่ที่คูสายโทรศัพทเขาไม
ทในกรณีเรงดวน3. ตองการติดตั้งโทรศัพ
4. ชวยอํานวยความสะดวกในการติดตอสื่อสาร
5. สามารถติดตั้งไดงาย
6. ติดตั้งไดทุกที่ ทั้งที่พักอาศัย สํานักงาน โรงงาน โรงแรม ธนาคา
น เรือ รถยนต หรือสํานักงานที่ตองเช
เค
ตัวอยางรูปแบบกา
Terminal
1.การติดตั้งสําหรับที่พักอาศ บานพักตากอากาศ สามารถ ยลักษณะ เชน
ติดตั้งเปนโทรศัพทสายตรง
(สําหรับรุน : F220m ,F
ติดตั้งเปนโทรสารสายตรง
ติดตั้งเพื่อใชงานกับคอมพิวเตอร
(สําหรับรุน : F221m ,
(สําหรับรุน : F221m , F251m)
221m ,
F250m , F251m) F251m)
28
ประโยชน
1.เหมาะกับพื้นที่ที่อยูนอกเขตใหบริการของชุมสายโทรศัพทพื้นฐาน
ลาในการรอขอติดตั้งคูสายโทรศัพท
ตองรอการเดินสาย
รือโทรเขามือถือตางพื้นที่
ใชงานไดทั้งการตอพวงกับ โทรศัพท , โทรสาร , คอมพิวเตอร (GPRS) (ขึ้นอยูกับคุณสมบัติ
2.บริษัท สํานักงาน โรงเรียน โรงแรม หรือผูประกอบธุรกิจ สามารใชงานจาก ERICSSON
2.ตัดปญหากับการเสียเว
สามารถเพิ่มคูสายไดรวดเร็ว ไม
3.คุณภาพเสียงคมชัด
4.ติดตั้งหรือเคลื่อนยายไดงาย
5.ชวยประหยัดคาโทรทางไกลตางจังหวัด ห
6.
ของ ERICSSON FCT แตละรุน)
FCT ไดหลายลักษณะ เชน
การติดตั้งภายในบริษัท เพื่อใชงานกับเครื่องโทรศัพท สามารถติดตั้งได 2 ลักษณะ คือ การติดตั้งเปนโทรศัพทสาย
งผาน
พท (PABX) สามารถใช F250m , F251
รุนที่ใชได คือ วเตอร คือ รุน
ตรง หรือที่
นิยมคือ การติดตั้
ตูสาขาโทรศั งานไดทุกรุน คือ F220m , F221m , m
ติดตั้งกับโทรสาร F221m F251m ติดตั้งกับคอมพิ F221m , F251m
29

ือถือ
2.เหมาะกับบริษัทท ดตองาน
เปนประจํา
3.สามารถเพิ่มคู
4.คุณภาพเสียงคมช
5.งายในการติดตั้
3. รองรับการทํ
เรือภัตตาคาร, เรือขนสงสินคา, เรือตรวจราชการ, เรือประมง ฯลฯ
ประโยชน
1.ชวยประหยัดคาโทรศัพทสําหรับบริษัทขนาดใหญที่มีการโทรติดตอตางจังหวัด หรือโทรเขาม
ตางพื้นที่เปนประจํา
ี่มีสํานักงานใหญและสํานักงานสาขาอยูกันคนละจังหวัด และตองมีการติ
สายไดรวดเร็ว ไมตองรอการเดินสาย
ัด
งและใชงาน
างานไดทั้งการติดตั้งอยูกับที่และพาหนะเคลื่อนที่ เชน รถยนต , เรือสําราญ ,
เรือยอรช ,
ประโยชน
ทําใหไมขาดการติดตอสื่อสาร
ใชงานไดทั้งไดกับทั้งโทรศัพท , เครื่องโทรสาร , คอมพิวเตอร (GPRS) ขึ้นอยูกับคุณสมบัติของ
RICSSON FCT แตละรุน
3.สะดวกตอการติดตั้งและเคลื่อนยาย
4.คุณภาพเสียงคมชัด
1.
2.
E
30
5.สามารถเพิ่มเสาอากาศพิเศษชวยในการดึงสัญญาณใหชัดเจนยิ่งขึ้น
4.เชื่อมตอกับเครื่องโทรศัพท โทรสาร เครื่องคอมพิวเตอร เพื่อใชงานภายใน
ที่พักอาศัย และส โดยใช
โปรโมชั่นของโทรศ
ใชงานตอ
กับ เครื่องรูดบัตรเครด
การทดสอบและร งาน
รวมกับ
ํานักงาน ที่ไมมีคูสายโทรศัพทเขาถึง หรือตองการประหยัดคาโทรศัพท
ัพทเคลื่อนที่แลว
ERICSSON Fixed Cellular Terminal F221m ยังสามารถประยุกต
ิต HYPERCOM รุน ICE5500 ซึ่งไดรับ
ับรองจาก Hypercom (Thailand) Co., Ltd. วาสามารถใช
ERICSSON F221m ไดเปนอยางดี
ูสายโทรศัพท เชน โรงแรม และ รีสอรท ตามหมู
สนามกอลฟ ,
ตตาคารบนเรือ , ออกบูธแสดงสินคาตางๆ
อํานวยความสะดวกใหกับลูกคา ในการชําระเงินโดยใชบัตรเครดิต
เพิ่มยอดขายสินคา บริการ ผานการชําระเงินโดยใชบัตรเครดิต
สามารถใชตอกับโทรศัพทเพื่อสนทนา , ตอกับเครื่องโทรสารเพื่อใชรับ สง เอกสาร , ตอกับ
อมพิวเตอร เพื่อรับสงขอมูล หรือ ตอ Internet
ยใช GPRS
ประโยชน
1.สามารถใชตอเครื่องรูดบัตรเครดิต ในพื้นที่ที่ไมมีค
เกาะ หรือ ปาเขา ,
ภั
2.
3.
4.
ค
โด
31
เอกสารอางอิง
1. อมรชัย ชัยชนะ เอกสารประกอบการเรียนวิชาวิศวกรรมโทรศัพท คณะครุศาสตรอุตสาหกรร
สจล.
ม
2. สมชาย หมื่นสายญาติ เอกสารประกอบการเรียนวิชา MOBILE คณะครุศาสตร
sit2001/work1.html
ine/february45/it/comnet.html
.
ttp://mobile.siam2you.com/zone_wireless/wireless_basic/index_b
sic.asp?thread=main_telecom
0.
http://mobile.siam2you.com/zone_wireless/wireless_basic/index_b
asic.asp?thread=main_telecom
อุตสาหกรรม สจล.
3. http://www.sut.ac.th/engineering/Telecom/mobilethai/#3
4.
http://www.sut.ac.th/engineering/Telecom/mobilethai/00001_2.ht
m#4
5. h
6.
ttp://www.geocities.com/ni
http://www.geocities.com/nisit2001/work2.html
7. http://www.geocities.com/nisit2001/work4.html
8. http://www.ku.ac.th/e-magaz
9
h
a
1

More Related Content

Viewers also liked

Elfogadott adóváltozások 2017
Elfogadott adóváltozások 2017Elfogadott adóváltozások 2017
Elfogadott adóváltozások 2017Accace
 
[LT]モグラたたきを作った時のLTのスライド
[LT]モグラたたきを作った時のLTのスライド[LT]モグラたたきを作った時のLTのスライド
[LT]モグラたたきを作った時のLTのスライドkuzuniku
 
Labour Law and Employment in Ukraine - 2017 Guide
Labour Law and Employment in Ukraine - 2017 GuideLabour Law and Employment in Ukraine - 2017 Guide
Labour Law and Employment in Ukraine - 2017 GuideAccace
 
Asean network on governance
Asean network on governanceAsean network on governance
Asean network on governanceAgus Dwiyanto
 
Lunawat Bulletin for October 2016
Lunawat Bulletin for October 2016Lunawat Bulletin for October 2016
Lunawat Bulletin for October 2016CA. Pramod Jain
 
ios 8 - parte 2 - todo-app - ita
ios 8 - parte 2 - todo-app - itaios 8 - parte 2 - todo-app - ita
ios 8 - parte 2 - todo-app - itaDario Rusignuolo
 
Selected judgments of the European Court of Justice in the field of indirect ...
Selected judgments of the European Court of Justice in the field of indirect ...Selected judgments of the European Court of Justice in the field of indirect ...
Selected judgments of the European Court of Justice in the field of indirect ...Accace
 
Secretele aurei
Secretele aurei Secretele aurei
Secretele aurei idoraancus
 

Viewers also liked (14)

