SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
กระบวนการพัฒนา
กระบวนการพัฒนาเว็บไซต์ เป็นกระบวนการที่อาศัยหลักการจัดระบบโครงสร้าง ข้อมูล
(Information Architecture) อยู่ในหลาย ๆ ส่วน ตั้งแต่ขั้นแรกจนถึงขั้นที่ได้เป็นรูปแบบ
โครงสร้างสุดท้าย (Final Architecture Plan) ซึ่งถือเป็นกระบวนการที่สาคัญมากที่จะทาให้
เว็บไซต์บรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ การจัดระบบโครงสร้างข้อมูล คือ การพิจารณาว่าเว็บไซต์ควร
จะมีข้อมูลและการทางานใดบ้าง ด้วยการสร้างเป็นแผนผังโครงสร้างก่อนที่จะเริ่มลงมือพัฒนาเว็บ
เพจ โดยเริ่มจากการกาหนดเป้าหมายเว็บไซต์ และกลุ่มผู้ใช้เป้าหมาย ต่อมาก็พิจารณาถึงเนื้อหา
และการใช้งานที่จาเป็น แล้วนามาจัดกลุ่มให้เป็นระบบ จากนั้นก็ถึงเวลาในการออกแบบโครงสร้าง
ข้อมูลในหน้าเว็บ ให้พร้อมที่จะนาไปออกแบบกราฟิก และหน้าตาให้สมบูรณ์ต่อไป
การจัดทาระบบโครงสร้างข้อมูลเป็นพื้นฐานสาคัญในการออกแบบเว็บไซต์ที่ดี ที่จะช่วยพัฒนาแบบ
แผนรายละเอียดข้อมูลในการออกแบบเว็บไซต์ ซึ่งได้แก่ รูปแบบการนาเสนอระบบการทางาน
แบบจาลอง ระบบเนวิเกชัน และอินเตอร์เฟสของเว็บ ดังนั้นการจัดระบบโครงสร้างข้อมูลจึงเป็น
สิ่งสาคัญที่เกี่ยวข้องอยู่ในกระบวนการออกแบบเว็บไซต์
ที่มา : สาวิตรี เตชะคา. การออกแบบเว็บไซต์สาหรับองค์กรพัฒนาสังคม: กรณีศึกษา
มูลนิธิรักษ์เด็ก. วิทยานิพนธ์ศิลปะศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาสื่อศิลปะและการออกแบบสื่อ.
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2551
ประเภทของเว็บไซต์
อินเตอร์เน็ตเป็นศูนย์รวมข้อมูลข่าวสารที่สามารถเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ทุกมุมโลก
อินเตอร์เน็ตแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างและความหลากหลายของเว็บที่ล้วนแล้วแต่สร้างขึ้นมา
เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าและผู้ให้บริการ เราสามารถแบ่งประเภทของเว็บไซต์ได้
ดังนี้
1. Information sites คือ เว็บไซต์ผู้ให้บริการเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร เช่น หนังสือพิมพ์
โทรทัศน์ วิทยุ นิตยสาร วารสาร หรือหน่วยงานเกี่ยวกับผู้ให้บริการข้อมูลข่าวสารอื่นๆ ขององค์กร
เว็บประเภทนี้มีจานวนมากที่สุดในอินเตอร์เน็ต
2. Transactional sites คือ เว็บไซต์ประเภทที่สามารถใช้เพื่อการติดต่อทางธุรกิจการค้า
การลงทุนของภาคธุรกิจโดยเป็นผู้ชักนา แนะนานักลงทุน
3. Community sites คือ เว็บไซต์ของกลุ่มบุคคล สมาคม ชมรม คณะบุคคล ซึ่งมี
ลักษณะนิติบุคคลและการสนับสนุนหน่วยงานต่างๆเกี่ยวกับสังคมหรือชุมชน ลัทธิ ความเชื่อ
ศาสนา กลุ่มเพื่อน
4. Entertainment sites คือ เว็บไซต์ที่ให้ความบันเทิง เกมส์ ดนตรี เพลง เรื่องตลขบขัน
ภาพยนตร์ เครื่องเสียงหรือแนวบันเทิงต่างๆ รวมไปถึงกลุ่มชมรมและหน่อยข้อมูลข่าวสารด้าน
ความบันเทิง
5. Other sites ประกอบด้วย เว็บไซต์เกี่ยวกับศิลปะ การแสดงออก รสนิยม ศาสนาสถาน
ประติมากรรม หรือเว็บการทดลองความสามารถ เว็บไซต์ส่วนบุคคล เช่น เว็บไซต์ของสามัญชน
ทั่วไป เว็บไซต์การจัดประชุม ฯลฯ
ที่มา : สายธาร สุเมธอธิคม และคณะ. ปัญหาและความต้องการของนักศึกษาและ
อาจารย์ในการใช้เว็บไซต์งานทะเบียน. วิจัยกลุ่มทะเบียนและประมวลผล สานักส่งเสริมวิชาการ
และงานทะเบียน. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระนคร, 2552
การประเมินเว็บไซต์
การประเมินเว็บไซต์ เป็นการวัดประสิทธิภาพและประสิทธิผลของเว็บไซต์ อันจะเป็น
แนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ ห้องสมุดสามารถวางแผนการประเมินผลในด้านต่างๆ
เช่น การประเมินผลการออกแบบ การประเมินเนื้อหา การประเมินประสิทธิภาพ การเข้าถึง
สารสนเทศ เป็นต้น งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการประเมินเว็บไซต์สามารถจาแนกการประเมินด้าน
ต่างๆ ได้ดังต่อไปนี้
1. การประเมินความพึงพอใจและความต้องการของผู้ใช้ที่มีต่อเว็บไซต์
2. การประเมินผลการใช้งานเว็บไซต์
3. การประเมินผลการออกแบบเว็บไซต์
4. การประเมินผลคุณภาพเว็บไซต์
5. การประเมินผลบริการ การประเมินเว็บไซต์เพื่อการศึกษา การประเมินเว็บไซต์สาหรับผู้ใช้ที่
ออกแบบต้องคานึงถึงนั้น สรรรัชต์ ห่อไพศาล (2544 : 71-75) ได้กล่าวไว้ว่า จะต้องอยู่บนฐาน
ที่ว่า ผู้ใช้เป็นศูนย์กลางโดยคานึงถึงเสมอว่าเว็บไซต์ควรเน้นให้ผู้ใช้สามารถเข้าใช้ได้สะดวก ไม่พบ
ประสบปัญหาติดขัดใดๆ การประเมินเว็บไซต์ มีหลักการที่ต้องประเมินคือ
1. การประเมินวัตถุประสงค์ (Purpose) เว็บไซต์ที่ดีต้องมีวัตถุประสงค์ว่าเพื่อ อะไร เพื่อใคร
และกลุ่มเป้าหมายคือใคร
2. การประเมินคุณลักษณะ (Identification) เว็บไซต์ควรจะทราบได้ทันทีเมื่อเปิดข้าไปว่า
เกี่ยวข้องกับเรื่องใด ซึ่งในหน้าแรก (Homepage) จะทาหน้าที่เป็นปกหนังสือ (Title) ที่บอก
ลักษณะและรายละเอียดของเว็บนั้น
3. การประเมินภารกิจ (Authority) ในหน้าแรกของเว็บจะต้องบอกขนาดของเว็บและ
รายละเอียดของโครงสร้างของเว็บ เช่น แสดงที่อยู่และเส้นทางภายในเว็บ และควรบอกชื่อ
ผู้ออกแบบ
4. การประเมินการจัดรูปแบบและการออกแบบ (Layout and Design) ผู้ออกแบบควร
ประยุกต์แนวคิดตามมุมมองของผู้ใช้ ความซับซ้อน เวลา รูปแบบที่ต้องการใช้
5. การประเมินการเชื่อมโยง (Links) การเชื่อมโยงถือเป็นหัวใจของเว็บ เป็นสิ่งจาเป็นและมี
ผลต่อการใช้ การเพิ่มจานวนเชื่อมโยง โดยไม่จาเป็นจะไม่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ ควรใช้เครื่องมือ
สืบค้นแทนการเชื่อมโยงที่จาเป็น
6. การประเมินเนื้อหา (Content) เนื้อหาที่เป็นข้อความ ภาพหรือเสียงจะต้องเหมาะสมกับ
เว็บและให้ความสาคัญกับองค์ประกอบทุกส่วนเท่าเทียมกัน
ที่มา : จิตอารีย์ คาพันธ์. การวิเคราะห์เว็บไซต์สาหรับห้องสมุดโรงเรียนคาทอลิก.
วิทยานิพนธ์ศิลปะศาสตร มหาบัณฑิต. สาขาบรรณารักษ์ศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์.
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 2551
การวิเคราะห์และประเมินเว็บไซต์
1. เกณฑ์การวิเคราะห์เว็บไซต์ของบอราสกี (Borasky 1997) ได้พิจารณาในเรื่องต่อไปนี้
1.1 ความถูกต้อง (accuracy) พิจารณาว่า เนื้อหาและแหล่งข้อมูลมีความถูกต้อง แม่นยา
1.2 ความน่าเชื่อถือ (authority) พิจารณาว่า ใครเป็นผู้รับผิดชอบและมีความเชี่ยวชาญ
ด้านใด
1.3 วัตถุประสงค์ (objectivity) มีวัตถุประสงค์ในการจัดทาเพื่ออะไร กลุ่มเป้าหมายเป็น
ใครข้อมูลเสนอความคิดเห็นหรือไม่
1.4 ความทันสมัย (currency) พิจารณาว่าวันที่จัดทาข้อมูลหรือปรับปรุงข้อมูล หรือมี
การย้ายไปเว็บไซต์อื่น
1.5 ขอบเขต (coverage) พิจารณาว่าขอบเขตของเนื้อหาครอบคลุมด้านใด และขอบเขต
ของการเผยแพร่ในลักษณะใดบ้าง เช่น เผยแพร่ในรูปของหนังสือ CD – ROM หรือเว็บ เป็นต้น
1.6 การเข้าถึง (accessibility) พิจารณาถึงความยากง่ายในการเข้าถึง ความยากง่ายใน
การค้นหาข้อมูลและการกาหนดตัวเลือกในการค้นหา
1.7 โครงสร้างและองค์ประกอบภายในเว็บ (structure) พิจารณาถึงการเพิ่มหรือลด
ข้อมูลการจัดเรียง การเชื่อมโยงข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
2. เกณฑ์การวิเคราะห์เว็บไซต์ของดีเซมเบอร์ (December 2001) ได้พิจารณาจาก
องค์ประกอบต่อไปนี้
2.1 วัตถุประสงค์ (objectivity) พิจารณาว่านาเสนอเว็บไซต์ เพื่อวัตถุประสงค์ใด
กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการนาเสนอคือใคร
2.2 ลักษณะเฉพาะ (specification) พิจารณาว่าเว็บนั้นนาเสนอข้อมูลอะไร ใช้รูปแบบใด
นาเสนอหรือเผยแพร่ข้อมูล
2.3 รูปแบบการออกแบบ (manner) พิจารณาว่า การออกแบบเว็บเป็นลักษณะใด
ระยะเวลาในการดึงข้อมูล การเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์อื่น
2.4 ความถูกต้อง (accuracy) พิจารณาว่า นาเสนอข้อมูลถูกต้อง แม่นยา มีการปรับปรุง
ข้อมูลให้ทันสมัยหรือสมบูรณ์มากขึ้น
3. เกณฑ์การวิเคราะห์เว็บไซต์ของอเล็กซานเดอร์และเทต (Alexander และ Tate 1996–
1998) พิจารณาเกณฑ์ในเรื่องต่อไปนี้
3.1 ความถูกต้อง (accuracy) พิจารณาจาก ผู้จัดทาเว็บไซต์และเว็บไซต์นั้นมีการ
ตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหาหรือไม่
3.2 ความน่าเชื่อถือ (authority) พิจารณาว่า ผู้จัดทาหรือผู้ผลิตมีความรู้และชื่อเสียง
ทางด้านใด
3.3 วัตถุประสงค์ (objectivity) พิจารณาว่าเว็บไซต์นั้นมีวัตถุประสงค์เผยแพร่ข้อมูลเพื่อ
อะไร และกลุ่มเป้าหมายในการเผยแพร่ข้อมูลเป็นใคร
3.4 ความทันสมัย (currency) พิจารณาการปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัย และวันที่จัดทา
หรือปรับปรุงข้อมูลชัดเจน 3.5 ขอบเขต (coverage) พิจารณาขอบเขตการนาเสนอข้อมูลในสื่อ
ใดบ้าง เช่น สิ่งพิมพ์เว็บ CD-ROM เป็นต้น และขอบเขตของเนื้อหาที่นาเสนอ
4. เกณฑ์การวิเคราะห์เว็บไซต์ ศิริพร ชิตพันธ์ (2542) ได้กล่าวว่าเกณฑ์การวิเคราะห์เว็บไซต์
พิจารณาได้จากองค์ประกอบต่อไปนี้
4.1 ผู้รับผิดชอบ/ผู้ผลิต / ผู้แต่ง (author) พิจารณาผู้รับผิดชอบหรือผู้ผลิตสารสนเทศ
เช่น บุคคล หน่วยงานราชการ บริษัทเอกชน สถาบันการศึกษา เป็นต้น มีความเชี่ยวชาญและ
ชานาญด้านใด และวัตถุประสงค์ในการนาเสนอ
4.2 เนื้อหา (content) พิจารณาจาก
- ความเที่ยงตรง ถูกต้อง แม่นยา (accuracy) การสะกด การพิมพ์ถูกพิมพ์ผิดตัวเลข
สถิติต่างๆ และความละเอียดของสารสนเทศ (precision)
- ความทันสมัย (timeliness) วันที่ปรับปรุงข้อมูลครั้งสุดท้าย วันเวลาในการบันทึก
สารสนเทศไว้ในอินเทอร์เน็ต วันเวลาในการรวบรวมเนื้อหา วันเวลาในการโฆษณา และวันเวลาใน
การส่งอีเมล์
- ความสมบูรณ์ของเนื้อหา (completeness)
- ความสัมพันธ์กับความต้องการของผู้ใช้ (relevance) ขึ้นอยู่กับความต้อง การของ
ผู้ใช้แต่ละคน
- ความพอเพียงของเนื้อหา (sufficiency) ที่สามารถค้นหาสารสนเทศเรื่องเดียวกัน
ได้จากหลายๆ เว็บไซต์ และสามารถนาข้อมูลมาเปรียบเทียบกันได้
- ความเข้าใจง่ายของเนื้อหา (understandability) การใช้ภาษาเหมาะสมและ
ถูกต้องกับเนื้อหาระดับความยากง่ายของศัพท์ที่ใช้ เนื้อหานั้นมีการสื่อความหมายหรือแปล
ความหมายที่เข้าใจตรงกัน มีการแบ่งหัวข้ออย่างชัดเจน มีการเรียงลาดับเนื้อหาจากงายไปหายาก
หรือตามลาดับเหตุการณ์
- สามารถตรวจสอบได้ (verification) จากเอกสารและเนื้อหาที่มีการอ้างอิงตาม
หลักวิชาการผู้แต่งหรือผู้รับผิดชอบข้อมูลมีการกล่าวถึงในแหล่งข้อมูลหรือแหล่งความรู้ใด
4.3 ความยุติธรรมไม่ลาเอียง (freedom from Bias)
4.4 คุณธรรมและจริยธรรม (morals and Virtue)
5. เกณฑ์การวิเคราะห์เว็บไซต์ สมิช (Smith 1997) ได้เสนอเกณฑ์การประเมินสารสนเทศ
บนอินเทอร์เน็ตไว้โดยพิจารณาจากเรื่องต่อไปนี้
5.1 ขอบเขต (scope) พิจารณาการครอบคลุมของเนื้อหาให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่
จัดทาเนื้อหาหรือข้อมูลที่เกี่ยวข้องกว้าง เจาะลึกและเหมาะสมกับกลุ่มผู้ใช้เพียงใด ครอบคลุม
ระหว่างช่วงเวลาใดบ้าง
5.2 เนื้อหา (content) พิจารณาดังต่อไปนี้
- พิจารณาว่าเป็นข้อเท็จจริงหรือความคิดเห็นของเนื้อหาโดยตรงหรือเป็นเพียง
รายการของการเชื่อมโยง