La familia
La familiaLa familia
La familia
 
Elfogadott adóváltozások 2017
Elfogadott adóváltozások 2017Elfogadott adóváltozások 2017
Elfogadott adóváltozások 2017
 
[LT]モグラたたきを作った時のLTのスライド
[LT]モグラたたきを作った時のLTのスライド[LT]モグラたたきを作った時のLTのスライド
[LT]モグラたたきを作った時のLTのスライド
 
Labour Law and Employment in Ukraine - 2017 Guide
Labour Law and Employment in Ukraine - 2017 GuideLabour Law and Employment in Ukraine - 2017 Guide
Labour Law and Employment in Ukraine - 2017 Guide
 
Asean network on governance
Asean network on governanceAsean network on governance
Asean network on governance
 
Lunawat Bulletin for October 2016
Lunawat Bulletin for October 2016Lunawat Bulletin for October 2016
Lunawat Bulletin for October 2016
 
Cancer article
Cancer articleCancer article
Cancer article
 
Steman
StemanSteman
Steman
 
ios 8 - parte 2 - todo-app - ita
ios 8 - parte 2 - todo-app - itaios 8 - parte 2 - todo-app - ita
ios 8 - parte 2 - todo-app - ita
 
Selected judgments of the European Court of Justice in the field of indirect ...
Selected judgments of the European Court of Justice in the field of indirect ...Selected judgments of the European Court of Justice in the field of indirect ...
Selected judgments of the European Court of Justice in the field of indirect ...
 
Carey
CareyCarey
Carey
 
Secretele aurei
Secretele aurei Secretele aurei
Secretele aurei
 
ctdt report
ctdt reportctdt report
ctdt report
 
Week9
Week9Week9
Week9
 

Similar to Mobile

ประโยชน์ของ Mobile จากอดีตถึงปัจจุบัน
ประโยชน์ของ Mobile จากอดีตถึงปัจจุบันประโยชน์ของ Mobile จากอดีตถึงปัจจุบัน
ประโยชน์ของ Mobile จากอดีตถึงปัจจุบันjamejudy
 
Nectec ntc wi-max_frequency_report_for_thailand
Nectec ntc wi-max_frequency_report_for_thailandNectec ntc wi-max_frequency_report_for_thailand
Nectec ntc wi-max_frequency_report_for_thailandtaweesakw
 
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)Aqilla Madaka
 
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารLesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารAqilla Madaka
 
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407Pitchayut Wongsriphuak
 
NECTEC-NTC_WiMAX_Frequency_Report_For_Thailand.pdf
NECTEC-NTC_WiMAX_Frequency_Report_For_Thailand.pdfNECTEC-NTC_WiMAX_Frequency_Report_For_Thailand.pdf
NECTEC-NTC_WiMAX_Frequency_Report_For_Thailand.pdfPawachMetharattanara
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์suchai mechai
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ 700 MHz Future broadband
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   700 MHz Future broadbandพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   700 MHz Future broadband
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ 700 MHz Future broadbandwww.nbtc.go.th
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ 700 mhz future broadband
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   700 mhz future broadbandพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   700 mhz future broadband
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ 700 mhz future broadbandSettapong Malisuwan
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ 700 MHz future broadband
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   700 MHz future broadbandพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   700 MHz future broadband
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ 700 MHz future broadbandSettapong-Broadband
 
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404Wanz Buranakanonda
 

Similar to Mobile (20)

ประโยชน์ของ Mobile จากอดีตถึงปัจจุบัน
ประโยชน์ของ Mobile จากอดีตถึงปัจจุบันประโยชน์ของ Mobile จากอดีตถึงปัจจุบัน
ประโยชน์ของ Mobile จากอดีตถึงปัจจุบัน
 
Connect1
Connect1Connect1
Connect1
 
Nectec ntc wi-max_frequency_report_for_thailand
Nectec ntc wi-max_frequency_report_for_thailandNectec ntc wi-max_frequency_report_for_thailand
Nectec ntc wi-max_frequency_report_for_thailand
 
3 g
3 g      3 g
3 g
 
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)
 
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารLesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
 
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
NECTEC-NTC_WiMAX_Frequency_Report_For_Thailand.pdf
NECTEC-NTC_WiMAX_Frequency_Report_For_Thailand.pdfNECTEC-NTC_WiMAX_Frequency_Report_For_Thailand.pdf
NECTEC-NTC_WiMAX_Frequency_Report_For_Thailand.pdf
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ 700 MHz Future broadband
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   700 MHz Future broadbandพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   700 MHz Future broadband
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ 700 MHz Future broadband
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ 700 mhz future broadband
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   700 mhz future broadbandพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   700 mhz future broadband
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ 700 mhz future broadband
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ 700 MHz future broadband
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   700 MHz future broadbandพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   700 MHz future broadband
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ 700 MHz future broadband
 
Ethernet
EthernetEthernet
Ethernet
 
Truecorporation
TruecorporationTruecorporation
Truecorporation
 
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
 
Network equipment
Network equipmentNetwork equipment
Network equipment
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
7
77
7
 

Mobile

  • 1. 1 โครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่เซลลูลาร วิวัฒนาการ ของระบบโทรศัพทเคลื่อนที่เซลลูลาร พ.ศ. 2524 Cellular ระบบแรกคือ NMT450 MHz (Nordic Mobile Telephone) ประเทศในแถบสแกนดิเนเวีย (นอรเวย สวีเดน และฟนแลนด) 2526 ระบบ AMPS 800 MHz (Advance Mobile Phone System) ไดกําเนิดขึ้น ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา 2527 ระบบ TACS (Total Access Communication System) ประเทศอังกฤษ (ดัดแปลงจากระบบ AMPS 800 เปน AMPS 900 MHz) 2529 ระบบ NMT 900 MHz ประเทศนอรเวย, สวีเดน, ฟนแลนด วิวัฒนาการ ของระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ Digital พ.ศ. 2530 GSM (Global System for Mobile Communication) เกิดขึ้นในกลุมประเทศยุโรป (MoU) ADC (American Digital Cellular) ประเทศสหรัฐอเมริกา พัฒนา จากระบบ AMPS DCS 1800 (Digital Cellular System 1800 MHz) ประเทศอังกฤษ 2537 PDC (Pacific Digital Cellular) ประเทศญี่ปุน
  • 2. 2 วิวัฒนาการ ของระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทย พ.ศ. 2525 เริ่มใช NMT4 (ตอมาหยุดชะงัก เนื่องจากเปนระบบที่ลาสมัย คนไมนิยมใช) 2530 กสท. เปดใหบริการ ระบบ AMPS 800 MHz (Band A) 2533 AIS รับสัมปทานจากองคการโทรศัพท 20 ป ใหเปดบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ระบบ NMT 900 MHz 2534 TAC ไดรับสัมปทานจาก กสท. 22 ป ใหเปดบริการระบบ AMPS 800 MHz (Band B) 2537 ระบบ Digital มีใชงานในประเทศไทย มีผูดําเนินการ 2 ราย คือ 1. AIS ใหบริการระบบ GSM 900 2. TAC ใหบริการระบบ PCN 1800 (Personal Communication Network 1800MHz) TAC โอนงานบางสวนให แก บริษัท Wireless Communication Service (WCS) และ บริษัท Digital Phone Co.Ltd. (DPC) 2540 GSM 1800 คือ HELLO 1800 เดิม AIS ไดรับมาดําเนินการ โดยใช เครือขายเดิม และโรมมิ่ง ดวย GSM แตประสิทธิภาพไมดีเมื่อออกตางจังหวัด เหมาะที่จะ ใชใน กรุงเทพ ระบบการทํางานของ Digital GSM 1800 จะใชงานไดจาก 2 เครือขาย 1.เครือขาย DPC ซงครอบคลุมพื้นที่สวนใหญของกทม. ขณะนี้ 2.เครือขายรวม (Roaming) เมื่อผูใชบริการนําโทรศัพท ไปใชนอกเครือขาย DPC ซึ่ง ึ่ หมายถึงเขตปริมณฑลและตางจังหวัด ขณะนี้ DPC เปด โรมมิ่งกับเครือขาย T A C ซึ่งใช ความถี่เดียวกัน คือ 1800 MHz และเมื่อ D P C เริ่มโรมมิ่งกับเครือขาย A I S ซึ่งใชความถี่ 9 0 0 MHz โทรศัพทที่ใชเปน ระบบ DUAL BAND ซึ่งจะคนหาคลื่นโดย อัตโนมัติ
  • 3. 3 2541 กสท. ปรับปรุงระบบแอนะล็อก AMPS 800 MHz (Band A) เปนระบบ ดิจิตอล CDMA ยาน ความถี่ 800 MHz (CDMA 800) จํานวน 2 ลานเลขหมาย 2544 ระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ดิจิตอล 1900 MHz ดําเนินงานโดย บวท.ทศท และ กสท. ถูกพัฒนาขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา มีชื่อเรียกวา Personal Communication Service (PCS) ปจจุบันมีอยู 3 เทคโนโลยีที่เปนทางเลือกคือ GSM 1900, IS-95 CDMA และ IS-136 TDMA 2544 TA Orange (TAO) เปดใหบริการระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ดิจิตอล GSM 1800 MHz 2545 กิจการรวมคา THAI MOBILE บ. ทศท. คอรปอเรชั่น จก.(มหาชน)กับ บ. กสท. โทรคมนาคม จก.(มหาชน) เปดใหบริการเครือขาย GSM 1900 MHz 2546 บ. ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส จก. (Huthinson CAT Wireless) เปดใหบริการ ระบบ CDMA ความถี่ 800 MHzภายใตชื่อ HUTCH แตไดรับสัมปทานในพื้นที่ เพียง 23 จังหวัด (รวมกรุงเทพฯ และ ปริมณฑล) การทํางานของระบบเซลลูลาร ระบบเซลูลารใชเทคโนโลยีการสื่อสารไรสายเปนหัวใจสําคัญ โดยจัดพื้นที่ใหบริการตางๆกับ พื้นที่ดังกลาวจะถูกเรียกวา "เซลล"(cell)"ในการติดตอขอมูลของสัญญาณควบคุมและสัญญาณเสียง จะถูกสงดวยสัญญาณพลังงานคลื่นวิทยุระดับต่ํา ขึ้นไปในอากาศ แลวสงไปยังสถานียอยที่ใกลที่สุด โดยสถานีดังกลาวจะเชื่อมตออยูกับชุมสายโทรศัพทเซลูลาร ที่จะเปนเสมือน ตัวควบคุม และคอยสลับ สายสัญญาณชองสนทนา ซึ่งตอกันเปนระบบโครงขายของโทรศัพทเคลื่อนที่ สัญญาณเสียงนี้ จะถูกสง ตอไปยังชุมสายโทรศัพท ขององคการโทรศัพท หากผูรับปลายทางเปนโทรศัพทตามสถานที่ทํางาน หรือตามบาน หรือ อาจตอไปยังชุมสายโทรศัพทเคลื่อนที่ ของอีกระบบหนึ่งเมื่อผูรับปลายทางเปน เครื่องโมบายล ขั้นตอนการทํางานขางตนมีความสําคัญ สําหรับระบบเซลลูลารมากเพราะเปนวิธีทําใหการ สนทนาเปนไปไดอยางตอเนื่อง ไมถูกขัดจังหวะเมื่อลูกขายเคลื่อนที่ไปดวย นั่นคือเทคนิคที่เรียกวา ( แฮนดออฟ ) Hand off หรือ อาจเรียกวา( แฮนโอเวอร ) Hand over ในขณะสนทนาคู สนทนาทั้งสองฝายจะอยูบนชองสัญญาณเสียง ( Voice channel ) ที่สถานีฐานจะกําหนดให เมื่อ
  • 4. 4 ลูกขายเดินทางออกไปนอกพื้นที่ใหบริการของสถานีแรก การรับและสงสัญญาณระหวางตัวเครื่องกับ สถานีฐานเริ่มออนลง สถานีแรกก็จะทําการขอแฮนโอเวอร ไปยังชุมสายถาในสถานีถัดไปมี ชองสัญญาณ ระบบก็จะทําการสลับชองสัญญาณเสียง ไปยังสถานีใหม โดยจะไมมีการขัดจังหวะการ สนทนาของผูใชเกิดขึ้นและหากลูกขายเคลื่อนที่ออกไปนอกพื้นที่ใหบริการตามปกติ เครื่องลูกขายก็ ยังคงสามารถโทรไดหากในบริเวณดังกลาว มีสถานีฐานติดตั้งอยู การที่เครื่องลูกขายเดินทางไปใน พื้นที่ตางๆ อยางไมสามารถคาดคะเนไดจะถูกเรียกวา โรมมิ่ง ( Roaming ) สวนประกอบและคุณสมบัติของระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ Component & Characteristics for Mobile Telephone System องคประกอบพื้นฐานของระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ ประกอบดวย 1. โทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobile Station : MS)ประกอบดวย SIM+IMEI โดย MS ทําหนาที่เปลี่ยนสัญญาณเสียงพูดเปนขอมูลดิจิตอลและทําการมอดูเลตขอมูลนั้นออก อากาศ ดวยคลื่นความถี่สูงไปยังสถานีฐาน และในทางกลับกันทําหนาที่รับสัญญาณคลื่นความถี่สูงจากสถานี ฐานแปลงเปนสัญญาณ เสียงพูด และชุมสายกับมือถือจะไดรับ 3 ความถี่ 1.Up-link 2. Down-link 3.