- พิจารณาความถูกต้อง แม่นยา (accuracy) โดยตรวจสอบจากแหล่งวิจารณ์
วรรณกรรมหรือข้อมูลในเนื้อหามีความเป็นอคติทางความคิดหรืออุดมการณ์หรือประชาสัมพันธ์
เรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือไม่
- ความมีอานาจ (authority) ของผู้จัดทา โดยพิจารณาจากความเชี่ยวชาญหรือ
ชื่อเสียงในเรื่องที่เผยแพร่
- ความทันสมัย (currency) จากวันเวลาที่ปรับปรุงข้อมูล
- ลักษณะพิเศษ (uniqueness) ของเนื้อหาที่แตกต่างกันจากสื่อรูปแบบอื่น
- การเชื่อมโยง (links) ภายในเนื้อหาหรือแหล่งข้อมูลอื่น
- คุณภาพการนาเสนอ (quality of writing) ในเรื่องการใช้ภาษาได้ชัดเจนและมี
เหตุผล
5.3 การออกแบบกราฟิกและสื่อประสม (graphic and multimedia design)
พิจารณาความน่าสนใจของเว็บ การนาเสนอภาพ เสียง และภาพเคลื่อนไหวเหมาะสมกับเนื้อหา
5.4 วัตถุประสงค์ (purpose) พิจารณาว่ามีการนาเสนอเพื่อวัตถุประสงค์ใด และกลุ่ม
ผู้ใช้คือใคร
5.5 บทวิจารณ์ (reviews) พิจารณาจากแหล่งวิจารณ์อื่นๆ ที่กล่าวถึงเกี่ยวกับเว็บไซต์
นั้น
5.6 การใช้งาน (workability) พิจารณาจาก
- ความสะดวกและประสิทธิภาพต่อการใช้งาน การทาจุดเชื่อมโยงหรือนาข้อมูลบน
เว็บเพจมาลงในเว็บไซต์ของห้องสมุด เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเรียกใช้ได้โดยตรง
- การเข้าใช้งานได้ง่าย (user Friendly) และสะดวก โดยไม่ต้องใช้คาสั่ง เช่น มีเมนู
คาสั่ง ปุ่มช่วยเหลือ เป็นต้น
- สามารถใช้ได้กับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และโปรแกรมที่ใช้ในรูปของเครือข่ายหรือที่
ต้องการให้ผู้ใช้มีรหัสผ่าน (password) หรือใช้ได้กับเบราเซอร์หลายชนิด
- การสืบค้น มีเครื่องมือช่วยในการสืบค้นข้อมูลจากแหล่งสารสนเทศอื่น ซึ่งมี
ลักษณะคล้ายเซิร์ชเอ็นจิน(search engine)
- เว็บไซต์สามารถโต้ตอบหรือสามารถสื่อสารสองทางกับผู้ใช้ได้
5.7 ค่าใช้จ่าย (Cost) พิจารณาจากราคาและค่าใช้จ่ายในการเข้าใช้ข้อมูลบนเว็บหรือ
ค่าใช้จ่ายในด้านลิขสิทธิ์ของการใช้ข้อมูล
6. เกณฑ์การวิเคราะห์เว็บไซต์ สุนัสรินทร์ บัวเลิศ (2543) กล่าวถึงเกณฑ์การประเมิน คุณค่า
ของสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต ดังนี้
6.1 เจ้าของสารสนเทศหรือผู้รับผิดชอบ (authorship/authority) พิจารณาจากข้อมูล
ของผู้รับผิดชอบหรือเจ้าของสารสนเทศ เพื่อทราบถึงความเชี่ยวชาญในเรื่องที่นาเสนอ วุฒิ
การศึกษาในสาขาเดียวกับเรื่องที่นาเสนอ และเป็นที่รู้จักและยอมรับอย่างกว้างขวางจากบุคคลใน
วงวิชาชีพเดียวกัน
6.2 วัตถุประสงค์ในการนาเสนอ (purpose) พิจารณาจากกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการนา
เสนอวัตถุประสงค์การนาเสนอ เช่น เพื่อให้ความรู้ โฆษณาประชาสัมพันธ์ ความบันเทิง เป็นต้น
6.3 เนื้อหาของสารสนเทศ (contents) พิจารณาจากความถูกต้อง ความทันสมัยใน
เนื้อหาของสารสนเทศ การอ้างอิงถึงแหล่งที่มาของข้อมูล ลักษณะการนาเสนอที่อ่านเข้าใจง่ายการ
สะกด การพิมพ์ที่ถูกต้อง ครอบคลุมข้อมูลในเรื่องที่นาเสนออย่างครบถ้วน
6.4 มุมมองหรือทัศนคติ (point of view or bias) พิจารณาจากความเป็นกลางของ
เนื้อหาลักษณะการนาเสนอ แหล่งที่มาของสารสนเทศ เช่น จากร้านค้า ผู้จัดจาหน่ายข้อมูลนา
เสนอข้อมูลในลักษณะการโฆษณาชวนเชื่อเพื่อเสนอขายสินค้า เป็นต้น
6.5 โครงสร้างและองค์ประกอบของข้อมูล (structure & elements) พิจารณาจาก
องค์ประกอบของข้อมูลที่ครบถ้วน เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย ความยากง่ายในการเข้าถึง เช่น
เวลาที่ใช้ในการดึงข้อมูล ฐานข้อมูลหรือเครื่องมือในการค้นหา ปริมาณสารสนเทศ การวางรูปแบบ
สารสนเทศ และภาพประกอบที่เหมาะสมกับเนื้อหาและกลุ่มเป้าหมาย มีการเชื่อมโยงไปยัง
แหล่งข้อมูลอื่นที่มีความสัมพันธ์ในเนื้อหาเดียวกัน
ที่มา : มะลิวรรณ ระหูภา. การพัฒนาเว็บไซต์และฐานข้อมูลโบราณวัตถุ: กรณีศึกษา
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติบ้านเชียง. วิทยานิพนธ์ศิลปะศาสตรมหาบัณฑิต. แขนงวิชาสารสนเทศ
ศาสตร์ สาขาศิลปศาสตร์. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554
การออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์
เว็บไซต์คือแหล่งที่ร่วมหน้าเว็บจานวนมากมายหลายหน้าในเรื่องเดียวกันมารวมอยู่ด้วยกัน
แต่สิ่งหนึ่งในการนาเสนอเรื่องรวมที่อยู่บนเว็บไซต์ที่แตกต่างไปจากโปรแกรมโทรทัศน์เนื้อหาใน
นิตยสารหรือหนังสือพิมพ์ คือการทางานบนเว็บจะไม่มีวันสิ้นสุดลง ทั้งนี้เนื่องจากเราสามารถเพิ่ม
หน้าเว็บไซต์เพิ่มเติมสารสนเทศที่ทันสมัย เปลี่ยนภาพกราฟิก ฯลลฯ ได้อยู่ตลอดเวลา จึงนับเป็น
การท้ายทายความคิดสร้างสรรค์ของนักออกแบบอย่างมากในงานที่ขยายวงกว้างเช่นนี้ ดังนั้นการ
ออกแบบเว็บไซต์จึงเป็นสิ่งสาคัญมากอย่างหนึ่งที่ควรคานึงก่อนที่จะลงราบละเอียดในเว็บไซต์แต่
ละหน้าต่อไปตามลักษณะที่แท้จริงแล้ว เวิล์ดไวด์เว็บประกอบด้วยหน้าเอกสารจานวนมากมาย
หลายล้านหน้า ซึ่งมีลักษะเช่นเดียวกับหน้าเอกสารที่ใช้พิมพ์ด้วยโปรแกรมประมวลคานั้นเอง หน้า
เอกสารแต่ละหน้าเหล่านี้จะมีการเชื่อมโยงกันเพื่อให้ผู้อ่านสามารถอ่านได้ในเวลาอันรวดเร็ว
เอกสารที่มีความเกี่ยวข้องและเชื่อมโยงกนเหล่านี้จะอยู่รวมกันเรียกว่า “เว็บไซต์” หรือที่อยู่เว็บซึ่ง
เป็นที่รวบรวมเอกสารนั้นอยู่ในเครื่องบริการอินเตอร์เน็ตปกติแล้วในแต่ละเว็บไซต์จะมี “โฮมเพจ”
หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “หน้าต้อนรับ” ซึ่งปรากฎเป็นหน้าแรกเมื่อเปิดเว็บไซต์นั้นขึ้นมาในหน้า
โฮมเพจจะเปรียบเสมือนเป็นหน้าสารบัญเพื่อบอกกล่าวหัวข้อเรื่องราวเกี่ยวกับเว็บไซต์นั้น แต่ใน
บางเว็บไซต์จะมีหน้านาเข้ารวมอยู่ด้วย หน้านาเข้าเปรียบเสมือนเป็นชื่อเรื่องของหนังสือก่อนที่จะ
นาเข้าไปสู่หน้าโฮมเพจ
หลักในการออกแบบเว็บไซต์
ตามที่ได้กล่าวมาแล้วว่า เว็บไซต์เป็นแหล่งรวบรวมหน้าเว็บจานวนมากมายหลายหน้าใน
เรื่องเดียวกันมารวมอยู่ด้วยกัน แต่การทางานบนเว็บจะไม่มีวันสิ้นสุดเนื่องจากนักออกแบบ
สามารถปรับปรุงทุกอย่างบนหน้าเว็บไซต์ได้ตลอดเวลา ดังนั้นการออกแบบเว็บไซต์จึงต้องการ
เริ่มต้นที่ดีโดยคานึงถึงหลักการต่างๆ ซึ่งแบ่งเป็นหัวข้อใหญ่ได้ดังนี้
1. การวางแผ่นล่วงหน้า การทางานใดๆก็ตามย่อมต้องมีการวางแผนไว้เพื่อจัดขั้นตอนในการ
ทางานและเป็นแนวทางให้สามารถดาเนินงานไปได้ด้วยความสะดวกรวดเร็ว ถ้าไม่มีการวางแผนไว้
ก่อน คือ มีการสร้างเค้าโครง การสร้างเค้าโครงนี้จะช่วยให้เราเห็นส่วนต่างๆของโครงการได้อย่าง
รวดเร็วโดยยังไม่ต้องสร้างหน้าเว็บจริง และช่วยให้สามารถรวบรวมจัดระเบียบโครงสร้างต่างๆของ
เว็บไซต์ได้อย่างรวดเร็วและง่ายดาย มีการเก็บรวบรวมวัสดุ เพราะเราจาเป็นที่จะต้องเก็บรวบรวม
เนื้อหาต่างๆให้เรียบร้อยก่อนเริ่มทางานจริง ทั้งนี้ย่อมขึ้นอยู่กับเค้าโครงที่ร่างไว้ว่าต้องการสิ่ง
ใดบ้างในการทางานนี้ แล้วสร้างรายการของสิ่งต่างๆที่ต้องการใช้ในเว็บไซต์
2.รวบรวมจัดระเบียบ ภายหลังเมื่อวางแผนและเก็บรวบรวมวัสดุต่างๆ ที่จาเป็นต้องใชใน
การสร้างเว็บไซต์เรียบร้อยแล้วสิ่งแรกก่อนที่จะมีการสร้างเว็บไซต์ได้นั้น นักออกแบบจาเป็นต้อง
ทาการจัดระเบียบเพื่อความสะดวกในการทางาน คือ ควรมีการรวบรวมแฟ้มซึ่งในการรวบรวม
แฟ้มข้อมูลต่างๆ ควรทาการจัดเก็บรวมกันไว้ในโฟลเดอร์ใหญ่ แต่สาหรับเว็บไซต์ เราควรจะสร้าง
โฟลเดอร์ย่อยต่างหากหรือเว็บไซต์นั้นมีขนาดใหญ่เพียงพอที่จะแตกย่อยลงไป เป็นส่วนต่างๆอีก
โดยแต่ละส่วนนั้นจะมีแฟ้มเฉพาะของตนเอง
3. การนาทาง การออกแบบเครื่องมือนาทางเพื่อให้การสารวจเว็บไซต์เป็นไปด้วยความ
สะดวกรวดเร็วและไม่เกิดการหลงทางนับว่าเป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่งทั้งนี้ เพราะจะเป็นประโยชน์แก่
ผู้อ่านในการเข้าถึงข้อมูลต่างๆ ได้โดยง่าย และเป็นสิ่งดึงดูดใจเพื่อมิให้ผู้อ่านเกิดความเบื่อหน่ายจน
คลิกผ่านเว็บไซต์นั้นไปเลย และจะเป็นการดีกว่าถ้าจะใช้เครื่องมือนาทางที่เป็นข้อความในการ
เชื่อมโยง เพราะฉะนั้นแล้วเครื่องมือนาทางที่เป็นกราฟิกนั้นจะมีขนาดใหญ่มากเกินไปและจะทาให้
เสียเวลาในการดาวโหลด
4. เกณฑ์มาตรฐาน การออกแบบเว็บไซต์ที่ดีนั้นควรมีเกณฑ์มาตรฐานของสิ่งต่างๆ ที่อยู่ใน
โครงสร้างเว็บนั้นเพื่อไม่สร้างความสับสนให้แก่ผู้ออกแบบเองและผู้อ่านด้วย เช่น ควรมีความคงตั้ง
ทั้งเว็บไซต์ เนื่องจาก ความคงตัวนับเป็นสิ่งสาคัญในการออกแบบและเป็นสิ่งสาคัญมากสูงสุดใน
การออกแบบหรือมีการกาหนดความกว้างมาตรฐานโดยผู้ออกแบบควรจะตัดสินใจให้ได้ว่าจะใช้
ความกว้างจุดภาพเท่าใดในเว็บไซต์นั้นก่อนเริ่มการออกแบบหน้าแต่ละหน้า รวมถึงในส่วนของ
แบบการพิมพ์หรือแบบตัวอักษรเพื่อความคงตัวในเว็บไซต์ โดยการลาดับขั้นของการพิมพ์หัวเรื่อง
หัวข้อใหญ่ หัวข้อย่อย และเนื้อเรื่องให้มีความแตกต่างกันและใช้ตรงกันในทุกๆหน้าเพื่อให้ผู้อ่าน
สังเกตเห็นได้ง่ายในลาดับขั้นความสาคัญของเนื้อหา
5. ผู้อ่าน เนื่องจากเวิล์ดไวด์เว็บเป็นสิ่งที่ทุกคนในส่วนต่างๆของโลกสามารถเข้าถึงได้โดยไม่
มีขีดจากัด จึงอาจเป็นความลาบากของนักออกแบบในการที่จะตอบสนองความต้องการของผู้อ่าน
ในทุกระดับได้ แต่ถ้านักออกแบบคานึงถึงแนวทางบางประการเกี่ยวกับผู้อ่านแล้วสามารถออกแบ
เว็บไซต์นั้นให้เป็นประโยชน์กับผู้อ่านส่วนมากได้โดยเราต้องคานึงถึงลักษณะผู้อ่าน ดังนั้น ถ้า
เป็นไปได้แล้วควรจะมีการทดลองเว็บไซต์นั้นกับวัสดุและอุปกรณ์ที่แตกต่างกันและพยายามค้นหา
ให้ทราบว่าผู้อ่านส่วนมาก เข้าถึงเว็บไซต์ของเราด้วยวัสดุและอุปกรณ์สิ่งใดทั้งหมดที่กล่าวมานี้
นับเป็นแนวทางเบื้องต้นก่อนที่จะถึงการออกแบบหน้าเว็บทั้งนี้เพราะการออกแบบเว็บไซต์ โดย
คานึงถึงรายละเอียดต่างๆ ก่อนที่จะลงลึกหน้าเว็บแต่ละหน้านับเป็นแกนหลักสาคัญในการ
ดาเนินการทั้งหมด ถ้าผู้ออกแบบไม่สามารถรักษาแนวทางหรือกาหนดสิ่งๆในเว็บไซต์ไว้ได้แล้ว ก็
อาจทาให้เกิดความลาบากและขัดข้องในการออกแบบหน้าเว็บในภายหลัง
การใช้สีบนเว็บไซต์
การเลือกใช้สีที่ดีที่สุดในการสร้างเว็บไซต์ คือ เลือกสีที่แสดงถึงความรู้สึกและคุณลักษณะ
ทั้งหมดของเว็บไซต์นั้น เมื่อมีการสร้างภาพกราฟิกสาหรับชื่อเรื่อง หัวเรื่องย่อย และลักษณ์รูปนา
ทางเราควรใช้สีจากแบบแผนสี เพื่อเป็นสีนาของกราฟิก สิ่งนี้จะช่วยให้ในแต่ละหน้ามองดูและให้
ความรู้สึกที่คล้ายคลึงกันไม่ว่าเนื้อหาในแต่ละหน้าจะมีความแตกต่างกันเพียงใดก็ตามสิ่งที่ควร
คานึงถึงอย่างหนึ่งในการทางานเกี่ยวกับสี คือ ความเปรียบต่าง เช่นข้อความควรมีความเปรียบต่าง
ที่ดีระหว่างสีของตัวอักษรและสีพื้นหลัง การใช้สีร่วมกันของข้อความและพื้นหลังบางสีจะไม่ทาให้
เกิดความไม่สบายตาเวลาอ่าน เช่น การใช้ข้อความสีม่วงเข้มบนพื้นหลังสีดาทาให้มองดูน่าตกใจ
และทาให้ไม่น่าอ่าน เราสามารถที่จะเสนอสิ่งพิมพ์หลากสีสันบนเว็บไซต์ได้ แต่การที่จะเพิ่มสีสัน
บนเว็บไซต์นี้เราต้องทราบถึงเทคโนโลยีของสีที่ใช้บนเว็บไซต์เสียก่อน
ที่มา : (วีระ ไวษยดารง.โครงการออกแบบเว็บไซต์ เพื่อประชาสัมพันธ์ผลงาน นักศึกษา
สาขาวิชาศิปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์).มหาวิทยาลัยจันทรเกษม.2551)
การออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์ควรคานึงถึงการใช้หลักเพื่อกาหนดองค์ประกอบภายในเว็บไม่ว่าจะ