การเพิ่มกําลังสง 2. สถานีฐาน (Base Station : BS:BSC)ทําหนาที่ติดตอสื่อสารกับโทรศัพทเคลื่อนที่ โดยใชความถี่วิทยุซึ่งหนึ่งความถี่สามารถรองรับวงจรการ สื่อสารกับโทรศัพทเคลื่อนที่ และสวน ควบคุมสถานีฐาน (Base Station Controller)ทําหนาที่ควบคุมการทํางานของสถานีฐาน หลาย ๆ สถานี (BTS) และยังเปน ตัวกลางในการสงผานสัญญาณเสียงและสัญญาณควบคุมระหวาง สถานีฐานและชุมสายโทรศัพทเคลื่อนที่ ไดแก - เก็บรักษาขอมูลประจําเซลลตางๆ เชน ความถี่ Output power - ตัดสินใจสั่งการ Hand over ไปยัง MS แตละเครื่อง - วัดสถิติของ Traffic ในเวลาตางๆ - สั่งการ BTS ใหสงสัญญาณที่จําเปน ในการทํา Cell Set Up - คํานวณและสั่งการให BTS และ MS ปรับกําลังสงใหเหมาะสม 3. ชุมสายโทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobile Telephone Exchange or Mobile Switching Center:MSC)ทําหนาที่ควบคุมการสนทนา โดยรับผิดชอบในการสรางวงจร สื่อสารตาม คําขอของผูใชบริการ รักษาสภาพของวงจร และปลดวงจรสื่อสารเมื่อเลิกใชงาน นอกจากนี้ ใหสวนของชุมสาย ยังมี การเก็บขอมูลของผูใชบริการเพื่อใชในการตรวจสอบกอนจะใหบริการ
  • 5. 5 ผูใชบริการแตละราย ชุมสาย เชื่อมตอกับชุมสาย ของระบบโทรศัพทอื่น ๆ เชน เครือขาย PSTN NMT หรือ TAC เพื่อใหผูใชบริการในแตละเครือขายสามารถโทรเรียกถึงกันได 4. ฐานขอมูล (Database) - Home Location Register (HLR)เก็บขอมูลตางๆ ที่เกี่ยวของกับผูใชบริการ เชนการ การปด- เปดเครื่อง การโทรออกและรับสาย บริการเสริม การใชงานครั้งสุดทาย และ HLR ติดตั้งอยูที่จังหวัดที่เปน NOTE ใหญๆ ฐานขอมูลทุกฐานจะทําการ Update ขอมูลพรอมกันจะทําใหสามารถติดตอไดเร็วขึ้น - Visitor Location Register (VLR)เปนฐานขอมูลที่ติดอยูกับ MSC เก็บ ขอมูลชั่วคราวของผูใชบริการขณะมีการใชงานอยู เชน ต่ําแหนงการใชงาน - Authentication Centre (AUC)เปนฐานขอมูลที่เปนความลับ การเขาถึงจะตองมี การใสรหัสผานดวย 5. สวนปฏิบัติการและควบคุม (Operation & Maintenance Center : OMC) เปนปฏิบัติการและควบคุมชองทาง ที่จะติดตอสื่อสารวาชองทางใหนสะดวกและเหมาะสมที่สุด เชน ไมโครเวฟ ใยแกวนําแสง และ ดูแลตรวจเช็ค CELL จุดตางๆ รูปที่ 1
  • 6. 6 รูปที่ 2 รูปที่ 1-3 สวนประกอบและคุณสมบัติของระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ รูปที่ 3 การทํางานของระบบเซลลูลาร สามารถแบงขั้นตอนการทํางานไดเปน 4 สวนดังนี้ 1. เมื่อโมบายลเริ่มเปดเครื่อง ในขณะที่เริ่มใชเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ตัวเครื่องจะทําการ ตรวจสอบพรอมกับคนหา สัญญาณจากชองสัญญาณที่มีอยูในอากาศเอง เมื่อตัวเครื่องตรวจ พบสัญญาณที่มีระดับความแรงของสัญญาณมากที่สุด ( นั่นคือสถานีฐานที่ใกลที่สุด ) ตัวเครื่อง ก็จะทําการจูนเขาหาความถี่นั้น และ หลังจากนั้นจะคงไวชั่วขณะจนกวาตัวโทรศัพท จะ เคลื่อนที่เขัาไปหาเซลลอื่น ซึ่งมีสัญญาณแรงกวา ในขั้นตอนนี้จะถูกเรียกวา เปนการคนหา ตําแหนงของตัวโมบายลเอง ( Self-location scheme ) ขั้นตอนดังกลาว เครื่องจะ จัดการเองอัตโนมัติ วิธีการดังกลาว จะเปนการชวยลดโหลด บนสายสงสัญญาณของเซลล ตางๆในการคนหาตําแหนงของโมบายล ขอเสียคือ วิธีการดังกลาวจะทําใหระบบ ไมสามารถ ทราบตําแหนงของโมบายลที่เปดใชงานอยู ในแตละเซลลไดจนกวา จะมีการเรียกเขาหา
  • 7. 7 โทรศัพทจากที่อื่นและยังทําใหระบบ ตองใชเวลามากขึ้นสําหรับการเรียกหาโมบายล การเรียก หาดังกลาวเรียกวาการ " เพจจิ้ง" ( Paging Process ) รูปที่ 4 แสดงโมบายลและสถานีฐาน 2. เมื่อผูใชโมบายลทําการโทรออก ซึ่งมีไดสองกรณี เชน โมบายลไปยังแลนดไลน และ โมบายลไปยังโมบายล หลังจาก ผูใชกดหมายเลขโทรศัพทและ ทําการกดปุม Send สัญญาณขอใชบริการ จะถูกสงขึ้นไปบนชองสัญญาณโดยจะถูกเรียกวา เซตอัพ แชนแนล ( Set-up channel ) ที่ตัวเครื่องไดจูนเขาหาชองสัญญาณไวแลว ในการคนหาตําแหนง ของตัวเอง ตัวสถานีฐาน จะหนาที่เลือกชองสัญญาณสําหรับการสนทนาขณะเดียวกันสถานี ฐานจะติดตอกับชุมสายโทรศัพทเคลื่อนที่ เพื่อทําการเชื่อมตอชองสัญญาณของผูเรียกกับผู รับเขาหากัน 3. เมื่อระบบโทรศัพทเรียกเขาหาตัวโมบายล ไดแกแลนดไลนไปยังโมบายล นั่นคือมีผูใช โทรศัพทสาธารณะทําการเรียก เขาโทรศัพทเคลื่อนที่ชุมสายโทรศัพทธรรมดา จะทราบจาก กลุมหมายเลขที่ผูใชกด เชน 01-7654321 และจะเชื่อมสัญญาณ เขาหาชุมสาย โทรศัพทเคลื่อนที่ จากนั้นชุมสายโทรศัพทเคลื่อนที่ ก็จะทําการเพจขอมูลสั้นๆเขาหา โทรศัพทเคลื่อนที่ตามขอมูล ที่มีอยูที่ชุมสายของหมายเลขนั้น และตามอัลกอริทึมในการคนหา เครื่องลูกขาย ในแตละสถานีฐานระบบจะทําการสงขอความ เรียก ( Paging Message ) ผานทางเซตอัพแชนแนล เมื่อเครื่องโมบายลรับทราบวาเปนการเรียกเขาหาตัวเองจะทําการ ติดตอกลับผานทางเซตอัพแชนแนล ที่มีระดับความแรงของสัญญาณมากที่สุด จากนั้นสถานี ฐานก็จะคนหาชองสัญญาณ ที่วางอยู ใหสามารถเชื่อมตอการสนทนาได ตัวเครื่องโมบายลจะ ทําการจูนหาความถี่ของชองสัญญาณดังกลาว ตามคําสั่ง ของสถานีฐาน 4. เมื่อสิ้นสุดการสนทนา หรือเมื่อคูสนทนาวางหู โดยผูใชเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่กดคีย สิ้นสุดการสนทนา END จะมี สัญญาณสิ้นสุดสงไปยังสถานีฐานและสงสัญญาณตอผานไป ยังชุมสายชุมสายจะยกเลิกการใชชองสัญญาณดังกลาวทั้งสองขาง สถานีฐานก็จะยกเลิก การใช ชองสัญญาณที่ใชอยูเชนกัน และตัวเครื่องโมบายลก็จะกลับไปทําการวัดสัญญาณความแรง ของเซตอัพแชนแนลอีกครั้งหนึ่ง บริการของระบบเซลลูลาร
  • 8. 8 ชนิดของบริการสําหรับระบบเซลลูลารสามารถแบงไดเปนสองแบบดวยกันดังนี้ คือ 1. เทเลโฟนนี่เซอรวิส ( Telephone services ) บริการดังกลาวหมายถึง ความสามารถตางๆที่จําเปนสําหรับลูกขาย เพื่อให สามารถสื่อสารกับลูกขายอีกเครื่องหนึ่งได ตัวอยางของเทเลโฟนนี่เซอรวิส ไดแก บริการโทรศัพทปกติ( Normal Telephon ) เปนบริการสื่อสารสองทิศทางตามปกติ รวมถึงความสามารถในการ โทรเขาและ โทรออกไปยังระบบโทรศัพทสาธารณะและระบบ เซลลูลาอื่นๆ บริการดีทีเอ็มเอฟ ( DTMF : Dual Tone Multi Frequeney ) ดีทีเอ็มเอฟ คือคลื่นที่เปนโทนของสัญญาณจะใช สําหรับการควบคุมตางๆผานทางโทรศัพท เชน รีโมต คอนโทนสําหรับเครื่องตอบรับโทรศัพทอัตโนมัติ บริการสงแฟกซ ( Faximile ) ในระบบเซลลูลารบางชนิด ไดถูกออกแบบมาใหสามาร สงขอมูลที่เปนสัญญาณ อะนาลอกของ แฟกซได บริการสงขอความ ( Short Message Services-SMS ) เปนบริการสําหรับสง ขอความตัวอักษร ขนาดจํากัด ผานไปยังเครื่องโมบายลไดโดยอาจสามารถสงจากเครื่องหนึ่ง ไปยังอีกเครื่องหนึ่งก็ได หากโมบายลเครื่องที่ออกไปนอกพื้นที่ ใหบริการหรือปดเครื่อง ขอความดังกลาวก็จะถูกเก็บไวที่ศูนยบริการขอความกอน บริการฝากขอความ ( Voice Mail ) เปนรูปแบบการใหบริการที่เสมือนเครื่องโมบายล มีเครื่องตอบรับโทรศัพทอยู ภายในระบบทําใหสามารถฝากขอความใหกับเครื่องลูกขายไดใน ที่ซึ่งมีชื่อเรียกเฉพาะวา วอยซเมลบ็อก ( Voice Mail Box ) 2. แบเรอรเซอรวิส ( Bearer services) หมายถึงบริการที่จําเปนในการสื่อสัญญาณที่ เหมาะสมระหวางจุดเชื่อมตอสองจุด เปนความสามารถในการเชื่อมตอกับโครงขายตางๆ หมายถึงบริการ การสงขอมูลในรูปแบบซิงโครนัส และ อะซิงโครนัส โดยสามารถแบง ออกเปนโครงขายปลายทางดังตอไปนี้ ระบบโทรศัพทสาธารณะ ( PSTN: Public Switched Telephone Network ) ไดแกการสงขอมูลในรูปแบบของ อะนาลอกที่ตองผานเครื่องโมเด็ม (MODEM) ระบบไอเอสดีเอ็น (ISDN: Integrated Service Digital Network) เปน การสงขอมูลในรูปของดิจิตอลที่ไมตอง ใชโมเด็ม ระบบพีเอสพีดีเอ็น (PSPDN: Packet Switched Public Data Network) ระบบพีเอดี (PAD: Packet Assembly/Disassembly)
  • 9. 9 ระบบซีเอสพีดีเอ็น (CSPDN: Circuit Switched Plublic Data Network) นอกจากระบบบริการทั้งสองรูปแบบดังกลาว ในระบบเซลลูลารบางระบบจะมีบริการเสริม สําหรับบริการเทเลเซอรวิส ดวยซึ่งเรียกวา ซับพลีเมนตารี่เซอรวิส (Supplementary Services) ซึ่งเปนบริการพิเศษในรูปแบบดังตอไปนี้ บริการโอนสาย (Call Forwarding) บริการดังกลาว ทําใหสายที่เรียกเขาโทรศัพทเคลื่อนที่ ถูกโอนไปเขาเครื่อง โทรศัพทปลายทางเครื่องอื่น ตามเงื่อนไขของโทรศัพทเคลื่อนที่ซึ่งใชบริการดังกลาวโดยมีอยู 4 เงื่อนไขดังนี้ - โอนสายเมื่อไมสามารถติดตอโมบายลได (Mobile Not Reachable) - โอนสายเมื่อโมบายลไมวาง (Mobile Busy) - โอนสายเมื่อผูใชโมบายลไมรับสาย (No Reply) โดยผูใชยังเปดเครื่องอยู - โอนสายในทุกกรณี (Unconditional) บริการปองกันการโทรออก (Barring of Outgoing Calls) มีเงื่อนไขการปองกัน การโทรออกดังตอไปนี้ - ปองกันการโทรออกทั้งหมด (all outgoing calls) - ปองกัน การโทรออกตางประเทศ (all outgoing international calls) - ปองกันการโทร ออกตางประเทศยกเวนเปนการโทรเขาหาประเทศตัวเอง (all outgoing internationalcalls except those directed to home PLMN: Public Land Mobile Network) • กรณีนี้จะใชสําหรับเวลาที่ลูกขายเดินทางไปอยูในตางประเทศจะทําใหสามารถโทรกลับ ประเทศได * บริการปองกันการโทรเขา (Barring of Incoming Calls)ลักษณะเหมือนกับการ ปองกันการโทรออกเชนเดียวกัน สามารถแบงออกเปนกรณีตาง ๆ ไดดังนี้ - ปองกันการโทร เขาทั้งหมด (all incoming call) - ปองกันการโทรเขาเมื่อเดินทางออกไปนอกพื้นที่ การใหบริการที่ลงทะเบียนอยู (incoming calls when roaming outside home PLMN) บริการพักสาย (Call Hold) บริการพิเศษดังกลาวทําใหผูใชงานสามารถขัดจังหวะการ โทรขณะนั้นและสามารถโทรกับอีกสาย หนึ่งได บริการพักสายสามารถใชกับบริการโทรศัพท ธรรมดาเทานั้น บริการรับสายเรียกซอน (Call Waiting) บริการนี้ทําใหผูใชสามารถทราบไดวามีผูเรียก เขาอีกสายหนึ่งขณะที่กําลังมีการ สนทนาตามปกติอยู ลูกขายสามารถตอบรับหรือปฏิเสธการ ตอบรับสายที่เรียกเขามาได
  • 10. 10 บริการประชุมทางโทรศัพท (Call Conference) เปนบริการของระบบเซลลูลารที่ทํา ใหสามารถสนทนาไดจํานวนลูกขาย หลายคนพรอมกันตั้งแต 3 ถึง 6 คน บริการแสดงหมายเลขของสายเรียกเขา (Calling line identification presentation/restriction) บริการแสดงขอมูลคาใชจาย (Advice of Charge) เปนบริการที่ทําใหสามารถแสดง ปริมาณรายจายจองลุกขายโดยคราว ๆ ได การ Interface ระหวางโทรศัพทเคลื่อนที่กับโทรศัพทธรรมดา (PSTN) รูปที่ 5 รูปที่ 6
  • 11. 11 รูปที่ 5-6 การ Interface ระหวางโทรศัพทเคลื่อนที่กับโทรศัพทธรรมดา (PSTN) ชนิดของเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ • โทรศัพทเคลื่อนที่ติดตั้งในรถยนต รูปที่ 7 • โทรศัพทเคลื่อนที่แบบหิ้ว รูปที่ 8 • โทรศัพทเคลื่อนที่แบบมือถือ • โทรศัพทเคลื่อนที่สาธารณะ รูปที่ 9 รูปที่ 10 รูปที่ 7-10 ชนิดของโทรศัพทเคลื่อนที่
  • 12. 12 รูปที่ 11 ขอบเขตในการติดตอสถานีฐานที่ตางกันของโทรศัพทเคลื่อนที่แบบมือถือกับแบบที่ ติดในรถยนต รูปที่ 12 ความสัมพันธระหวางกําลังสงกับระยะทางระหวางสถานีฐานกับโทรศัพทเคลื่อนที จากรูปที่ 12 เปนการปรับกําลังสงของโทรศัพทเคลื่อนที่ โดยจะมีลักษณะเปน ขั้นบันได กําลังสงจะคอยๆเพิ่มขึ้นตามระยะทางและจะคํานึงถึงสิ่งกีดขวางดวยเพราะจะมีผลที่จะทํา ใหกําลังสงลดลงได
  • 13. 13 รูปที่ 13 เปนการ รับ-สง สัญญานของโทรศัพทเคลื่อนที่ โครงสรางของโครงขาย (NETWORK STRUCTURE) PLMN (Public Land Mobile Network) หมายถึงโครงขายทั้งหมดของระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ Cellular ไมรวม PSTN ซึ่ง ทุกๆ โครงขายสามารถแบงออกเปน Area ขนาดตางๆ กัน -Cell แตละ Cell เปนสวนยอยของ PLMN -Cell หลายๆ Cell สามารถรวมกันเปนบริเวณที่เรียกวา LA (Location Area) หรือ TA (Traffic Area) -LA หรือ TA ทั้งหมดที่ควบคุมโดยแตละชุมสายโทรศัพทเคลื่อนที่ เรียกวา Service Area ซึ่งถาโทรศัพทเคลื่อนที่อยูในบริเวณ LA หรือ TA เดียวกันแลว จะไมมีการ Update ขอมูลเกี่ยวกับตําแหนงของเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ที่ชุมสาย -Service Area หลายๆ Service Area รวมกันเปน PLMN พื้นที่ใหบริการ Area ในระดับตางๆ