ออกแบบอย่างไร ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสร้างเว็บเพจเป็นสิ่งจะเป็นซึ่งปัจจุบันสามารถทาได้
ง่ายโดยไม่จาเป็นต้องพึ่งพาความรู้ทางการเขียนโปรแกรม HTML อย่างแต่ก่อน เพียงรู้หลัก
เบื้องต้นบ้างเล็กน้อยก็เยงพอที่จะพัฒนาเว็บเพจได้ดีในระดับหนึ่งแล้ว โปรแกรมที่จะช่วยพัฒนา
เว็บมีอยู่มากมายพอสมควรที่จะเลือกใช้ได้ตามความถนัดของผู้ที่ที่จะลองพัฒนาเว็บเพจ ดังนั้นเมื่อ
จะลองเริ่มต้นสร้างเว็บเพจให้มีความเหมาะสมควรคานึงถึงสิ่งต่อไปนี้
สิ่งที่ต้องคานึงถึงในการออกแบบโฮมเพจ ความแปลก ความแตกต่าง (Contrast) คือแยก
ความแตกต่างที่อยู่บนจอภาพให้เห็นชัดเจน เช่น การใช้ตัวหนังสือ ส้น สี ขนาด ฯลฯ เพราะจะ
สามารถดึงดูดความสนใจได้ดี
1. การย้าซ้า (Repetition) คือ แบบแผนหรือสไตล์ของผู้ออกแบบ จะต้องมีลักษณะรูปแบบ
สอดคล้องกันทั้งหมด
2. การจัดแถว การวางแนว (Alignment) คือ การจัดการองค์ระกอบต่างๆ ต้องไม่
สะเปะสะปะ ไร้เหตุผล ไม่ขัดกับความรู้สึกของผู้อ่าน จัดให้ดูหน้าอ่าน
3. ความใกล้เคียง ความเกี่ยวเนื่อง (Proximity) คือการจัดการองค์ประกอบที่เกี่ยวเนื่องกันให้
เป็นกลุ่มก้อนเดียวกัน
หลักการออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์นั้นไม่ได้หมายถึงลักษณะหน้าตาของเว็บไซต์เพียงอย่างเดียว แต่
เกี่ยวข้องตั้งแต่การเริ่มต้นกาหนดเป้าหมายของเว็บไซต์ ระบุกลุ่มผู้ใช้ การจัดระบบข้อมูล การ
สร้างระบบเนวิเกชันการออกแบบหน้าเว็บ รวมไปถึงการใช้กราฟิก การเลือกใช้สี และการ
จัดรูปแบบตัวอักษร นอกจากนั้นยังต้องคานึงถึงความแตกต่างของสื่อกลางในการแสดงผลเว็บไซต์
ด้วย สิ่งเหล่านี้ได้แก่ ชนิดและรุ่นของบราวเซอร์ ขนาดของหน้าจอมอนิเตอร์ ความละเอียดของสี
ในระบบ รวมไปถึง Plug-in ชนิดต่าง ๆ ที่ผู้ใช้มีอยู่ เพื่อให้ผู้ใช้เกิดความสะดวกและความพอใจที่
จะท่องไปในเว็บไซต์นั้น ดังนั้นทุกสิ่งทุกอย่างในเว็บไซต์ทั้งที่คุณมองเห็นและมองไม่เห็นล้วนเป็น
ผลมาจากกระบวนการออกแบบเว็บไซต์ทั้งสิ้น เว็บไซต์ที่ดูสวยงามหรือมีลูกเล่นมากมายนั้น
อาจจะไม่นับเป็นการออกแบบที่ดีก็ได้ ถ้าความสวยงามและลูกเล่นเหล่านั้นไม่เหมาะสมกับลักษณ์
ของเว็บไซต์ ด้วยเหตุนี้จึงเป็นเรื่องยากที่จะระบุว่าการออกแบบเว็บไซต์ที่ดีนั้นเป็นอย่างไร
เนื่องจากไม่มีหลักเกณฑ์แน่นอนที่จะใช้ได้กับทุกเว็บไซต์ แนวทางการออกแบบบางอย่างที่
เหมาะสมกับเว็บไซต์หนึ่ง อาจจะไม่เหมาะกับอีก เว็บไซต์หนึ่งก็ได้ ทาให้แนวทางในการออกแบบ
ของแต่ละเว็บไซต์นั้นแตกต่างกันไปตามเป้าหมาย และลักษณะของเว็บไซต์นั้น เว็บไซต์บางแห่ง
อาจต้องการความสนุกสนาน บันเทิง ขณะที่เว็บอื่นกลับต้องการความถูกต้อง น่าเชื่อถือเป็นหลัก
ดังนั้นอาจสรุปได้ว่าการออกแบบที่ดีก็คือ การออกแบบให้เหมาะสมกับเป้าหมายและลักษณะของ
เว็บไซต์ โดยคานึงถึงความสะดวกในการใช้งานของผู้ใช้เป็นหลัก
1. องค์ประกอบของการออกแบบเว็บไซต์อย่างมีประสิทธิภาพ
องค์ประกอบต่อไปนี้ถือเป็นพื้นฐานที่สาคัญของเว็บไซต์ที่ได้รับการออกแบบมาอย่างมี
ประสิทธิภาพ
1) ความเรียบง่าย (Simplicity) หลักที่สาคัญของความเรียบง่าย คือ การสื่อสารเนื้อหา
ถึงผู้ใช้โดยจากัดองค์ประกอบเสริม ที่เกี่ยวข้องกับการนาเสนอให้เหลือเฉพาะสิ่งที่จาเป็นเท่านั้น
เช่น การใช้รูปภาพที่เกี่ยวกับองค์กรเพียงอย่างเดียวในการนาเสนอ
2) ความสม่าเสมอ (Consistency) คือ การใช้รูปแบบเดียวกันตลอดทั้งเว็บไซต์
เนื่องจากผู้ใช้จะรู้สึกกับเว็บไซต์ว่าเป็นเสมือนสถานที่จริง ถ้าลักษณะของแต่ละหน้าในเว็บไซต์
เดียวกันนั้นแตกต่างกันมาก ผู้ใช้ก็จะเกิดความสับสนและไม่แน่ใจว่ากาลังอยู่ในเว็บเดิมหรือไม่
ดังนั้นรูปแบบของหน้า สไตล์ของกราฟิกระบบเนวิเกชัน และโทนสีที่ใช้ควรจะมีความคล้ายคลึงกัน
ตลอดทั้งเว็บไซต์ การมีรูปแบบในแต่ละหน้าที่ไม่เหมือนกัน จนทาให้ไม่แน่ใจว่ายังอยู่ในเว็บเดิม
หรือเปล่า เมื่อออกแบบโครงสร้างของหน้าเว็บเพจ รูปแบบของกราฟิก ลักษณะตัวอักษร โทนสี
และองค์ประกอบอื่น ๆ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ก็ควรนาลักษณะดังกล่าวไปใช้กับทุก ๆ หน้าให้เป็น
มาตรฐานเดียวกันตลอดทั้งเว็บไซต์ เพื่อเป็นเอกลักษณ์ให้ผู้ใช้สามารถจดจาลักษณะของเว็บไซต์ได้
ดียิ่งขึ้น นอกจากนั้นความสม่าเสมอของโครงสร้างหน้าเว็บ และระบบเนวิเกชันก็จะทาให้ผู้ใช้รู้สึก
คุ้นเคย และสามารถคาดการณ์ลักษณะของเว็บได้ล่วงหน้า ซึ่งจะช่วยให้การท่องเว็บเป็นไปอย่าง
สะดวก ในทางเทคนิคสามารถใช้ Cascading Style Sheet (CSS) ช่วยในการกาหนดสไตล์
มาตรฐานให้กับองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น ตัวอักษร สี หรือตาราง โดยที่กาหนดรูปแบบเพียงครั้ง
เดียว แล้วสามารถนาไปใช้ได้กับข้อมูลทั้งหมดในเว็บไซต์ ทาให้เกิดความสะดวกในการออกแบบ
และยังง่ายต่อการเปลี่ยนแปลงในภายหลัง
3) ความเป็นเอกลักษณ์ (Identity) การออกแบบต้องคานึงถึงลักษณะขององค์กร
เนื่องจากรูปแบบของเว็บไซต์สามารถสะท้อนถึงเอกลักษณ์ และลักษณะขององค์กรนั้นได้ โดยการ
ใช้สี และสัญลักษณ์ขององค์กรเป็นส่วนประกอบ
4) เนื้อหาที่มีประโยชน์ (Useful Content) เนื้อหาถือเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดในเว็บไซต์
ดังนั้นในเว็บไซต์ควรจัดเตรียมเนื้อหาและข้อมูล ที่ผู้ใช้ต้องการให้ถูกต้องและสมบูรณ์ โดยมีการ
ปรับปรุงและเพิ่มเติมให้ทันต่อเหตุการณ์อยู่เสมอ เนื้อหาที่สาคัญที่สุดคือ เนื้อหาที่สร้างขึ้นมาเอง
โดยทีมงานของคุณและไม่ซ้ากับเว็บอื่นเพราะจะเป็นสิ่งที่ดึงดูดผู้ใช้ให้เข้ามาในเว็บไซต์อยู่เสมอ
5) ระบบเนวิเกชันที่ใช้งานง่าย (User-Friendly Navigation) ระบบเนวิเกชันเป็น
องค์ประกอบที่สาคัญมากของเว็บไซต์ จะต้องออกแบบให้ผู้ใช้เข้าใจได้ง่ายและใช้งานสะดวก โดย
ใช้กราฟิกที่สื่อความหมายร่วมกับคาอธิบายที่ชัดเจน รวมทั้งมีรูปแบบและลาดับของรายการที่
สม่าเสมอ
6) มีลักษณะที่น่าสนใจ (Visual Appeal) เป็นเรื่องยากที่จะตัดสินว่าลักษณะ
หน้าตาของเว็บไซต์น่าสนใจหรือไม่ เพราะเกี่ยวข้องกับความชอบของแต่ละบุคคลอย่างไรก็ตาม
หน้าตาของเว็บไซต์จะมีความสัมพันธ์กับคุณภาพขององค์ประกอบต่าง ๆ
7) การใช้งานอย่างไม่จากัด (Compatibility) ควรออกแบบเว็บไซต์ให้ผู้ใช้ส่วนใหญ่
เข้าถึงได้มากที่สุด โดยไม่มีการบังคับให้ผู้ใช้ต้องติดตั้งโปรแกรมใด ๆ เพิ่มเติม หรือต้องเลือกใช้
บราวเซอร์ชนิดใดชนิดหนึ่งจึงจะสามารถเข้าถึงเนื้อหาได้ สามารถแสดงผลได้ในทุก
ระบบปฏิบัติการและที่ความละเอียดหน้าจอต่างกันอย่าง
ไม่มีปัญหา
8) คุณภาพในการออกแบบ (Design Stability) ถ้าต้องการให้ผู้ใช้รู้สึกว่าเว็บไซต์ที่มี
คุณภาพ ถูกต้อง และเชื่อถือได้ ก็ควรให้ความสาคัญกับการออกแบบเว็บไซต์เป็นอย่างมาก เช่น
การรักษาคุณภาพความเป็นเอกลักษณ์ขององค์กร การออกแบบส่วนเชื่อมโยง การออกแบบชุดสี
การออกแบบกล่องโต้ตอบ ฯลฯ เหล่านี้ล้วนเป็นสิ่งจาเป็นทั้งสิ้น
9) ระบบการใช้งานที่ถูกต้อง (Functional Stability) ระบบการทางาน ในเว็บไซต์
จะต้องมีความแน่นอน และทาหน้าที่ได้อย่างถูกต้องทาให้ผู้ใช้ไม่รู้สึกหลงทางขณะใช้งานเว็บไซต์
ซึ่งระบบการทางานที่ถูกต้องเป็นส่วนทีเกี่ยวเนื่องกับการออกแบบระบบเนวิเกชัน
2. กระบวนการพัฒนาเว็บไซต์ กระบวนการพัฒนาเว็บไซต์ เป็นกระบวนการที่อาศัยหลักการ
จัดระบบโครงสร้างข้อมูล (Information Architecture) อยู่ในหลาย ๆ ส่วน ตั้งแต่ขั้นแรกจนถึง
ขั้นที่ได้เป็นรูปแบบ
โครงสร้างสุดท้าย (Final Architecture Plan) ซึ่งถือเป็นกระบวนการที่สาคัญมากที่จะทาให้
เว็บไซต์บรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ การจัดระบบโครงสร้างข้อมูล คือ การพิจารณาว่าเว็บไซต์ควร
จะมีข้อมูลและการทางานใดบ้าง ด้วยการสร้างเป็นแผนผังโครงสร้างก่อนที่จะเริ่มลงมือพัฒนาเว็บ
เพจ โดยเริ่มจากการกาหนดเป้าหมายเว็บไซต์ และกลุ่มผู้ใช้เป้าหมาย ต่อมาก็พิจารณาถึงเนื้อหา
และการใช้งานที่จาเป็นแล้วนามาจัดกลุ่มให้เป็นระบบ จากนั้นก็ถึงเวลาในการออกแบบโครงสร้าง
ข้อมูลในหน้าเว็บ ให้พร้อมที่จะนาไปออกแบบกราฟิก และหน้าตาให้สมบูรณ์ต่อไปการจัดทาระบบ
โครงสร้างข้อมูลเป็นพื้นฐานสาคัญในการออกแบบเว็บไซต์ที่ดี ที่จะช่วยพัฒนาแบบแผน
รายละเอียดข้อมูลในการออกแบบเว็บไซต์ ซึ่งได้แก่ รูปแบบการนาเสนอระบบการทางาน
แบบจาลอง ระบบเนวิเกชัน และอินเตอร์เฟสของเว็บ ดังนั้นการจัดระบบ
โครงสร้างข้อมูลจึงเป็นสิ่งสาคัญที่เกี่ยวข้องอยู่ในกระบวนการออกแบบเว็บไซต์
ประโยชน์ของสีในเว็บไซต์
สีเป็นเครื่องมืออเนกประสงค์อย่างหนึ่งที่มีความสาคัญมากในการออกแบบเว็บไซต์
เนื่องจากสีสามารถสื่อถึงความรู้สึกและอารมณ์ และยังช่วยสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสถานที่กับ
เวลาอีกด้วย ดังนั้นสีจึงเป็นปัจจัยสาคัญอย่างหนึ่งที่จะช่วยเสริมสร้างความหมายขององค์ประกอบ
ให้กับเว็บเพจได้ อย่างดี ประโยชน์ของสีในรูปแบบต่างๆ มีดังนี้
- สีสามารถชักนาสายตาผู้อ่านให้ไปยังทุกบริเวณในหน้าเว็บเพจ ผู้อ่านจะมีการเชื่อมโยงความรู้สึก
กับบริเวณของสีในรูปแบบที่คาดหวังได้ การเลือกเฉดสีและตาแหน่งของสีอย่างรอบคอบในหน้า
เว็บ สามารถนาทางให้ผู้อ่านติดตามเนื้อหาในบริเวณต่างๆ ตามที่เรากาหนดได้ วิธีนี้จะเป็น
ประโยชน์อย่างมากเมื่อคุณต้องการให้ผู้อ่านให้ความสนใจกับส่วนใดส่วนหนึ่งในเว็บไซต์เป็นพิเศษ
เช่น ข้อมูลใหม่ โปรโมชั่นพิเศษ หรือบริเวณที่ไม่ค่อยได้รับความสนใจมาก่อน
- สีช่วยเชื่อมโยงบริเวณที่ได้รับการออกแบบเข้าด้วยกัน ผู้อ่านจะมีความรู้สึกว่าบริเวณที่มีสี
เดียวกันจะมีความสาคัญเท่ากัน วิธีการเชื่อมโยงแบบนี้ช่วยจัดกลุ่มของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์
อย่างไม่เด่นชัดเข้าด้วยกันได้
- สีสามารถนาไปใช้ในการแบ่งบริเวณต่างๆ ออกจากกัน ทานองเดียวกับการเชื่อมโยงบริเวณที่มีสี
เหมือนกันเข้าด้วยกัน แต่ในขณะเดียวกันก็เป็นการแบ่งแยกบริเวณที่มีสีต่างกันออกจากกัน
- สีสามารถใช้ในการดึงดูดความสนใจของผู้อ่านสายตาผู้อ่านมักจะมองไปยังสีที่มีลักษณะเด่น หรือ
ผิดปกติเสมอ การออกแบบเว็บไซต์ด้วยการเลือกใช้สีอย่างรอบคอบ ไม่เพียงแต่จะกระตุ้นความ
สนใจของผู้อ่านเพียงเท่านั้น แต่ยังช่วยหน่วงเหนี่ยวให้พวกเขาอยู่ในเว็บไซต์ได้นานยิ่งขึ้น ส่วน
เว็บไซต์ที่ใช้สีไม่เหมาะสม เสมือนเป็นการขับไล่ผู้ชมไปสู่เว็บอื่นที่มีการออกแบบที่ดีกว่า
- สีสามารถสร้างอารมณ์โดยรวมของเว็บเพจ และกระตุ้นความรู้สึกตอบสนองจากผู้ชมได้
นอกเหนือจากความรู้สึกที่ได้รับจากสีตามหลักจิตวิทยาแล้ว ผู้ชมยังอาจมีอารมณ์และความรู้สึก
สัมพันธ์กับสีบางสีหรือบางกลุ่มเป็นพิเศษ
ที่มา : (ประพัฒน์ ศรีสวัสดิ์.โครงการออกแบบเว็บไซต์สานักศิลปะและวัฒนธรรม.สาขาศิลป์
กรรม.มหาวิทยาลัยจันทรเกษม.2550)
การออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์เป็นการกาหนดรูปแบบการนาเสนอเนื้อหาของเว็บไซต์สามารถ
ดาเนินงานได้ดังนี้
1.การออกแบบโฮมเพจ (Homepage) เป็นหนาแรกของเว็บไซต์ ประกอบด้วยชื่อ เว็บไซต์
ตัวอักษรรูปภาพ เสียงและหัวข้อหลักของเว็บไซต์ที่เชื่อมโยงไปยังเว็บเพจหน้าต่างๆ ซึ่ง
ประกอบด้วย 3หัวข้อหลักคือ ประวัติและพัฒนาการของมหาวิทยาทยาลัยสุโขทันธรรมาธิราช