  • 14. 14 รูปที่ 14 พื้นที่ใหบริการ Area ในระดับตางๆ Cell หรือ รวงผึ่ง หมายถึง พื้นที่ที่ครอบคลุมโดยสถานีฐาน ซึ่งสถานีฐานอาจจะ ครอบคลุม Cell 1 Cell หรือมากกวา ขึ้นอยูกับสายอากาศที่ใช Cell แบงออกไดเปน 2 แบบ คือ การติดตอกับสถานีฐาน Cellular ื่อนที่แบบเซลลูลารรูปที่ 15 ลักษณะของ Cell และการติดตอกับสถานีฐานโทรศัพทเคล คือ การสื่อสารที่ใชคลื่นวิทยุสงสัญญาณทําใหผูใชสามารถเคลื่อนที่ไปมาได โดยแบงพื้นที่เปนสวนยอย ๆ เรียกวา เซลล ซึ่งเปนสถานีรับสงสัญญาณกับผูใช ในพื้นที่ของเซลลนั้น ๆ โทรศัพทเคลื่อนที่แบบเซลลูลารจะมีอยู 2 แบบ คือแบบ Analog และแบบ Digital
  • 15. 15 ลักษณะสายอากาศที่ครอบคลุมสถานีฐานของ Cell 1. Omni directional Cell หมายถึง Cell ที่ครอบคลุมโดยสถานีฐานที่ใช สายอากาศสงสัญญาณออกไปทุกทิศทุกทาง 6 1 5 2 4 3 6 1 5 2 4 3 7 6 1 5 2 4 3 7 1 6 2 7 5 3 41 6 2 7 5 3 17 4 1 6 5 2 4 3 7 1 6 2 7 5 3 รูปที่ 164 รูปที่ 17 รูปที่ 16-17 การแบง Cell การใชงานที่สามารถนําความถี่
  • 16. 16 รูปที่ 18 Omni directional Antennas Omni directional Cell รูปที่ 19 เซลลบริเวณของสนามของสัญญาณที่สงออกจากสายอากาศ 2. Sector Cell หมายถึง Cell ที่ใชสายอากาศ 3 ตัว แตละตัวครอบคลุมบริเวณ 120 องศา แตละสถานีฐานจะครอบคลุม Sector Cell ตั้งแต 1 Sector Cell จนถึง 3 Sector Cell แตละ Sector Cell จะใช 2 ความถี่ ในการสงสัญญาณ คือความถี่หนึ่งสงจาก สถานีฐาน ไปยังเครื่องโทรศัพทและอีกความถี่หนึ่งสงจากเครื่องโทรศัพทไปยังสถานีฐาน
  • 17. 17 c รูปที่ 20 Sector directional Cell รูปที่ 21 การติดตั้งสายอากาศแบบ Diversity ลักษณะสายอากาศที่ใชกับเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ 1. Yagi Antenna เปนสายอากาศชนิดหนึ่งที่ใชรับและสงสัญญาณ กระจายคลื่นแบบมี ทิศทาง และมีเกณฑขยายกําลังสงสูง มีใชงานกับโทรศัพทเคลื่อนที่แบบ Cellular ในยุกต แรกๆ แสดงดังรูปที่ 22
  • 18. 18 รูปที่ 22 yagi antenna ความถี่ 450 Mhz และ 890-960 Mhz 2. Helical Antenna เปนสายอากาศชนิดหนึ่งที่ใชรับและสงสัญญาณ จะกระจายคลื่น รอบทิศทาง โดยจะใชงานเปนตัวสงและรับสัญญาณของโทรศัพทเคลื่อนที่ และอุปกรณสื่อสารชนิดอื่นๆ จะมี การออกแบบคลายกับสปริง มีลักษณะเปนขดๆ ขนาดของตัวสายอากาศนั้นจะมีลักษณะแตกตางกัน ออกไป จะขึ้นอยูกับความถี่ที่ใชงานและลักษณะการใชงาน แสดงดังรูปที่ 23 รูปที่ 23 Helical Antenna 3. Microstirp Antenna เปนสายอากาศชนิดหนึ่งที่ใชรับและสงสัญญาณ มี ลักษณะเปนแผนโดยไดพัฒนามาจากสายอากาศแบบ Helical เพื่อความสะดวกในการใชงาน ขนาดของตัวสายอากาศนั้นจะมีลักษณะแตกตางกันออกไป จะขึ้นอยูกับความถี่ที่ใชงานและลักษณะ การใชงาน สายอากาศแบบ Microtrip ตอนนี้เปนที่นิยมและนํามาใชงานในโทรศัพทเคลื่อนที่ หลายยี่หอ แสดงดังรูปที่ 24 คุณสมบัติเฉพาะของโทรศัพทเคลื่อนที่แบบ Cellular 1. Frequency Reuse เนื่องจากความถี่ที่ใชอยูในระบบมีอยูอยางจํากัด ไมเพียงพอตอการขยายสถานีฐาน ดังนั้นเพื่อเพิ่มความจุของระบบ จึงตองนําเอาเทคนิค Frequency Reuse มาใช คือ รูปที่ 24 Microstirp
  • 19. 19 นําเอาความถี่ที่ใชกับ Cell หนึ่งแลวมาใชกับ Cell อื่นที่มีระยะหางกันพอสมควรเพื่อจะ ไมใหเกิดการ Interference ซึ่งระยะหางระหวาง Cell ที่ใชความถี่เดียวกันนี้เรียกวา Reuse Distance รูปที่ 25 หลักการ Frequency Reuse 2. Hand Over หมายถึง ขณะที่กําลังสนทนา โทรศัพทเคลื่อนที่จาก Cell หนึ่ง ไปยังอีก Cell หนึ่ง หรือเปลี่ยน TC แตอยูภายใน Cell เดิม โดยไมขัดจังหวะการสนทนา สามารถ ทําไดโดยการเปรียบเทียบ Signal Strength กับ S/N วาอยูต่ํากวาระดับที่กําหนดหรือไม การ Hand Over มีอยู 2 แบบ 2.1. การ Hand Over ภายใน Cell 2.2. การ Hand Over ระหวาง Cell 3. Roaming หรือ Up-Date นระบบตรวจสอบและ Up-Date ต่ําแหนงปจจุบันของโทรศัพทเคลื่อนที่ ( MS ) Location เป รูปที่ 26 หลักการ Hand Over
  • 20. 20 รูปที่ 27 หลักการ Roaming เทคนิคของระบบเซลลูลาร เนื่องจากระบบเซลลูลารนั้นมีจุดประสงคในการใชทรัพยากรอันจํากัดของแถบความถี่ วิธีการซึ่งชวยในการแกปญหาตาง ๆ ของ ระบบเซลลูลารเปนขอมูลที่นาศึกษามาก การศึกษา เทคนิคของระบบเซลลูลารสามารถพิจารณาแบงออกไดเปน 5 สวนดวยกันดังตอไปนี้ 1. หลักการของชองสัญญาณที่ใชความถี่ซ้ํา (Frequency Reuse Channel) 2. ปจจัยในการลดสัญญาณรบกวนของชองสัญญาณขางเคียง (Co-channel interference reduction factor) 3. คาอัตราสวนของสัญญาณพาหะตอสัญญาณรบกวนที่ตองการ (Carrier to interference ratio) 4. ขั้นตอนในการทําแฮนดโอเวอร (Hand Over Procedure) 5. การแบงเซลล (Call Spliting) การออกแบบการติดตั้งสถานีฐาน การติดตั้งสถานีฐานจะตองมีการวางแผนการติดตั้งที่ดีเพื่อที่จะใหไดพื้นที่บริการที่เหมาะสม กับปริมาณความตองการใชงาน และเพื่อลดผลของสัญญาณรบกวนจากโคแชนเนบอินเตอร เฟอเรนซ ขั้นตอนการออกแบบเซลลอาจสรุปไดคราว ๆ ดังตอไปนี้ 1. การวิเคราะหความตองการใชงานและพื้นที่ที่ตองการไดรับการบริการ 2. คํานวณหาปริมาณความตองการใชชองสัญญาณหรือที่เรียกวาการจราจร (Traffic) 3. วางแผนการติดตั้งเซลลตามตําแหนงของสถานที่ตาง ๆ 4. ประมาณขนาดของเซลลที่จะใชงานและผลของสัญญาณรบกวนที่จะเกิดขึ้น 5. สงทีมออกไปสํารวจและจัดหาสถานที่ในบริเวณใกลเคียงกับตําแหนงที่วางแผนไว
  • 21. 21 6. นําเครื่องมือวัดไปวัดสัญญาณในพื้นที่นั้น เพื่อจะจัดหาความถี่ที่เหมาะสมกับพื้นที่ดังกลาว 7. รวบรวมขอมูลของความถี่และตําแหนงของสถานีฐานที่จะติดตั้งทั้งหมด และนํามาสรุป เปนแผนสุดทาย 8. ติดตั้งสถานีฐาน 9. ทําการปรับระบบ เชน หากความถี่ที่เปดขึ้นในงานมีปญหาสัญญาณรบกวนก็ตองทําการ เปลี่ยนแปลงสัญญาณใหม และทําการ ปรับคาพารามิเตอรตาง ๆ เชน การทําแฮนดโอเวอร 10. เมื่อปริมาณความหนาแนนการใชงานมากขึ้น จํานวนชองสัญญาณที่กําหนดไวในชอง แรกไมเพียงพอ ทําใหตองมีการเพิ่มสัญญาณ ความถี่ หรืออาจตองทําการติดตั้งสถานีฐานใหม เพิ่มขึ้น ดังนั้นจึงตองไปเริ่มในขอที่ 1 ใหม การทํางานของหนวยงานแผนเซลลจะเปนงานที่ ตองวางแผนไปเรื่อย ๆ เปนวงรอบเพราะระบบมีการขยายอยูตลอดเวลา จากขั้นตอน ขางตน หลังจากการวิเคราะห ขอมูลที่ระบบจําเปนตองใชในการวางแผนก็คือ 1. ความจุของเซลล ซึ่งหมายถึงจํานวนชองสัญญาณที่ตองการ 2. ขนาดของพื้นที่ใหบริการ หมายถึงรัศมีของเซลล 3. คุณภาพของการใหบริการที่เรียกวา เกรด ออฟ เซอรวิส (GOS:Grade Of Service) 4. ความถี่ที่สามารถใชงานไดในพื้นที่ดังกลาว 5. คุณภาพของเสียง 6. การขยายระบบในอนาคต การประยุกตใชงานของระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ 1. SOLOMON USB GPRS Modem + WLAN โมเด็มไรสาย ออนไลนได ทุกที่