พระบาทสมเด็จ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกับการเรียนรู้ตลอดชีวิต การเชื่อมโยงหรือลิงค์ไปยังแหล่ง
เรียนรู้ออนไลน์ด้านศิลปวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัย
1.2 การออกแบบเว็บเพจ (Webpage) เป็นการสร้างหน้าเนื้อหาส่วนต่างๆ ที่เชื่อมโยง
จากโฮมเพจ ประกอบด้วย
1) ประวัติและพัฒนาการของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นาเสนอเนื้อหาเป็น4 ส่วน
ได้แก่ พระบรมวงศานุวงศ์กับมหาวิยาทยาลัยความเป็นมาของมหาวิทยาลัยการจดการศึกษา
รางวัลเกียรติยศ ชึ่งแต่ละเว็บเพจประกอบด้วยข้อความภาพประกอบที่มีความสัมพันธ์กบเนื้อหา
เสียงประกอบ การนาเสนอเป็นต้น
2) พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกับการเรียนรู้ตลอดชีวิต นาเสนอเนื้อหาเป็น 5
ส่วน ได้แก่พระราชประวัติพระราชกรณียกิจดานการศึกษา พระราชกรณียกิจด้านการปกครอง
พระราชกรณียกิจด้านศิลปวัฒนธรรม พระราชกรณียกิจด้านสารสนเทศ ซึ่งแต่ละเว็บเพจ
ประกอบด้วยข้อความภาพประกอบที่มีความสัมพันธ์กบเนื้อหาเสียงประกอบการนาเสนอ และวีดิ
ทัศน์เป็นต้น
1.3องค์ประกอบภายในเว็บเพจ เป็นการจัดวางองค์ประกอบของแต่ละเว็บเพจตาม
ตาแหน่งที่เหมาะสมและสวยงาม จัดสัดส่วนระหว่างข้อความและภาพกราฟิกให้เหมาะสม ไดแก้
ข้อความเสียง ภาพนิ่ง ภาพกราฟิกและภาพเคลื่อนไหวเป็นต้น
1.4 การเชื่อมโยงเป็นการกาหนดการเชื่อมโยงจากข้อความรูปภาพ ภายในเว็บเพจเดียวกัน
และไปยงเว็บเพจอื่นที่อยู่ภายในเว็บไซต์เดียวกัน รวมถึงการเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์อื่นๆ
การออกแบบเว็บไซต์
สีสันมีความสอดคล้องและไปในทางเดียวกับรูปแบบ และกรอบความคิดของเว็บไซต์การใช้
สีสันในเว็บไซต์มีความกลมกลืนและสอดคล้องกัน, รูปภาพในหน้าแรกของเว็บไซต์ มีขนาดภาพที่
เหมาะสมกับเว็บไซต์, รูปภาพในเว็บไซต์ที่ใช้มีขนาดไฟล์ไม่ใหญ่, รูปภาพมีความสอดคล้องกับ
รูปแบบของเว็บไซต์, การใช้รูปแบบตัวหนังสือที่เป็นมาตรฐาน, รูปแบบการออกแบบที่มีความ
กลมกลืนกันทั้งเว็บไซต์, การใช้สีสันหรือการมีสไตล์ของเว็บตัวเองได้อย่างโดดเด่นชัด, โลโก้และชื่อ
เว็บไซต์มีความโดดเด่นและสอดคล้องกับรูปแบบของเว็บไซต์, การออกแบบภายในเว็บไซต์มีความ
สอดคล้องกันอย่างกลมกลืนทางด้านรูปแบบและมุมมองรวมถึงสีสันที่ใช้และมีความสามารถในการ
รองรับเปิดชมได้อย่างถูกต้องในเบราเซอร์ที่นิยมใช้แสดงผลได้ถูกต้อง
ที่มา : (เจิมพงศ์ ใจหล้า.การพัฒนาและการประเมินผลเว็บไซต์.คณะสารสนเทศและ
การสื่อสาร.มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่)
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์เป็นการกาหนดโครงสร้างหลักที่ใช้ในการพัฒนาเว็บไซต์ที่ประกอบด้วยข้อความ
เสียง ภาพนิ่ง ภาพวีดิทัศน์ที่เกี่ยวข้องกับประวัติและพัฒนาการของมหาวิทยาลัยพระบาทสมเด็จ
พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกับการเรียนรู้ตลอดชีวิตและเชื่อมโยงหรือลิงค์ไปยังแบนเนอร์(Banner)
แหล่งเรียนรู้ออนไลน์ด้านศิลปวัฒนธรรม กระดานสนทนา (Web board) และสมุดเยี่ยม (Guest-
book) ในเครือข่ายซึ่งประกอบด้วยการเชื่อมโยงภายในเว็บเพจเดียวกันการเชื่อมโยงกับเว็บเพจ
อื่นที่อยู่ภายในเว็บไซต์ เดียวกัน การเชื่อมโยงไปยงเว็บไซต์อื่นๆ ในส่วนของเสียงและวีดิทัศน์ใช้
โปรแกรมเรียลเพลเยอร์ในการเปิดฟังหรือชมโดยมีขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
แนวทางในการพัฒนาเว็บไซต์
ไวเลย์ (Wiley. 1998 : 24) มีแนวคิดเกี่ยวกับแนวทางในการพัฒนาเว็บไซต์ 3 แนวทาง คือ การ
พัฒนาเว็บไซต์ที่เกิดขึ้นโดยมิได้ตั้งใจ เป็นการพัฒนาเว็บไซต์ในระยะแรกที่มีการใช้ระบบเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต ซึ่งเกิดจากการที่ผู้พัฒนาได้มีประสบการณ์ในการใช้ประโยชน์จากอินเทอร์เน็ต และ
เกิดความประสงค์ที่จะนาเสนอสารสนเทศของตน จึงได้พัฒนาเว็บไซต์ขึ้นการพัฒนาเว็บไซต์ตาม
ความต้องการของผู้บริหารหรือความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเป็นการพัฒนาเว็บไซต์ขึ้นตาม
แนวทางนี้มีความต้องการเพียงการนาเสนอสารสนเทศขององค์กรผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
เท่านั้นการพัฒนาเว็บไซต์อย่างมีแบบแผน เป็นการพัฒนาเว็บไซต์ที่ผู้พัฒนาตระหนักถึงประโยชน์
ของเว็บไซต์ในการนาเสนอสารสนเทศ มีการวางแผน การออกแบบ และการพัฒนาตาม
วัตถุประสงค์ขององค์กรอย่างเป็นกิจจะลักษณะ
ไคล์ด (Clyde. 2000 : 98) ผู้เชี่ยวชาญแห่งมหาวิทยาลัยไอซ์แลนด์ ได้แนะนาวัฏจักรของ
การพัฒนาเว็บไซต์ คือ การกาหนดจุดมุ่งหมาย/วัตถุประสงค์ การวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้
การกาหนดเนื้อหาและหรือการบริการ การจัดการข้อมูล การออกแบบ การลงรหัสเอชทีเอ็มแอล
การทดสอบและแก้ไขปรับปรุง การเผยแพร่ การบารุงรักษาเว็บไซต์ และการประเมิน
ฮูจซ์ตัน (Houghton. 2000 : 269-280) หัวหน้าโครงการห้องสมุดดิจิทัล มหาวิทยาลัยเด
อมองท์ฟอร์ท ได้อธิบายขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ของห้องสมุดมหาวิทยาลัยเดอมอนท์ฟอร์ท
โดยมีขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ 5 ขั้นตอน คือการวางแผน การออกแบบระบบการรักษาความ
ปลอดภัย การบารุงรักษา และการพัฒนาในอนาคต
การ์ลอค และเพียนเทค (Garlock and Piontek. 1996 : 3-5) ได้แนะนาขั้นตอนในการ
สร้างบริการพื้นฐานบนเว็บไซต์ของห้องสมุด 5 ขั้นตอน คือ การวางแผน การนาเสนอแผนและให้
ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ การจัดเตรียมเนื้อหา การออกแบบ และการบารุงรักษาเว็บไซต์
โกลด์ดิง, คาร์เตอร์ และโคอินา (Golding, Carter and Koina. 2000 : 51) ได้แนะ
แนวทางในการจัดการเว็บไซต์ 5 ขั้นตอน คือ การสรุปเกี่ยวกับการบริหาร การวิเคราะห์ความ
ต้องการ การออกแบบและการปรับปรุง การวางแผนในการบารุงรักษา และการพัฒนาเว็บไซต์ใน
อนาคต
ธวัชชัย ศรีสุเทพ (2544 : 31) กล่าวว่ามีกระบวนการในการพัฒนาเว็บไซต์ ดังนี้
1. สารวจปัจจัยสาคัญ (Research) ซึ่งมีปัจจัยหลัก 3 ประการดังนี้
1.1 กาหนดเป้าหมายและสารวจความพร้อมของทรัพยากรที่มีอยู่ เช่น บุคลากรเงินทุน
1.2 เรียนรู้กลุ่มผู้ชมโดยการระบุกลุ่มผู้ชมและศึกษาความต้องการของกลุ่มผู้ชม
1.3 ศึกษาเว็บไซต์ของคู่แข่งโดยการสารวจและเรียนรู้เพื่อวางกลยุทธ์ในการแข่งขัน
2. พัฒนาเนื้อหา (Site content)
2.1 สร้างกลยุทธ์การออกแบบเพื่อให้ได้แนวทางในการออกแบบเว็บไซต์
2.2 หาข้อสรุปขอบเขตเนื้อหาเพื่อให้ได้ขอบเขตของเนื้อหาและการใช้งานรวมถึงได้ข้อมูล
ที่ถูกจัดอย่างเป็นระบบ
3. พัฒนาโครงสร้างเว็บไซต์ (Site structure)
3.1 จัดกลุ่มข้อมูลให้เป็นระบบเมื่อมีข้อมูลเป็นจานวนมากที่จะนามาใช้ในเว็บไซต์จะต้อง
นาข้อมูลเหล่านั้นมาจัดให้เป็นระบบเพื่อให้ได้เป็นร่างแผนผังโครงสร้าง (Draft
architectureplan) ด้วยการทดลองใช้แนวคิดหลาย ๆ แบบ มาใช้เป็นเกณฑ์ในการจัดกลุ่ม และ
ลองตั้งชื่อกลุ่มข้อมูลเหล่านั้น จากนั้นให้เปรียบเทียบแนวทางการจัดกลุ่มข้อมูลของผู้เกี่ยวข้อง ทุก
คนเพื่อหาข้อสรุปที่คนส่วนใหญ่เข้าใจได้ง่ายระบบโครงสร้างข้อมูลที่ดีจะมีส่วนช่วยให้ผู้ใช้เข้าใจ
ภาพรวมของเนื้อหาได้ดี การเลือกใช้ระบบข้อมูลแบบใดนั้นขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์และแนวคิดใน
การจัดแบ่งข้อมูลเป็นสาคัญ สาหรับเว็บไซต์ทั่วไปควรจะหาการตอบสนอง ความต้องการของผู้ใช้
ซึ่งก็คือ ผู้ใช้อยากรู้ว่าข้อมูลที่ต้องการนั้นอยู่ที่ไหนและจะเข้าถึงข้อมูลนั้นได้อย่างไร ดังนั้น การ
จัดระบบข้อมูลในเว็บไซต์เพื่อให้ง่ายต่อการค้นหา จึงเป็นสิ่งสาคัญที่จะช่วยส่งเสริมหรือช่วย
ขัดขวางความสาเร็จของเว็บไซต์นั้น ๆ ได้ การจัดระบบข้อมูลนั้นจึงมีผลต่อเนื่องมายังระบบเนวิ
เกชั่น อีกด้วย
3.2 จัดทาโครงสร้างข้อมูลด้วยการทาแผนผังโครงสร้างของเว็บไซต์ หลังจากได้จัดกลุ่ม
ข้อมูลเป็นระบบแล้ว และนาข้อมูลที่ได้มาจัดเป็นโครงสร้างเนื้อหาที่แสดงถึงกลุ่มข้อมูลและลาดับ
ขั้นของหัวข้อ ขั้นต่อมา คือ การนารายการโครงสร้างของเว็บไซต์ที่ได้จัดข้อมูลไว้แล้วมาจัดให้เป็น
แบบแผนโดยสร้างเป็นแผนผังที่แสดงถึงโครงสร้างข้อมูล ลาดับขั้นและการเชื่อมโยงของแต่ละส่วน
อย่างชัดเจนเรียกว่าแผนผังโครงสร้างเว็บไซต์ ซึ่งเป็นการแสดงภาพรวมของเว็บไซต์ในเชิงกราฟิก
โดยเริ่มจากหน้าโฮมเพจหรือหน้าเกริ่นนาไปจนถึงหน้าย่อย ๆ ทั้งหมดนอกจากนี้ยังมีการเขียน
โครงสร้างเว็บไซต์อย่างง่ายอีกรูปแบบหนึ่งที่เรียกว่า Site mapซึ่งแสดงถึงภาพรวมของเนื้อหา
หลัก ๆ ภายในเว็บไซต์ แต่ไม่มีรายละเอียดมากเท่ากับแผนผังโครงสร้างเว็บไซต์ โดยอาจจัดทาเป็น
แบบตัวหนังสือหรือแบบกราฟิกแผนผังชนิดนี้ เหมาะที่จะนาไปแสดงบนเว็บไซต์เพื่อให้ผู้ใช้เข้าใจ
โครงสร้างเนื้อหาของเว็บไซต์ได้ง่ายขึ้น
3.3 พัฒนาระบบเนวิเกชั่นเพื่อวางแนวทางในการท่องเว็บ
4. ออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ (Visual design)
4.1 ออกแบบลักษณะเว็บเพจ
4.2 พัฒนาเว็บไซต์ต้นแบบและโครงสร้างเว็บไซต์ครั้งสุดท้าย
5. พัฒนาและดาเนินการ (Production and operation)
5.1 ลงมือพัฒนาเว็บเพจเพื่อให้ได้เว็บไซต์ที่สมบูรณ์
5.2 เปิดตัวเว็บไซต์
5.3 ดูแลและพัฒนาเว็บไซต์อย่างต่อเนื่อง
ชัยยุทธ์ ลิมลาวัลย์ (2544 : 27) ได้กล่าวถึงขั้นตอนต่าง ๆ ในการพัฒนาเว็บไซต์ว่าจะต้อง
ประกอบไปด้วยองค์ประกอบหลาย ๆ ส่วน ดังนี้
1. การวิเคราะห์และการวางแผนการพัฒนาเว็บไซต์
1.1 กาหนดวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ให้ชัดเจน (Objective) มองภาพรวมของเว็บไซต์
ออกมาให้ได้ก่อนว่าเป็นลักษณะอย่างไร การกาหนดวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ เพื่อเป็นการหา
จุดเด่นของเว็บไซต์นั้นออกมา ถ้าเว็บไซต์มีความโดดเด่นเป็นเอกเทศในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ให้ทา
ระบบงานนั้นให้ดีที่สุดและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
1.2 รูปแบบเนื้อหาที่จะนาเสนอ (Content) ส่วนเนื้อหาเป็นส่วนที่สาคัญ เพราะถ้าข้อมูลที่
นามาเสนอมีความถูกต้อง อ่านเข้าใจง่าย ไม่น่าเบื่อและมีการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา จะ
ทาให้ผู้เข้ามาเยี่ยมชม คอยติดตาม
1.3 เป้าหมายของเว็บไซต์ที่พัฒนา (Target) กาหนดเป้าหมายของเว็บไซต์ และพยายามหา
กระบวนการและขั้นตอนการปฏิบัติงาน ให้บรรลุเป้าหมาย หาวิธีการหรือเทคนิคต่าง ๆมา
ผสมผสานให้งานเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด
1.4 นาเทคนิค กลยุทธ์ต่าง ๆ มาใช้กับเว็บไซต์ (Technical) ใช้เทคนิคทางด้านต่าง ๆ มา
ช่วยการทางานในระบบ เช่น การป้องกันการส่งไฟล์ที่มีจานวนมากเกินไป เป็นต้นมีข้อมูลสาระที่
น่าสนใจให้กับสมาชิก ไม่ว่าจะเป็นข่าวสารต่าง ๆ การสัมมนา เพราะสมาชิกน่าจะได้รับข่างสารที่
ทันสมัยทันเหตุการณ์จากผู้พัฒนา
1.5 สถาปัตยกรรมหรือโครงสร้างของเว็บไซต์ (Site architecture)การวางสถาปัตยกรรม
เมื่อมองเห็นระบบงานทั้งหมดแล้วเขียนออกมาเป็นภาพอย่างละเอียด เพื่อจะได้เห็นกระบวนการ
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website

More Related Content

Similar to Website

12 หลักการออกแบบเว็บ
12 หลักการออกแบบเว็บ12 หลักการออกแบบเว็บ
12 หลักการออกแบบเว็บteaw-sirinapa
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรอภิวัฒน์ ปานกลาง
 
Course Syllabus การสร้าง Home page
Course Syllabus การสร้าง Home pageCourse Syllabus การสร้าง Home page
Course Syllabus การสร้าง Home pageKhon Kaen University
 
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซบทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซTeetut Tresirichod
 
อินทุอร
อินทุอรอินทุอร
อินทุอรMiw Inthuorn
 
อินทุอร
อินทุอรอินทุอร
อินทุอรMiw Inthuorn
 
โครงสร้างเว็บไซต์
โครงสร้างเว็บไซต์โครงสร้างเว็บไซต์
โครงสร้างเว็บไซต์Pongpitak Toey
 
หน่วยที่ 02
หน่วยที่ 02หน่วยที่ 02
หน่วยที่ 02Nuytoo Naruk
 
เทคโนโลยี 3 g 5 1
เทคโนโลยี 3 g 5 1เทคโนโลยี 3 g 5 1
เทคโนโลยี 3 g 5 1Saranya Butte
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2pom_2555
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17sangkom
 
แบบโครงร่างโครงงาน
แบบโครงร่างโครงงานแบบโครงร่างโครงงาน
แบบโครงร่างโครงงานSirisuda Sirisinha
 

Similar to Website (20)

12 หลักการออกแบบเว็บ
12 หลักการออกแบบเว็บ12 หลักการออกแบบเว็บ
12 หลักการออกแบบเว็บ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
Course Syllabus การสร้าง Home page
Course Syllabus การสร้าง Home pageCourse Syllabus การสร้าง Home page
Course Syllabus การสร้าง Home page
 
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซบทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
 
อินทุอร
อินทุอรอินทุอร
อินทุอร
 
อินทุอร
อินทุอรอินทุอร
อินทุอร
 
โครงสร้างเว็บไซต์
โครงสร้างเว็บไซต์โครงสร้างเว็บไซต์
โครงสร้างเว็บไซต์
 
123
123123
123
 
She's mammai
She's mammaiShe's mammai
She's mammai
 
She's mammai
She's mammaiShe's mammai
She's mammai
 
หน่วยที่ 02
หน่วยที่ 02หน่วยที่ 02
หน่วยที่ 02
 
เทคโนโลยี 3 g 5 1
เทคโนโลยี 3 g 5 1เทคโนโลยี 3 g 5 1
เทคโนโลยี 3 g 5 1
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
 
กิจกรรมที่4
กิจกรรมที่4กิจกรรมที่4
กิจกรรมที่4
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์
 
แบบโครงร่างโครงงาน
แบบโครงร่างโครงงานแบบโครงร่างโครงงาน
แบบโครงร่างโครงงาน
 
11111111111
1111111111111111111111
11111111111
 
11111111111
1111111111111111111111
11111111111
 

More from Melody Moon

ใบความรู้ที่ 1 รู้จักรูปแบบไฟล์ภาพ ไฟล์เสียง และไฟล์วีดีโอ
ใบความรู้ที่ 1 รู้จักรูปแบบไฟล์ภาพ ไฟล์เสียง และไฟล์วีดีโอใบความรู้ที่ 1 รู้จักรูปแบบไฟล์ภาพ ไฟล์เสียง และไฟล์วีดีโอ
ใบความรู้ที่ 1 รู้จักรูปแบบไฟล์ภาพ ไฟล์เสียง และไฟล์วีดีโอMelody Moon
 
วิเคราะห์เว็บไซต์
วิเคราะห์เว็บไซต์วิเคราะห์เว็บไซต์
วิเคราะห์เว็บไซต์Melody Moon
 
อัจฉริยะสร้างได้
อัจฉริยะสร้างได้อัจฉริยะสร้างได้
อัจฉริยะสร้างได้Melody Moon
 
วิถีสร้างการเรียนรู้ ครูเพื่อศิษย์
วิถีสร้างการเรียนรู้ ครูเพื่อศิษย์วิถีสร้างการเรียนรู้ ครูเพื่อศิษย์
วิถีสร้างการเรียนรู้ ครูเพื่อศิษย์Melody Moon
 
Group9 (present) web analysis
Group9 (present) web analysisGroup9 (present) web analysis
Group9 (present) web analysisMelody Moon
 
Group9 (present) web analysis
Group9 (present) web analysisGroup9 (present) web analysis
Group9 (present) web analysisMelody Moon
 

More from Melody Moon (7)

ใบความรู้ที่ 1 รู้จักรูปแบบไฟล์ภาพ ไฟล์เสียง และไฟล์วีดีโอ
ใบความรู้ที่ 1 รู้จักรูปแบบไฟล์ภาพ ไฟล์เสียง และไฟล์วีดีโอใบความรู้ที่ 1 รู้จักรูปแบบไฟล์ภาพ ไฟล์เสียง และไฟล์วีดีโอ
ใบความรู้ที่ 1 รู้จักรูปแบบไฟล์ภาพ ไฟล์เสียง และไฟล์วีดีโอ
 
Reflection
ReflectionReflection
Reflection
 
วิเคราะห์เว็บไซต์
วิเคราะห์เว็บไซต์วิเคราะห์เว็บไซต์
วิเคราะห์เว็บไซต์
 
อัจฉริยะสร้างได้
อัจฉริยะสร้างได้อัจฉริยะสร้างได้
อัจฉริยะสร้างได้
 
วิถีสร้างการเรียนรู้ ครูเพื่อศิษย์
วิถีสร้างการเรียนรู้ ครูเพื่อศิษย์วิถีสร้างการเรียนรู้ ครูเพื่อศิษย์
วิถีสร้างการเรียนรู้ ครูเพื่อศิษย์
 
Group9 (present) web analysis
Group9 (present) web analysisGroup9 (present) web analysis
Group9 (present) web analysis
 
Group9 (present) web analysis
Group9 (present) web analysisGroup9 (present) web analysis
Group9 (present) web analysis
 