  • 22. 22 SOLOMON USB GRPS Modem อุปกรณรับสงขอมูลผานเครือขายมือถือ สามารถรับสงดวยความเร็วสูงสุด 115.2kbps. ทําใหผูที่ใชงาน Notebook สามารถ ติดตอสื่อสาร และทํางานนอกสถานที่ไดอยางสะดวกสบาย ไมวาจะเปนการทองโลกอินเตอรเน็ต รับสงอีเมล รวมกับการใชงานของ coperate email (ผานทางโปรแกรม out look express, MS outlook ) พรอมดวยขนาดที่เล็กมาก และน้ําหนักเบาสุดๆ ติดตั้งงายๆ ตอผาน USB port ทําใหคุณๆ ที่ตองการติดตอสื่อสารผานอินเตอรเน็ต สามารถพกพา ไดงายๆสบายๆ Solomon USB WLAN + GPRS Modem SCWi275u Modem ไรสาย online ไดทุกที่ และยังใชงานกับ Wi-FI ปจจุบันการใชงานอินเทอรเน็ตนั้น นับวาไดรับความนิยมเปนอยางสูง ทั้งจากการใชงาน สําหรับผูใชงานตามบานเรือน ที่พักอาศัยหรือผูใชงานตามองคกร ตางๆ แตขอจํากัดของการใชงาน อินเทอรเน็ตจําเปนที่จะตองอาศัย สายนําสัญญาณ เชน สายโทรศัพทเพื่อเชื่อมตอเขากับโครงขายของผู ใหบริการ ISPs (Internet Service Provider) ที่เรารูจักกัน แตดวยพัฒนาการทาง เทคโนโลยีที่กาวหนาขึ้นเรื่อยๆ ทําใหทุกวันนี้ มีการใชงานอินเทอรเน็ตเขากับระบบ โครงขาย โทรศัพทเคลื่อนที่ ซึ่งไดรับการพัฒนาจนสามารถรองรับ การแลกเปลี่ยนขอมูลความเร็วสูงได การใช งาน อินเทอรเน็ตไดจากทุกๆ ที่จึงกลายเปนทาง เลือกที่อํานวยความสะดวก สําหรับผูที่ตองการเขาถึง ขอมูลโดยไมมีเรื่องของสถานที่เปนตัวกีดกั้น SOLOMON SCWi275u USB WLAN + GPRS Modem เปน อุปกรณที่ออกแบบมาเพื่อ ตอบสนองไลฟสไตลอันไรขีดจํากัด ดวยความ สามารถที่ทํางานเปนโมเด็ม แบบไรสายซึ่งรองรับ การใชงานอินเทอรเน็ตผานโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ ที่มีอยู โดยรองรับการ ทํางานบนระบบโครงขาย GSM/GPRS ทั้งความถี่ GSM900/1800MHz พรอมใหความ คุมคาในแบบทวีคูณ ดวยการสนับสนุน การเชื่อมตออุปกรณตาง ๆ ผานระบบเครือขาย ไรสาย มาตรฐาน IEEE 802.11b ซึ่งใหอัตราความเร็วในการแลกเปลี่ยนขอมูลสูงสุด 11Mbps
  • 23. 23 SOLOMON SCWi275u จึงเปรียบเสมือนสํานักงานเคลื่อนที่ที่ติดตัวคุณไปทั่วทุก หนแหง ชวยใหคุณไมพลาดนัดหมายสําคัญในโลกธุรกิจ พรอม เสมอสําหรับเขาถึงขอมูลอันมีคาที่ให คุณกาวล้ํานํา คูแขง เชื่อมโยงโลกของการสื่อสารทั้งสัญญาณเสียงและสัญญาณขอมูลใหเปนหนึ่ง เดียวกัน รับสง E- Mail, จัดสง SMS ไปยังโทรศัพทมือถือ สามารถรับสง E- Mail ผานเว็บบราวเซอรไดโดยงาย รองรับการจัดสงขอความสั้น ๆ ในแบบ SMS ไปยังโทรศัพทมือถือจากเครื่องคอมพิวเตอร ติดตั้งและใชงานไดงาย ดวยพอรต USB มาตรฐาน 1.1 จึงรองรับการติดตั้งเขากับเครื่อง คอมพิวเตอรแบบโนตบุกและพีซีไดงาย สนับสนุนการถายโอน ขอมูลดวยความเร็วสูง โดยมาพรอมกับ สายเชื่อมตอ USB 1 เสน พรอมคูมือการใชงาน ซีดีรอมไดรเวอรซึ่งสนับสนุนการทํางานดวย โปรแกรม SOLOMON GPRS Manager ที่ทํางานบนระบบปฏิบัติการ Windows 98SE, ME, 2000 และ Windows XP จึงชวยใหบริหารจัดการการ ทํางานเปนเรื่องงาย และสะดวกสบายยิ่งขึ้น ทองอินเทอรเน็ตไรสายอยางไรพรมแดนดวย GPRS USB WLAN+GPRS Modem ใชพอรต USB ในการเชื่อมตอ, เพียงแตคุณ ใสซิมและ ตอโมเด็มเขากับคอมพิวเตอรโนตบุก หรือเดสท็อป ที่มี USB Port คุณก็สามารถเชื่อมตอ อินเทอรเน็ตผานเครือขาย GSM ได. คุณสามารถทําไดทั้งรับสงอีเมล เขาเว็บไซต เพื่อดูขาว ดูหุน หรือดูทิศทางของตลาด, ธุรกิจของคุณจะคลองตัวขึ้น คุณจะไมพลาดขาวสารสําคัญที่มีผลตอธุรกิจของ คุณ แลวทุกอยางจะอยูในมือคุณ เชื่อมตอเขาระบบ Wi-Fi Internet สําหรับ USB WLAN+GPRS Modem ยังสามารถเชื่อมตอเขาระบบ Wi-Fi Internet เชน SHIN HOTSPOT ไดโดยจะมีการรับสงสัญญาณ จากครือขายไรสาย ซึ่งจะ อยูตามจุดพื้นที่ที่ใหบริการเทานั้น อาทิ หางสรรพสินคา รานกาแฟ (Starbuck) สนามบินและใน ยานธุรกิจ เชื่อมตอเขากับระบบเน็ตเวิรกขององคกรงาย ๆ ดวย Wireless LAN เนื่องจาก SOLOMON SCWi275u ไดรวมเอา Wireless LAN เขาไวดวยกันและ รองรับมาตรฐาน IEEE 802.11b/11Mbps เพียงแคองคกร ของคุณใชงานอยู และเพียงคุณ เลื่อนสวิตซการทํางานไปที่ปุม W คุณก็สามารถเชื่อมตอเขากับระบบ เน็ตเวิรกไดทันที
  • 24. 24 รูปภาพแสดง Solomon USB GRPS Modem + Wireless LAN SCWi275u Technical Specification:- รายละเอียดอุปกรณ: GPRS: ความถี่: T 85 win Dual Band GSM900/1800 MHz; GSM 0/1900MHz เครือขาย: G G SM850 0.8W, E-GSM 2W, GSM1800 1W, SM1900 1W การบีบอัดขอมูล: MNP 5 & V.42bis มาตรฐานการสง ขอมูล: G pe PRS Class B, Multi-slot Class 8 (4 down/1 up/5 r frame), Up to 64Kbps การตรวจแก ขอผิดพลาด: End to end MNP 2-4; LAPM (V.42) & RLP SIM Card ที่ ใชได: 3V/1.8V ความสามารถ: Internet, E-mail; Fax (Via Internet) GSM/ISDN: According to V.110
  • 25. 25 ความตองการ ระบบ: W ฮ indows XP/2000/ME/98SE และพื้นที่วาง 30 MB บน รดดิสกา กระแสไฟ: S cu tandby current 20mA, Average 300mA, Max rrent 460mA Wireless LAN : มาตรฐานการสง ขอมูล : IEEE 802.11b/11Mbps สถาปตยกรรม เครือขาย: สน In ne ับสนุน Ad-Hoc (Peer-to-peer without AP) และ frastructure Modes (Communication to wired tworks via AP with roaming) ชวงความถี่: 2. B 400 ~ 2.4835 GHz (Industrial Scientific Medical and) มอตดูเลชั่น : C B CK@11/5.5Mbps, QPSK@2Mbps, PSK@1Mbps เทคโนโลยี D คลื่นวิทยุ : irect Sequence Spread Spectrum (DSSS) ระบบความ 64 ปลอดภัย : /128 Bits WEP Data Encryption กระแสไฟ: ไมเกิน 290mA ( ชวงเปดเครื่องไมมีการโอนถายขอมูล) , ไมเกิน 45 ีการโอนถายขอมูล)0mA ( ชวงม Transmit Power: 18dBm Receive Sensitivity: r -8 dB bps, -92 dBm@1Mbps 4 dBm@11Mbps, -87 dBm@5.5Mbps, -90 m@2M Range Coverage: Open space 100m - 400m, Indoor space 30m - 100m LEDs: Link, Activity