Website

  • 1. กระบวนการพัฒนา กระบวนการพัฒนาเว็บไซต์ เป็นกระบวนการที่อาศัยหลักการจัดระบบโครงสร้าง ข้อมูล (Information Architecture) อยู่ในหลาย ๆ ส่วน ตั้งแต่ขั้นแรกจนถึงขั้นที่ได้เป็นรูปแบบ โครงสร้างสุดท้าย (Final Architecture Plan) ซึ่งถือเป็นกระบวนการที่สาคัญมากที่จะทาให้ เว็บไซต์บรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ การจัดระบบโครงสร้างข้อมูล คือ การพิจารณาว่าเว็บไซต์ควร จะมีข้อมูลและการทางานใดบ้าง ด้วยการสร้างเป็นแผนผังโครงสร้างก่อนที่จะเริ่มลงมือพัฒนาเว็บ เพจ โดยเริ่มจากการกาหนดเป้าหมายเว็บไซต์ และกลุ่มผู้ใช้เป้าหมาย ต่อมาก็พิจารณาถึงเนื้อหา และการใช้งานที่จาเป็น แล้วนามาจัดกลุ่มให้เป็นระบบ จากนั้นก็ถึงเวลาในการออกแบบโครงสร้าง ข้อมูลในหน้าเว็บ ให้พร้อมที่จะนาไปออกแบบกราฟิก และหน้าตาให้สมบูรณ์ต่อไป การจัดทาระบบโครงสร้างข้อมูลเป็นพื้นฐานสาคัญในการออกแบบเว็บไซต์ที่ดี ที่จะช่วยพัฒนาแบบ แผนรายละเอียดข้อมูลในการออกแบบเว็บไซต์ ซึ่งได้แก่ รูปแบบการนาเสนอระบบการทางาน แบบจาลอง ระบบเนวิเกชัน และอินเตอร์เฟสของเว็บ ดังนั้นการจัดระบบโครงสร้างข้อมูลจึงเป็น สิ่งสาคัญที่เกี่ยวข้องอยู่ในกระบวนการออกแบบเว็บไซต์ ที่มา : สาวิตรี เตชะคา. การออกแบบเว็บไซต์สาหรับองค์กรพัฒนาสังคม: กรณีศึกษา มูลนิธิรักษ์เด็ก. วิทยานิพนธ์ศิลปะศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาสื่อศิลปะและการออกแบบสื่อ. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2551
  • 2. ประเภทของเว็บไซต์ อินเตอร์เน็ตเป็นศูนย์รวมข้อมูลข่าวสารที่สามารถเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ทุกมุมโลก อินเตอร์เน็ตแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างและความหลากหลายของเว็บที่ล้วนแล้วแต่สร้างขึ้นมา เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าและผู้ให้บริการ เราสามารถแบ่งประเภทของเว็บไซต์ได้ ดังนี้ 1. Information sites คือ เว็บไซต์ผู้ให้บริการเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร เช่น หนังสือพิมพ์ โทรทัศน์ วิทยุ นิตยสาร วารสาร หรือหน่วยงานเกี่ยวกับผู้ให้บริการข้อมูลข่าวสารอื่นๆ ขององค์กร เว็บประเภทนี้มีจานวนมากที่สุดในอินเตอร์เน็ต 2. Transactional sites คือ เว็บไซต์ประเภทที่สามารถใช้เพื่อการติดต่อทางธุรกิจการค้า การลงทุนของภาคธุรกิจโดยเป็นผู้ชักนา แนะนานักลงทุน 3. Community sites คือ เว็บไซต์ของกลุ่มบุคคล สมาคม ชมรม คณะบุคคล ซึ่งมี ลักษณะนิติบุคคลและการสนับสนุนหน่วยงานต่างๆเกี่ยวกับสังคมหรือชุมชน ลัทธิ ความเชื่อ ศาสนา กลุ่มเพื่อน 4. Entertainment sites คือ เว็บไซต์ที่ให้ความบันเทิง เกมส์ ดนตรี เพลง เรื่องตลขบขัน ภาพยนตร์ เครื่องเสียงหรือแนวบันเทิงต่างๆ รวมไปถึงกลุ่มชมรมและหน่อยข้อมูลข่าวสารด้าน ความบันเทิง 5. Other sites ประกอบด้วย เว็บไซต์เกี่ยวกับศิลปะ การแสดงออก รสนิยม ศาสนาสถาน ประติมากรรม หรือเว็บการทดลองความสามารถ เว็บไซต์ส่วนบุคคล เช่น เว็บไซต์ของสามัญชน ทั่วไป เว็บไซต์การจัดประชุม ฯลฯ ที่มา : สายธาร สุเมธอธิคม และคณะ. ปัญหาและความต้องการของนักศึกษาและ อาจารย์ในการใช้เว็บไซต์งานทะเบียน. วิจัยกลุ่มทะเบียนและประมวลผล สานักส่งเสริมวิชาการ และงานทะเบียน. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระนคร, 2552
  • 3. การประเมินเว็บไซต์ การประเมินเว็บไซต์ เป็นการวัดประสิทธิภาพและประสิทธิผลของเว็บไซต์ อันจะเป็น แนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ ห้องสมุดสามารถวางแผนการประเมินผลในด้านต่างๆ เช่น การประเมินผลการออกแบบ การประเมินเนื้อหา การประเมินประสิทธิภาพ การเข้าถึง สารสนเทศ เป็นต้น งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการประเมินเว็บไซต์สามารถจาแนกการประเมินด้าน ต่างๆ ได้ดังต่อไปนี้ 1. การประเมินความพึงพอใจและความต้องการของผู้ใช้ที่มีต่อเว็บไซต์ 2. การประเมินผลการใช้งานเว็บไซต์ 3. การประเมินผลการออกแบบเว็บไซต์ 4. การประเมินผลคุณภาพเว็บไซต์ 5. การประเมินผลบริการ การประเมินเว็บไซต์เพื่อการศึกษา การประเมินเว็บไซต์สาหรับผู้ใช้ที่ ออกแบบต้องคานึงถึงนั้น สรรรัชต์ ห่อไพศาล (2544 : 71-75) ได้กล่าวไว้ว่า จะต้องอยู่บนฐาน ที่ว่า ผู้ใช้เป็นศูนย์กลางโดยคานึงถึงเสมอว่าเว็บไซต์ควรเน้นให้ผู้ใช้สามารถเข้าใช้ได้สะดวก ไม่พบ ประสบปัญหาติดขัดใดๆ การประเมินเว็บไซต์ มีหลักการที่ต้องประเมินคือ 1. การประเมินวัตถุประสงค์ (Purpose) เว็บไซต์ที่ดีต้องมีวัตถุประสงค์ว่าเพื่อ อะไร เพื่อใคร และกลุ่มเป้าหมายคือใคร 2. การประเมินคุณลักษณะ (Identification) เว็บไซต์ควรจะทราบได้ทันทีเมื่อเปิดข้าไปว่า เกี่ยวข้องกับเรื่องใด ซึ่งในหน้าแรก (Homepage) จะทาหน้าที่เป็นปกหนังสือ (Title) ที่บอก ลักษณะและรายละเอียดของเว็บนั้น 3. การประเมินภารกิจ (Authority) ในหน้าแรกของเว็บจะต้องบอกขนาดของเว็บและ รายละเอียดของโครงสร้างของเว็บ เช่น แสดงที่อยู่และเส้นทางภายในเว็บ และควรบอกชื่อ ผู้ออกแบบ 4. การประเมินการจัดรูปแบบและการออกแบบ (Layout and Design) ผู้ออกแบบควร ประยุกต์แนวคิดตามมุมมองของผู้ใช้ ความซับซ้อน เวลา รูปแบบที่ต้องการใช้ 5. การประเมินการเชื่อมโยง (Links) การเชื่อมโยงถือเป็นหัวใจของเว็บ เป็นสิ่งจาเป็นและมี ผลต่อการใช้ การเพิ่มจานวนเชื่อมโยง โดยไม่จาเป็นจะไม่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ ควรใช้เครื่องมือ สืบค้นแทนการเชื่อมโยงที่จาเป็น
  • 4. 6. การประเมินเนื้อหา (Content) เนื้อหาที่เป็นข้อความ ภาพหรือเสียงจะต้องเหมาะสมกับ เว็บและให้ความสาคัญกับองค์ประกอบทุกส่วนเท่าเทียมกัน ที่มา : จิตอารีย์ คาพันธ์. การวิเคราะห์เว็บไซต์สาหรับห้องสมุดโรงเรียนคาทอลิก. วิทยานิพนธ์ศิลปะศาสตร มหาบัณฑิต. สาขาบรรณารักษ์ศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 2551 การวิเคราะห์และประเมินเว็บไซต์ 1. เกณฑ์การวิเคราะห์เว็บไซต์ของบอราสกี (Borasky 1997) ได้พิจารณาในเรื่องต่อไปนี้ 1.1 ความถูกต้อง (accuracy) พิจารณาว่า เนื้อหาและแหล่งข้อมูลมีความถูกต้อง แม่นยา 1.2 ความน่าเชื่อถือ (authority) พิจารณาว่า ใครเป็นผู้รับผิดชอบและมีความเชี่ยวชาญ ด้านใด 1.3 วัตถุประสงค์ (objectivity) มีวัตถุประสงค์ในการจัดทาเพื่ออะไร กลุ่มเป้าหมายเป็น ใครข้อมูลเสนอความคิดเห็นหรือไม่ 1.4 ความทันสมัย (currency) พิจารณาว่าวันที่จัดทาข้อมูลหรือปรับปรุงข้อมูล หรือมี การย้ายไปเว็บไซต์อื่น 1.5 ขอบเขต (coverage) พิจารณาว่าขอบเขตของเนื้อหาครอบคลุมด้านใด และขอบเขต ของการเผยแพร่ในลักษณะใดบ้าง เช่น เผยแพร่ในรูปของหนังสือ CD – ROM หรือเว็บ เป็นต้น 1.6 การเข้าถึง (accessibility) พิจารณาถึงความยากง่ายในการเข้าถึง ความยากง่ายใน การค้นหาข้อมูลและการกาหนดตัวเลือกในการค้นหา 1.7 โครงสร้างและองค์ประกอบภายในเว็บ (structure) พิจารณาถึงการเพิ่มหรือลด ข้อมูลการจัดเรียง การเชื่อมโยงข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 2. เกณฑ์การวิเคราะห์เว็บไซต์ของดีเซมเบอร์ (December 2001) ได้พิจารณาจาก องค์ประกอบต่อไปนี้ 2.1 วัตถุประสงค์ (objectivity) พิจารณาว่านาเสนอเว็บไซต์ เพื่อวัตถุประสงค์ใด กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการนาเสนอคือใคร
  • 5. 2.2 ลักษณะเฉพาะ (specification) พิจารณาว่าเว็บนั้นนาเสนอข้อมูลอะไร ใช้รูปแบบใด นาเสนอหรือเผยแพร่ข้อมูล 2.3 รูปแบบการออกแบบ (manner) พิจารณาว่า การออกแบบเว็บเป็นลักษณะใด ระยะเวลาในการดึงข้อมูล การเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์อื่น 2.4 ความถูกต้อง (accuracy) พิจารณาว่า นาเสนอข้อมูลถูกต้อง แม่นยา มีการปรับปรุง ข้อมูลให้ทันสมัยหรือสมบูรณ์มากขึ้น 3. เกณฑ์การวิเคราะห์เว็บไซต์ของอเล็กซานเดอร์และเทต (Alexander และ Tate 1996– 1998) พิจารณาเกณฑ์ในเรื่องต่อไปนี้ 3.1 ความถูกต้อง (accuracy) พิจารณาจาก ผู้จัดทาเว็บไซต์และเว็บไซต์นั้นมีการ ตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหาหรือไม่ 3.2 ความน่าเชื่อถือ (authority) พิจารณาว่า ผู้จัดทาหรือผู้ผลิตมีความรู้และชื่อเสียง ทางด้านใด 3.3 วัตถุประสงค์ (objectivity) พิจารณาว่าเว็บไซต์นั้นมีวัตถุประสงค์เผยแพร่ข้อมูลเพื่อ อะไร และกลุ่มเป้าหมายในการเผยแพร่ข้อมูลเป็นใคร 3.4 ความทันสมัย (currency) พิจารณาการปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัย และวันที่จัดทา หรือปรับปรุงข้อมูลชัดเจน 3.5 ขอบเขต (coverage) พิจารณาขอบเขตการนาเสนอข้อมูลในสื่อ ใดบ้าง เช่น สิ่งพิมพ์เว็บ CD-ROM เป็นต้น และขอบเขตของเนื้อหาที่นาเสนอ 4. เกณฑ์การวิเคราะห์เว็บไซต์ ศิริพร ชิตพันธ์ (2542) ได้กล่าวว่าเกณฑ์การวิเคราะห์เว็บไซต์ พิจารณาได้จากองค์ประกอบต่อไปนี้ 4.1 ผู้รับผิดชอบ/ผู้ผลิต / ผู้แต่ง (author) พิจารณาผู้รับผิดชอบหรือผู้ผลิตสารสนเทศ เช่น บุคคล หน่วยงานราชการ บริษัทเอกชน สถาบันการศึกษา เป็นต้น มีความเชี่ยวชาญและ ชานาญด้านใด และวัตถุประสงค์ในการนาเสนอ 4.2 เนื้อหา (content) พิจารณาจาก - ความเที่ยงตรง ถูกต้อง แม่นยา (accuracy) การสะกด การพิมพ์ถูกพิมพ์ผิดตัวเลข สถิติต่างๆ และความละเอียดของสารสนเทศ (precision) - ความทันสมัย (timeliness) วันที่ปรับปรุงข้อมูลครั้งสุดท้าย วันเวลาในการบันทึก สารสนเทศไว้ในอินเทอร์เน็ต วันเวลาในการรวบรวมเนื้อหา วันเวลาในการโฆษณา และวันเวลาใน การส่งอีเมล์
  • 6. - ความสมบูรณ์ของเนื้อหา (completeness) - ความสัมพันธ์กับความต้องการของผู้ใช้ (relevance) ขึ้นอยู่กับความต้อง การของ ผู้ใช้แต่ละคน - ความพอเพียงของเนื้อหา (sufficiency) ที่สามารถค้นหาสารสนเทศเรื่องเดียวกัน ได้จากหลายๆ เว็บไซต์ และสามารถนาข้อมูลมาเปรียบเทียบกันได้ - ความเข้าใจง่ายของเนื้อหา (understandability) การใช้ภาษาเหมาะสมและ ถูกต้องกับเนื้อหาระดับความยากง่ายของศัพท์ที่ใช้ เนื้อหานั้นมีการสื่อความหมายหรือแปล ความหมายที่เข้าใจตรงกัน มีการแบ่งหัวข้ออย่างชัดเจน มีการเรียงลาดับเนื้อหาจากงายไปหายาก หรือตามลาดับเหตุการณ์ - สามารถตรวจสอบได้ (verification) จากเอกสารและเนื้อหาที่มีการอ้างอิงตาม หลักวิชาการผู้แต่งหรือผู้รับผิดชอบข้อมูลมีการกล่าวถึงในแหล่งข้อมูลหรือแหล่งความรู้ใด 4.3 ความยุติธรรมไม่ลาเอียง (freedom from Bias) 4.4 คุณธรรมและจริยธรรม (morals and Virtue) 5. เกณฑ์การวิเคราะห์เว็บไซต์ สมิช (Smith 1997) ได้เสนอเกณฑ์การประเมินสารสนเทศ บนอินเทอร์เน็ตไว้โดยพิจารณาจากเรื่องต่อไปนี้ 5.1 ขอบเขต (scope) พิจารณาการครอบคลุมของเนื้อหาให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ จัดทาเนื้อหาหรือข้อมูลที่เกี่ยวข้องกว้าง เจาะลึกและเหมาะสมกับกลุ่มผู้ใช้เพียงใด ครอบคลุม ระหว่างช่วงเวลาใดบ้าง 5.2 เนื้อหา (content) พิจารณาดังต่อไปนี้ - พิจารณาว่าเป็นข้อเท็จจริงหรือความคิดเห็นของเนื้อหาโดยตรงหรือเป็นเพียง รายการของการเชื่อมโยง - พิจารณาความถูกต้อง แม่นยา (accuracy) โดยตรวจสอบจากแหล่งวิจารณ์ วรรณกรรมหรือข้อมูลในเนื้อหามีความเป็นอคติทางความคิดหรืออุดมการณ์หรือประชาสัมพันธ์ เรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือไม่ - ความมีอานาจ (authority) ของผู้จัดทา โดยพิจารณาจากความเชี่ยวชาญหรือ ชื่อเสียงในเรื่องที่เผยแพร่ - ความทันสมัย (currency) จากวันเวลาที่ปรับปรุงข้อมูล - ลักษณะพิเศษ (uniqueness) ของเนื้อหาที่แตกต่างกันจากสื่อรูปแบบอื่น - การเชื่อมโยง (links) ภายในเนื้อหาหรือแหล่งข้อมูลอื่น