  • 26. 26 *Option: 64 or 128MB NAND Flash abailable.. รายละเอ ั่วไป เกี่ยวก :ียดท ับอุปกรณ น้ําหนัก: 3 กรัม.( 1.16 oz) ขนาด (กวาง x ยาว x สูง): 3 นิ้ว x 2.95 นิ้ว (ไมรวมเสาสัญญาณ) x 0.57 นิ้ว. 7 มิลิเมตร x 75 มิลิเมตร ( ไมรวมเสาสัญญาณ) x 14.5 มิลิเมตร 1.45 าเข อุปกรณชารจ: ไมตองการ การเชื่อตอ: มาตรฐาน USB 1.1 3 ภาษา: English, Simplified Chinese, Traditional Chinese กําลังไฟฟ า: USB 5V อุณหภูม 14~131 (-10~55 )ิ: Humidity: 0-95% (Non-condensing) 2. ERICSSON Fixed Cellular Terminal คือ โทรศัพทเคลื่อนที่แบบติดตั้งประจําที่ ที่สามารถใชงาน รวมกับ โทรศัพท โทรสาร คอมพิวเต ํานักงาน ที่พักอาศัย หรือภายในธุรกิจ ดวยเทคโนโลยี ของ ERICSSON SWEDEN ทําให ERICSSON FCT อร และเครื่อง รูดบัตรเครดิต เพื่ออํานวยความสะดวกภายในส เปนอุปกรณที่สมบูรณทั้งคุณภาพ และประสิทธิภาพในระบบ GSM900 (AIS),GSM1800 (DTAC,TA Orange,GSM1800) และ GSM1900 (Thai mobile)
  • 27. 27 ประโยชนหลักของ ERICSSON Fixed Cellular Terminal ทํา ถึง , คูสายมีไมเพียงพอกับความตองการ , ร อพารตเมนท หรือบนยานพาหนะ ลื่อนที่เปนประจํา เชน ไซดงานกอสราง งานนิทรรศการตาง ๆ รใชงานของ ERICSSON Fixed Cellular ัย หรือ ติดตั้งไดหลา ดวยคุณสมบัติ Triple Band จึงรองรับได 3 ยานความถี่ คือ GSM900,GSM1800,GSM1900 1. ชวยประหยัดคาโทรทางไกลภายในประเทศ และคาโทรเขามือถือ เมื่อติดตั้งรวมกับตู PABX ใหควบคุม คาใชจายภายในองคกรได (ขึ้นกับโปรโมชั่นของซิมการดที่เลือก) 2. เหมาะกับการติดตั้งในพื้นที่ที่คูสายโทรศัพทเขาไม ทในกรณีเรงดวน3. ตองการติดตั้งโทรศัพ 4. ชวยอํานวยความสะดวกในการติดตอสื่อสาร 5. สามารถติดตั้งไดงาย 6. ติดตั้งไดทุกที่ ทั้งที่พักอาศัย สํานักงาน โรงงาน โรงแรม ธนาคา น เรือ รถยนต หรือสํานักงานที่ตองเช เค ตัวอยางรูปแบบกา Terminal 1.การติดตั้งสําหรับที่พักอาศ บานพักตากอากาศ สามารถ ยลักษณะ เชน ติดตั้งเปนโทรศัพทสายตรง (สําหรับรุน : F220m ,F ติดตั้งเปนโทรสารสายตรง ติดตั้งเพื่อใชงานกับคอมพิวเตอร (สําหรับรุน : F221m , (สําหรับรุน : F221m , F251m) 221m , F250m , F251m) F251m)
  • 28. 28 ประโยชน 1.เหมาะกับพื้นที่ที่อยูนอกเขตใหบริการของชุมสายโทรศัพทพื้นฐาน ลาในการรอขอติดตั้งคูสายโทรศัพท ตองรอการเดินสาย รือโทรเขามือถือตางพื้นที่ ใชงานไดทั้งการตอพวงกับ โทรศัพท , โทรสาร , คอมพิวเตอร (GPRS) (ขึ้นอยูกับคุณสมบัติ 2.บริษัท สํานักงาน โรงเรียน โรงแรม หรือผูประกอบธุรกิจ สามารใชงานจาก ERICSSON 2.ตัดปญหากับการเสียเว สามารถเพิ่มคูสายไดรวดเร็ว ไม 3.คุณภาพเสียงคมชัด 4.ติดตั้งหรือเคลื่อนยายไดงาย 5.ชวยประหยัดคาโทรทางไกลตางจังหวัด ห 6. ของ ERICSSON FCT แตละรุน) FCT ไดหลายลักษณะ เชน การติดตั้งภายในบริษัท เพื่อใชงานกับเครื่องโทรศัพท สามารถติดตั้งได 2 ลักษณะ คือ การติดตั้งเปนโทรศัพทสาย งผาน พท (PABX) สามารถใช F250m , F251 รุนที่ใชได คือ วเตอร คือ รุน ตรง หรือที่ นิยมคือ การติดตั้ ตูสาขาโทรศั งานไดทุกรุน คือ F220m , F221m , m ติดตั้งกับโทรสาร F221m F251m ติดตั้งกับคอมพิ F221m , F251m
  • 29. 29  ือถือ 2.เหมาะกับบริษัทท ดตองาน เปนประจํา 3.สามารถเพิ่มคู 4.คุณภาพเสียงคมช 5.งายในการติดตั้ 3. รองรับการทํ เรือภัตตาคาร, เรือขนสงสินคา, เรือตรวจราชการ, เรือประมง ฯลฯ ประโยชน 1.ชวยประหยัดคาโทรศัพทสําหรับบริษัทขนาดใหญที่มีการโทรติดตอตางจังหวัด หรือโทรเขาม ตางพื้นที่เปนประจํา ี่มีสํานักงานใหญและสํานักงานสาขาอยูกันคนละจังหวัด และตองมีการติ สายไดรวดเร็ว ไมตองรอการเดินสาย ัด งและใชงาน างานไดทั้งการติดตั้งอยูกับที่และพาหนะเคลื่อนที่ เชน รถยนต , เรือสําราญ , เรือยอรช , ประโยชน ทําใหไมขาดการติดตอสื่อสาร ใชงานไดทั้งไดกับทั้งโทรศัพท , เครื่องโทรสาร , คอมพิวเตอร (GPRS) ขึ้นอยูกับคุณสมบัติของ RICSSON FCT แตละรุน 3.สะดวกตอการติดตั้งและเคลื่อนยาย 4.คุณภาพเสียงคมชัด 1. 2. E
  • 30. 30 5.สามารถเพิ่มเสาอากาศพิเศษชวยในการดึงสัญญาณใหชัดเจนยิ่งขึ้น 4.เชื่อมตอกับเครื่องโทรศัพท โทรสาร เครื่องคอมพิวเตอร เพื่อใชงานภายใน ที่พักอาศัย และส โดยใช โปรโมชั่นของโทรศ ใชงานตอ กับ เครื่องรูดบัตรเครด การทดสอบและร งาน รวมกับ ํานักงาน ที่ไมมีคูสายโทรศัพทเขาถึง หรือตองการประหยัดคาโทรศัพท ัพทเคลื่อนที่แลว ERICSSON Fixed Cellular Terminal F221m ยังสามารถประยุกต ิต HYPERCOM รุน ICE5500 ซึ่งไดรับ ับรองจาก Hypercom (Thailand) Co., Ltd. วาสามารถใช ERICSSON F221m ไดเปนอยางดี ูสายโทรศัพท เชน โรงแรม และ รีสอรท ตามหมู สนามกอลฟ , ตตาคารบนเรือ , ออกบูธแสดงสินคาตางๆ อํานวยความสะดวกใหกับลูกคา ในการชําระเงินโดยใชบัตรเครดิต เพิ่มยอดขายสินคา บริการ ผานการชําระเงินโดยใชบัตรเครดิต สามารถใชตอกับโทรศัพทเพื่อสนทนา , ตอกับเครื่องโทรสารเพื่อใชรับ สง เอกสาร , ตอกับ อมพิวเตอร เพื่อรับสงขอมูล หรือ ตอ Internet ยใช GPRS ประโยชน 1.สามารถใชตอเครื่องรูดบัตรเครดิต ในพื้นที่ที่ไมมีค เกาะ หรือ ปาเขา , ภั 2. 3. 4. ค โด
  • 31. 31 เอกสารอางอิง 1. อมรชัย ชัยชนะ เอกสารประกอบการเรียนวิชาวิศวกรรมโทรศัพท คณะครุศาสตรอุตสาหกรร สจล. ม 2. สมชาย หมื่นสายญาติ เอกสารประกอบการเรียนวิชา MOBILE คณะครุศาสตร sit2001/work1.html ine/february45/it/comnet.html . ttp://mobile.siam2you.com/zone_wireless/wireless_basic/index_b sic.asp?thread=main_telecom 0. http://mobile.siam2you.com/zone_wireless/wireless_basic/index_b asic.asp?thread=main_telecom อุตสาหกรรม สจล. 3. http://www.sut.ac.th/engineering/Telecom/mobilethai/#3 4. http://www.sut.ac.th/engineering/Telecom/mobilethai/00001_2.ht m#4 5. h 6. ttp://www.geocities.com/ni http://www.geocities.com/nisit2001/work2.html 7. http://www.geocities.com/nisit2001/work4.html 8. http://www.ku.ac.th/e-magaz 9 h a 1