  • 7. - คุณภาพการนาเสนอ (quality of writing) ในเรื่องการใช้ภาษาได้ชัดเจนและมี เหตุผล 5.3 การออกแบบกราฟิกและสื่อประสม (graphic and multimedia design) พิจารณาความน่าสนใจของเว็บ การนาเสนอภาพ เสียง และภาพเคลื่อนไหวเหมาะสมกับเนื้อหา 5.4 วัตถุประสงค์ (purpose) พิจารณาว่ามีการนาเสนอเพื่อวัตถุประสงค์ใด และกลุ่ม ผู้ใช้คือใคร 5.5 บทวิจารณ์ (reviews) พิจารณาจากแหล่งวิจารณ์อื่นๆ ที่กล่าวถึงเกี่ยวกับเว็บไซต์ นั้น 5.6 การใช้งาน (workability) พิจารณาจาก - ความสะดวกและประสิทธิภาพต่อการใช้งาน การทาจุดเชื่อมโยงหรือนาข้อมูลบน เว็บเพจมาลงในเว็บไซต์ของห้องสมุด เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเรียกใช้ได้โดยตรง - การเข้าใช้งานได้ง่าย (user Friendly) และสะดวก โดยไม่ต้องใช้คาสั่ง เช่น มีเมนู คาสั่ง ปุ่มช่วยเหลือ เป็นต้น - สามารถใช้ได้กับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และโปรแกรมที่ใช้ในรูปของเครือข่ายหรือที่ ต้องการให้ผู้ใช้มีรหัสผ่าน (password) หรือใช้ได้กับเบราเซอร์หลายชนิด - การสืบค้น มีเครื่องมือช่วยในการสืบค้นข้อมูลจากแหล่งสารสนเทศอื่น ซึ่งมี ลักษณะคล้ายเซิร์ชเอ็นจิน(search engine) - เว็บไซต์สามารถโต้ตอบหรือสามารถสื่อสารสองทางกับผู้ใช้ได้ 5.7 ค่าใช้จ่าย (Cost) พิจารณาจากราคาและค่าใช้จ่ายในการเข้าใช้ข้อมูลบนเว็บหรือ ค่าใช้จ่ายในด้านลิขสิทธิ์ของการใช้ข้อมูล 6. เกณฑ์การวิเคราะห์เว็บไซต์ สุนัสรินทร์ บัวเลิศ (2543) กล่าวถึงเกณฑ์การประเมิน คุณค่า ของสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต ดังนี้ 6.1 เจ้าของสารสนเทศหรือผู้รับผิดชอบ (authorship/authority) พิจารณาจากข้อมูล ของผู้รับผิดชอบหรือเจ้าของสารสนเทศ เพื่อทราบถึงความเชี่ยวชาญในเรื่องที่นาเสนอ วุฒิ การศึกษาในสาขาเดียวกับเรื่องที่นาเสนอ และเป็นที่รู้จักและยอมรับอย่างกว้างขวางจากบุคคลใน วงวิชาชีพเดียวกัน 6.2 วัตถุประสงค์ในการนาเสนอ (purpose) พิจารณาจากกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการนา เสนอวัตถุประสงค์การนาเสนอ เช่น เพื่อให้ความรู้ โฆษณาประชาสัมพันธ์ ความบันเทิง เป็นต้น
  • 8. 6.3 เนื้อหาของสารสนเทศ (contents) พิจารณาจากความถูกต้อง ความทันสมัยใน เนื้อหาของสารสนเทศ การอ้างอิงถึงแหล่งที่มาของข้อมูล ลักษณะการนาเสนอที่อ่านเข้าใจง่ายการ สะกด การพิมพ์ที่ถูกต้อง ครอบคลุมข้อมูลในเรื่องที่นาเสนออย่างครบถ้วน 6.4 มุมมองหรือทัศนคติ (point of view or bias) พิจารณาจากความเป็นกลางของ เนื้อหาลักษณะการนาเสนอ แหล่งที่มาของสารสนเทศ เช่น จากร้านค้า ผู้จัดจาหน่ายข้อมูลนา เสนอข้อมูลในลักษณะการโฆษณาชวนเชื่อเพื่อเสนอขายสินค้า เป็นต้น 6.5 โครงสร้างและองค์ประกอบของข้อมูล (structure & elements) พิจารณาจาก องค์ประกอบของข้อมูลที่ครบถ้วน เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย ความยากง่ายในการเข้าถึง เช่น เวลาที่ใช้ในการดึงข้อมูล ฐานข้อมูลหรือเครื่องมือในการค้นหา ปริมาณสารสนเทศ การวางรูปแบบ สารสนเทศ และภาพประกอบที่เหมาะสมกับเนื้อหาและกลุ่มเป้าหมาย มีการเชื่อมโยงไปยัง แหล่งข้อมูลอื่นที่มีความสัมพันธ์ในเนื้อหาเดียวกัน ที่มา : มะลิวรรณ ระหูภา. การพัฒนาเว็บไซต์และฐานข้อมูลโบราณวัตถุ: กรณีศึกษา พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติบ้านเชียง. วิทยานิพนธ์ศิลปะศาสตรมหาบัณฑิต. แขนงวิชาสารสนเทศ ศาสตร์ สาขาศิลปศาสตร์. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554
  • 9. การออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ เว็บไซต์คือแหล่งที่ร่วมหน้าเว็บจานวนมากมายหลายหน้าในเรื่องเดียวกันมารวมอยู่ด้วยกัน แต่สิ่งหนึ่งในการนาเสนอเรื่องรวมที่อยู่บนเว็บไซต์ที่แตกต่างไปจากโปรแกรมโทรทัศน์เนื้อหาใน นิตยสารหรือหนังสือพิมพ์ คือการทางานบนเว็บจะไม่มีวันสิ้นสุดลง ทั้งนี้เนื่องจากเราสามารถเพิ่ม หน้าเว็บไซต์เพิ่มเติมสารสนเทศที่ทันสมัย เปลี่ยนภาพกราฟิก ฯลลฯ ได้อยู่ตลอดเวลา จึงนับเป็น การท้ายทายความคิดสร้างสรรค์ของนักออกแบบอย่างมากในงานที่ขยายวงกว้างเช่นนี้ ดังนั้นการ ออกแบบเว็บไซต์จึงเป็นสิ่งสาคัญมากอย่างหนึ่งที่ควรคานึงก่อนที่จะลงราบละเอียดในเว็บไซต์แต่ ละหน้าต่อไปตามลักษณะที่แท้จริงแล้ว เวิล์ดไวด์เว็บประกอบด้วยหน้าเอกสารจานวนมากมาย หลายล้านหน้า ซึ่งมีลักษะเช่นเดียวกับหน้าเอกสารที่ใช้พิมพ์ด้วยโปรแกรมประมวลคานั้นเอง หน้า เอกสารแต่ละหน้าเหล่านี้จะมีการเชื่อมโยงกันเพื่อให้ผู้อ่านสามารถอ่านได้ในเวลาอันรวดเร็ว เอกสารที่มีความเกี่ยวข้องและเชื่อมโยงกนเหล่านี้จะอยู่รวมกันเรียกว่า “เว็บไซต์” หรือที่อยู่เว็บซึ่ง เป็นที่รวบรวมเอกสารนั้นอยู่ในเครื่องบริการอินเตอร์เน็ตปกติแล้วในแต่ละเว็บไซต์จะมี “โฮมเพจ” หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “หน้าต้อนรับ” ซึ่งปรากฎเป็นหน้าแรกเมื่อเปิดเว็บไซต์นั้นขึ้นมาในหน้า โฮมเพจจะเปรียบเสมือนเป็นหน้าสารบัญเพื่อบอกกล่าวหัวข้อเรื่องราวเกี่ยวกับเว็บไซต์นั้น แต่ใน บางเว็บไซต์จะมีหน้านาเข้ารวมอยู่ด้วย หน้านาเข้าเปรียบเสมือนเป็นชื่อเรื่องของหนังสือก่อนที่จะ นาเข้าไปสู่หน้าโฮมเพจ หลักในการออกแบบเว็บไซต์ ตามที่ได้กล่าวมาแล้วว่า เว็บไซต์เป็นแหล่งรวบรวมหน้าเว็บจานวนมากมายหลายหน้าใน เรื่องเดียวกันมารวมอยู่ด้วยกัน แต่การทางานบนเว็บจะไม่มีวันสิ้นสุดเนื่องจากนักออกแบบ สามารถปรับปรุงทุกอย่างบนหน้าเว็บไซต์ได้ตลอดเวลา ดังนั้นการออกแบบเว็บไซต์จึงต้องการ เริ่มต้นที่ดีโดยคานึงถึงหลักการต่างๆ ซึ่งแบ่งเป็นหัวข้อใหญ่ได้ดังนี้ 1. การวางแผ่นล่วงหน้า การทางานใดๆก็ตามย่อมต้องมีการวางแผนไว้เพื่อจัดขั้นตอนในการ ทางานและเป็นแนวทางให้สามารถดาเนินงานไปได้ด้วยความสะดวกรวดเร็ว ถ้าไม่มีการวางแผนไว้ ก่อน คือ มีการสร้างเค้าโครง การสร้างเค้าโครงนี้จะช่วยให้เราเห็นส่วนต่างๆของโครงการได้อย่าง รวดเร็วโดยยังไม่ต้องสร้างหน้าเว็บจริง และช่วยให้สามารถรวบรวมจัดระเบียบโครงสร้างต่างๆของ เว็บไซต์ได้อย่างรวดเร็วและง่ายดาย มีการเก็บรวบรวมวัสดุ เพราะเราจาเป็นที่จะต้องเก็บรวบรวม เนื้อหาต่างๆให้เรียบร้อยก่อนเริ่มทางานจริง ทั้งนี้ย่อมขึ้นอยู่กับเค้าโครงที่ร่างไว้ว่าต้องการสิ่ง ใดบ้างในการทางานนี้ แล้วสร้างรายการของสิ่งต่างๆที่ต้องการใช้ในเว็บไซต์
  • 10. 2.รวบรวมจัดระเบียบ ภายหลังเมื่อวางแผนและเก็บรวบรวมวัสดุต่างๆ ที่จาเป็นต้องใชใน การสร้างเว็บไซต์เรียบร้อยแล้วสิ่งแรกก่อนที่จะมีการสร้างเว็บไซต์ได้นั้น นักออกแบบจาเป็นต้อง ทาการจัดระเบียบเพื่อความสะดวกในการทางาน คือ ควรมีการรวบรวมแฟ้มซึ่งในการรวบรวม แฟ้มข้อมูลต่างๆ ควรทาการจัดเก็บรวมกันไว้ในโฟลเดอร์ใหญ่ แต่สาหรับเว็บไซต์ เราควรจะสร้าง โฟลเดอร์ย่อยต่างหากหรือเว็บไซต์นั้นมีขนาดใหญ่เพียงพอที่จะแตกย่อยลงไป เป็นส่วนต่างๆอีก โดยแต่ละส่วนนั้นจะมีแฟ้มเฉพาะของตนเอง 3. การนาทาง การออกแบบเครื่องมือนาทางเพื่อให้การสารวจเว็บไซต์เป็นไปด้วยความ สะดวกรวดเร็วและไม่เกิดการหลงทางนับว่าเป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่งทั้งนี้ เพราะจะเป็นประโยชน์แก่ ผู้อ่านในการเข้าถึงข้อมูลต่างๆ ได้โดยง่าย และเป็นสิ่งดึงดูดใจเพื่อมิให้ผู้อ่านเกิดความเบื่อหน่ายจน คลิกผ่านเว็บไซต์นั้นไปเลย และจะเป็นการดีกว่าถ้าจะใช้เครื่องมือนาทางที่เป็นข้อความในการ เชื่อมโยง เพราะฉะนั้นแล้วเครื่องมือนาทางที่เป็นกราฟิกนั้นจะมีขนาดใหญ่มากเกินไปและจะทาให้ เสียเวลาในการดาวโหลด 4. เกณฑ์มาตรฐาน การออกแบบเว็บไซต์ที่ดีนั้นควรมีเกณฑ์มาตรฐานของสิ่งต่างๆ ที่อยู่ใน โครงสร้างเว็บนั้นเพื่อไม่สร้างความสับสนให้แก่ผู้ออกแบบเองและผู้อ่านด้วย เช่น ควรมีความคงตั้ง ทั้งเว็บไซต์ เนื่องจาก ความคงตัวนับเป็นสิ่งสาคัญในการออกแบบและเป็นสิ่งสาคัญมากสูงสุดใน การออกแบบหรือมีการกาหนดความกว้างมาตรฐานโดยผู้ออกแบบควรจะตัดสินใจให้ได้ว่าจะใช้ ความกว้างจุดภาพเท่าใดในเว็บไซต์นั้นก่อนเริ่มการออกแบบหน้าแต่ละหน้า รวมถึงในส่วนของ แบบการพิมพ์หรือแบบตัวอักษรเพื่อความคงตัวในเว็บไซต์ โดยการลาดับขั้นของการพิมพ์หัวเรื่อง หัวข้อใหญ่ หัวข้อย่อย และเนื้อเรื่องให้มีความแตกต่างกันและใช้ตรงกันในทุกๆหน้าเพื่อให้ผู้อ่าน สังเกตเห็นได้ง่ายในลาดับขั้นความสาคัญของเนื้อหา 5. ผู้อ่าน เนื่องจากเวิล์ดไวด์เว็บเป็นสิ่งที่ทุกคนในส่วนต่างๆของโลกสามารถเข้าถึงได้โดยไม่ มีขีดจากัด จึงอาจเป็นความลาบากของนักออกแบบในการที่จะตอบสนองความต้องการของผู้อ่าน ในทุกระดับได้ แต่ถ้านักออกแบบคานึงถึงแนวทางบางประการเกี่ยวกับผู้อ่านแล้วสามารถออกแบ เว็บไซต์นั้นให้เป็นประโยชน์กับผู้อ่านส่วนมากได้โดยเราต้องคานึงถึงลักษณะผู้อ่าน ดังนั้น ถ้า เป็นไปได้แล้วควรจะมีการทดลองเว็บไซต์นั้นกับวัสดุและอุปกรณ์ที่แตกต่างกันและพยายามค้นหา ให้ทราบว่าผู้อ่านส่วนมาก เข้าถึงเว็บไซต์ของเราด้วยวัสดุและอุปกรณ์สิ่งใดทั้งหมดที่กล่าวมานี้ นับเป็นแนวทางเบื้องต้นก่อนที่จะถึงการออกแบบหน้าเว็บทั้งนี้เพราะการออกแบบเว็บไซต์ โดย คานึงถึงรายละเอียดต่างๆ ก่อนที่จะลงลึกหน้าเว็บแต่ละหน้านับเป็นแกนหลักสาคัญในการ
  • 11. ดาเนินการทั้งหมด ถ้าผู้ออกแบบไม่สามารถรักษาแนวทางหรือกาหนดสิ่งๆในเว็บไซต์ไว้ได้แล้ว ก็ อาจทาให้เกิดความลาบากและขัดข้องในการออกแบบหน้าเว็บในภายหลัง การใช้สีบนเว็บไซต์ การเลือกใช้สีที่ดีที่สุดในการสร้างเว็บไซต์ คือ เลือกสีที่แสดงถึงความรู้สึกและคุณลักษณะ ทั้งหมดของเว็บไซต์นั้น เมื่อมีการสร้างภาพกราฟิกสาหรับชื่อเรื่อง หัวเรื่องย่อย และลักษณ์รูปนา ทางเราควรใช้สีจากแบบแผนสี เพื่อเป็นสีนาของกราฟิก สิ่งนี้จะช่วยให้ในแต่ละหน้ามองดูและให้ ความรู้สึกที่คล้ายคลึงกันไม่ว่าเนื้อหาในแต่ละหน้าจะมีความแตกต่างกันเพียงใดก็ตามสิ่งที่ควร คานึงถึงอย่างหนึ่งในการทางานเกี่ยวกับสี คือ ความเปรียบต่าง เช่นข้อความควรมีความเปรียบต่าง ที่ดีระหว่างสีของตัวอักษรและสีพื้นหลัง การใช้สีร่วมกันของข้อความและพื้นหลังบางสีจะไม่ทาให้ เกิดความไม่สบายตาเวลาอ่าน เช่น การใช้ข้อความสีม่วงเข้มบนพื้นหลังสีดาทาให้มองดูน่าตกใจ และทาให้ไม่น่าอ่าน เราสามารถที่จะเสนอสิ่งพิมพ์หลากสีสันบนเว็บไซต์ได้ แต่การที่จะเพิ่มสีสัน บนเว็บไซต์นี้เราต้องทราบถึงเทคโนโลยีของสีที่ใช้บนเว็บไซต์เสียก่อน ที่มา : (วีระ ไวษยดารง.โครงการออกแบบเว็บไซต์ เพื่อประชาสัมพันธ์ผลงาน นักศึกษา สาขาวิชาศิปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์).มหาวิทยาลัยจันทรเกษม.2551)
  • 12. การออกแบบเว็บไซต์ การออกแบบเว็บไซต์ควรคานึงถึงการใช้หลักเพื่อกาหนดองค์ประกอบภายในเว็บไม่ว่าจะ ออกแบบอย่างไร ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสร้างเว็บเพจเป็นสิ่งจะเป็นซึ่งปัจจุบันสามารถทาได้ ง่ายโดยไม่จาเป็นต้องพึ่งพาความรู้ทางการเขียนโปรแกรม HTML อย่างแต่ก่อน เพียงรู้หลัก เบื้องต้นบ้างเล็กน้อยก็เยงพอที่จะพัฒนาเว็บเพจได้ดีในระดับหนึ่งแล้ว โปรแกรมที่จะช่วยพัฒนา เว็บมีอยู่มากมายพอสมควรที่จะเลือกใช้ได้ตามความถนัดของผู้ที่ที่จะลองพัฒนาเว็บเพจ ดังนั้นเมื่อ จะลองเริ่มต้นสร้างเว็บเพจให้มีความเหมาะสมควรคานึงถึงสิ่งต่อไปนี้ สิ่งที่ต้องคานึงถึงในการออกแบบโฮมเพจ ความแปลก ความแตกต่าง (Contrast) คือแยก ความแตกต่างที่อยู่บนจอภาพให้เห็นชัดเจน เช่น การใช้ตัวหนังสือ ส้น สี ขนาด ฯลฯ เพราะจะ สามารถดึงดูดความสนใจได้ดี 1. การย้าซ้า (Repetition) คือ แบบแผนหรือสไตล์ของผู้ออกแบบ จะต้องมีลักษณะรูปแบบ สอดคล้องกันทั้งหมด 2. การจัดแถว การวางแนว (Alignment) คือ การจัดการองค์ระกอบต่างๆ ต้องไม่ สะเปะสะปะ ไร้เหตุผล ไม่ขัดกับความรู้สึกของผู้อ่าน จัดให้ดูหน้าอ่าน 3. ความใกล้เคียง ความเกี่ยวเนื่อง (Proximity) คือการจัดการองค์ประกอบที่เกี่ยวเนื่องกันให้ เป็นกลุ่มก้อนเดียวกัน หลักการออกแบบเว็บไซต์ การออกแบบเว็บไซต์นั้นไม่ได้หมายถึงลักษณะหน้าตาของเว็บไซต์เพียงอย่างเดียว แต่ เกี่ยวข้องตั้งแต่การเริ่มต้นกาหนดเป้าหมายของเว็บไซต์ ระบุกลุ่มผู้ใช้ การจัดระบบข้อมูล การ สร้างระบบเนวิเกชันการออกแบบหน้าเว็บ รวมไปถึงการใช้กราฟิก การเลือกใช้สี และการ จัดรูปแบบตัวอักษร นอกจากนั้นยังต้องคานึงถึงความแตกต่างของสื่อกลางในการแสดงผลเว็บไซต์ ด้วย สิ่งเหล่านี้ได้แก่ ชนิดและรุ่นของบราวเซอร์ ขนาดของหน้าจอมอนิเตอร์ ความละเอียดของสี ในระบบ รวมไปถึง Plug-in ชนิดต่าง ๆ ที่ผู้ใช้มีอยู่ เพื่อให้ผู้ใช้เกิดความสะดวกและความพอใจที่ จะท่องไปในเว็บไซต์นั้น ดังนั้นทุกสิ่งทุกอย่างในเว็บไซต์ทั้งที่คุณมองเห็นและมองไม่เห็นล้วนเป็น ผลมาจากกระบวนการออกแบบเว็บไซต์ทั้งสิ้น เว็บไซต์ที่ดูสวยงามหรือมีลูกเล่นมากมายนั้น อาจจะไม่นับเป็นการออกแบบที่ดีก็ได้ ถ้าความสวยงามและลูกเล่นเหล่านั้นไม่เหมาะสมกับลักษณ์ ของเว็บไซต์ ด้วยเหตุนี้จึงเป็นเรื่องยากที่จะระบุว่าการออกแบบเว็บไซต์ที่ดีนั้นเป็นอย่างไร
  • 13. เนื่องจากไม่มีหลักเกณฑ์แน่นอนที่จะใช้ได้กับทุกเว็บไซต์ แนวทางการออกแบบบางอย่างที่ เหมาะสมกับเว็บไซต์หนึ่ง อาจจะไม่เหมาะกับอีก เว็บไซต์หนึ่งก็ได้ ทาให้แนวทางในการออกแบบ ของแต่ละเว็บไซต์นั้นแตกต่างกันไปตามเป้าหมาย และลักษณะของเว็บไซต์นั้น เว็บไซต์บางแห่ง อาจต้องการความสนุกสนาน บันเทิง ขณะที่เว็บอื่นกลับต้องการความถูกต้อง น่าเชื่อถือเป็นหลัก ดังนั้นอาจสรุปได้ว่าการออกแบบที่ดีก็คือ การออกแบบให้เหมาะสมกับเป้าหมายและลักษณะของ เว็บไซต์ โดยคานึงถึงความสะดวกในการใช้งานของผู้ใช้เป็นหลัก 1. องค์ประกอบของการออกแบบเว็บไซต์อย่างมีประสิทธิภาพ องค์ประกอบต่อไปนี้ถือเป็นพื้นฐานที่สาคัญของเว็บไซต์ที่ได้รับการออกแบบมาอย่างมี ประสิทธิภาพ 1) ความเรียบง่าย (Simplicity) หลักที่สาคัญของความเรียบง่าย คือ การสื่อสารเนื้อหา ถึงผู้ใช้โดยจากัดองค์ประกอบเสริม ที่เกี่ยวข้องกับการนาเสนอให้เหลือเฉพาะสิ่งที่จาเป็นเท่านั้น เช่น การใช้รูปภาพที่เกี่ยวกับองค์กรเพียงอย่างเดียวในการนาเสนอ 2) ความสม่าเสมอ (Consistency) คือ การใช้รูปแบบเดียวกันตลอดทั้งเว็บไซต์ เนื่องจากผู้ใช้จะรู้สึกกับเว็บไซต์ว่าเป็นเสมือนสถานที่จริง ถ้าลักษณะของแต่ละหน้าในเว็บไซต์ เดียวกันนั้นแตกต่างกันมาก ผู้ใช้ก็จะเกิดความสับสนและไม่แน่ใจว่ากาลังอยู่ในเว็บเดิมหรือไม่ ดังนั้นรูปแบบของหน้า สไตล์ของกราฟิกระบบเนวิเกชัน และโทนสีที่ใช้ควรจะมีความคล้ายคลึงกัน ตลอดทั้งเว็บไซต์ การมีรูปแบบในแต่ละหน้าที่ไม่เหมือนกัน จนทาให้ไม่แน่ใจว่ายังอยู่ในเว็บเดิม หรือเปล่า เมื่อออกแบบโครงสร้างของหน้าเว็บเพจ รูปแบบของกราฟิก ลักษณะตัวอักษร โทนสี และองค์ประกอบอื่น ๆ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ก็ควรนาลักษณะดังกล่าวไปใช้กับทุก ๆ หน้าให้เป็น มาตรฐานเดียวกันตลอดทั้งเว็บไซต์ เพื่อเป็นเอกลักษณ์ให้ผู้ใช้สามารถจดจาลักษณะของเว็บไซต์ได้ ดียิ่งขึ้น นอกจากนั้นความสม่าเสมอของโครงสร้างหน้าเว็บ และระบบเนวิเกชันก็จะทาให้ผู้ใช้รู้สึก คุ้นเคย และสามารถคาดการณ์ลักษณะของเว็บได้ล่วงหน้า ซึ่งจะช่วยให้การท่องเว็บเป็นไปอย่าง สะดวก ในทางเทคนิคสามารถใช้ Cascading Style Sheet (CSS) ช่วยในการกาหนดสไตล์ มาตรฐานให้กับองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น ตัวอักษร สี หรือตาราง โดยที่กาหนดรูปแบบเพียงครั้ง เดียว แล้วสามารถนาไปใช้ได้กับข้อมูลทั้งหมดในเว็บไซต์ ทาให้เกิดความสะดวกในการออกแบบ และยังง่ายต่อการเปลี่ยนแปลงในภายหลัง 3) ความเป็นเอกลักษณ์ (Identity) การออกแบบต้องคานึงถึงลักษณะขององค์กร เนื่องจากรูปแบบของเว็บไซต์สามารถสะท้อนถึงเอกลักษณ์ และลักษณะขององค์กรนั้นได้ โดยการ ใช้สี และสัญลักษณ์ขององค์กรเป็นส่วนประกอบ
  • 14. 4) เนื้อหาที่มีประโยชน์ (Useful Content) เนื้อหาถือเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดในเว็บไซต์ ดังนั้นในเว็บไซต์ควรจัดเตรียมเนื้อหาและข้อมูล ที่ผู้ใช้ต้องการให้ถูกต้องและสมบูรณ์ โดยมีการ ปรับปรุงและเพิ่มเติมให้ทันต่อเหตุการณ์อยู่เสมอ เนื้อหาที่สาคัญที่สุดคือ เนื้อหาที่สร้างขึ้นมาเอง โดยทีมงานของคุณและไม่ซ้ากับเว็บอื่นเพราะจะเป็นสิ่งที่ดึงดูดผู้ใช้ให้เข้ามาในเว็บไซต์อยู่เสมอ 5) ระบบเนวิเกชันที่ใช้งานง่าย (User-Friendly Navigation) ระบบเนวิเกชันเป็น องค์ประกอบที่สาคัญมากของเว็บไซต์ จะต้องออกแบบให้ผู้ใช้เข้าใจได้ง่ายและใช้งานสะดวก โดย ใช้กราฟิกที่สื่อความหมายร่วมกับคาอธิบายที่ชัดเจน รวมทั้งมีรูปแบบและลาดับของรายการที่ สม่าเสมอ 6) มีลักษณะที่น่าสนใจ (Visual Appeal) เป็นเรื่องยากที่จะตัดสินว่าลักษณะ หน้าตาของเว็บไซต์น่าสนใจหรือไม่ เพราะเกี่ยวข้องกับความชอบของแต่ละบุคคลอย่างไรก็ตาม หน้าตาของเว็บไซต์จะมีความสัมพันธ์กับคุณภาพขององค์ประกอบต่าง ๆ 7) การใช้งานอย่างไม่จากัด (Compatibility) ควรออกแบบเว็บไซต์ให้ผู้ใช้ส่วนใหญ่ เข้าถึงได้มากที่สุด โดยไม่มีการบังคับให้ผู้ใช้ต้องติดตั้งโปรแกรมใด ๆ เพิ่มเติม หรือต้องเลือกใช้ บราวเซอร์ชนิดใดชนิดหนึ่งจึงจะสามารถเข้าถึงเนื้อหาได้ สามารถแสดงผลได้ในทุก ระบบปฏิบัติการและที่ความละเอียดหน้าจอต่างกันอย่าง ไม่มีปัญหา 8) คุณภาพในการออกแบบ (Design Stability) ถ้าต้องการให้ผู้ใช้รู้สึกว่าเว็บไซต์ที่มี คุณภาพ ถูกต้อง และเชื่อถือได้ ก็ควรให้ความสาคัญกับการออกแบบเว็บไซต์เป็นอย่างมาก เช่น การรักษาคุณภาพความเป็นเอกลักษณ์ขององค์กร การออกแบบส่วนเชื่อมโยง การออกแบบชุดสี การออกแบบกล่องโต้ตอบ ฯลฯ เหล่านี้ล้วนเป็นสิ่งจาเป็นทั้งสิ้น 9) ระบบการใช้งานที่ถูกต้อง (Functional Stability) ระบบการทางาน ในเว็บไซต์ จะต้องมีความแน่นอน และทาหน้าที่ได้อย่างถูกต้องทาให้ผู้ใช้ไม่รู้สึกหลงทางขณะใช้งานเว็บไซต์ ซึ่งระบบการทางานที่ถูกต้องเป็นส่วนทีเกี่ยวเนื่องกับการออกแบบระบบเนวิเกชัน 2. กระบวนการพัฒนาเว็บไซต์ กระบวนการพัฒนาเว็บไซต์ เป็นกระบวนการที่อาศัยหลักการ จัดระบบโครงสร้างข้อมูล (Information Architecture) อยู่ในหลาย ๆ ส่วน ตั้งแต่ขั้นแรกจนถึง ขั้นที่ได้เป็นรูปแบบ โครงสร้างสุดท้าย (Final Architecture Plan) ซึ่งถือเป็นกระบวนการที่สาคัญมากที่จะทาให้ เว็บไซต์บรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ การจัดระบบโครงสร้างข้อมูล คือ การพิจารณาว่าเว็บไซต์ควร จะมีข้อมูลและการทางานใดบ้าง ด้วยการสร้างเป็นแผนผังโครงสร้างก่อนที่จะเริ่มลงมือพัฒนาเว็บ
  • 15. เพจ โดยเริ่มจากการกาหนดเป้าหมายเว็บไซต์ และกลุ่มผู้ใช้เป้าหมาย ต่อมาก็พิจารณาถึงเนื้อหา และการใช้งานที่จาเป็นแล้วนามาจัดกลุ่มให้เป็นระบบ จากนั้นก็ถึงเวลาในการออกแบบโครงสร้าง ข้อมูลในหน้าเว็บ ให้พร้อมที่จะนาไปออกแบบกราฟิก และหน้าตาให้สมบูรณ์ต่อไปการจัดทาระบบ โครงสร้างข้อมูลเป็นพื้นฐานสาคัญในการออกแบบเว็บไซต์ที่ดี ที่จะช่วยพัฒนาแบบแผน รายละเอียดข้อมูลในการออกแบบเว็บไซต์ ซึ่งได้แก่ รูปแบบการนาเสนอระบบการทางาน แบบจาลอง ระบบเนวิเกชัน และอินเตอร์เฟสของเว็บ ดังนั้นการจัดระบบ โครงสร้างข้อมูลจึงเป็นสิ่งสาคัญที่เกี่ยวข้องอยู่ในกระบวนการออกแบบเว็บไซต์ ประโยชน์ของสีในเว็บไซต์ สีเป็นเครื่องมืออเนกประสงค์อย่างหนึ่งที่มีความสาคัญมากในการออกแบบเว็บไซต์ เนื่องจากสีสามารถสื่อถึงความรู้สึกและอารมณ์ และยังช่วยสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสถานที่กับ เวลาอีกด้วย ดังนั้นสีจึงเป็นปัจจัยสาคัญอย่างหนึ่งที่จะช่วยเสริมสร้างความหมายขององค์ประกอบ ให้กับเว็บเพจได้ อย่างดี ประโยชน์ของสีในรูปแบบต่างๆ มีดังนี้ - สีสามารถชักนาสายตาผู้อ่านให้ไปยังทุกบริเวณในหน้าเว็บเพจ ผู้อ่านจะมีการเชื่อมโยงความรู้สึก กับบริเวณของสีในรูปแบบที่คาดหวังได้ การเลือกเฉดสีและตาแหน่งของสีอย่างรอบคอบในหน้า เว็บ สามารถนาทางให้ผู้อ่านติดตามเนื้อหาในบริเวณต่างๆ ตามที่เรากาหนดได้ วิธีนี้จะเป็น ประโยชน์อย่างมากเมื่อคุณต้องการให้ผู้อ่านให้ความสนใจกับส่วนใดส่วนหนึ่งในเว็บไซต์เป็นพิเศษ เช่น ข้อมูลใหม่ โปรโมชั่นพิเศษ หรือบริเวณที่ไม่ค่อยได้รับความสนใจมาก่อน - สีช่วยเชื่อมโยงบริเวณที่ได้รับการออกแบบเข้าด้วยกัน ผู้อ่านจะมีความรู้สึกว่าบริเวณที่มีสี เดียวกันจะมีความสาคัญเท่ากัน วิธีการเชื่อมโยงแบบนี้ช่วยจัดกลุ่มของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์ อย่างไม่เด่นชัดเข้าด้วยกันได้ - สีสามารถนาไปใช้ในการแบ่งบริเวณต่างๆ ออกจากกัน ทานองเดียวกับการเชื่อมโยงบริเวณที่มีสี เหมือนกันเข้าด้วยกัน แต่ในขณะเดียวกันก็เป็นการแบ่งแยกบริเวณที่มีสีต่างกันออกจากกัน - สีสามารถใช้ในการดึงดูดความสนใจของผู้อ่านสายตาผู้อ่านมักจะมองไปยังสีที่มีลักษณะเด่น หรือ ผิดปกติเสมอ การออกแบบเว็บไซต์ด้วยการเลือกใช้สีอย่างรอบคอบ ไม่เพียงแต่จะกระตุ้นความ สนใจของผู้อ่านเพียงเท่านั้น แต่ยังช่วยหน่วงเหนี่ยวให้พวกเขาอยู่ในเว็บไซต์ได้นานยิ่งขึ้น ส่วน เว็บไซต์ที่ใช้สีไม่เหมาะสม เสมือนเป็นการขับไล่ผู้ชมไปสู่เว็บอื่นที่มีการออกแบบที่ดีกว่า - สีสามารถสร้างอารมณ์โดยรวมของเว็บเพจ และกระตุ้นความรู้สึกตอบสนองจากผู้ชมได้ นอกเหนือจากความรู้สึกที่ได้รับจากสีตามหลักจิตวิทยาแล้ว ผู้ชมยังอาจมีอารมณ์และความรู้สึก สัมพันธ์กับสีบางสีหรือบางกลุ่มเป็นพิเศษ
  • 16. ที่มา : (ประพัฒน์ ศรีสวัสดิ์.โครงการออกแบบเว็บไซต์สานักศิลปะและวัฒนธรรม.สาขาศิลป์ กรรม.มหาวิทยาลัยจันทรเกษม.2550) การออกแบบเว็บไซต์ การออกแบบเว็บไซต์เป็นการกาหนดรูปแบบการนาเสนอเนื้อหาของเว็บไซต์สามารถ ดาเนินงานได้ดังนี้ 1.การออกแบบโฮมเพจ (Homepage) เป็นหนาแรกของเว็บไซต์ ประกอบด้วยชื่อ เว็บไซต์ ตัวอักษรรูปภาพ เสียงและหัวข้อหลักของเว็บไซต์ที่เชื่อมโยงไปยังเว็บเพจหน้าต่างๆ ซึ่ง ประกอบด้วย 3หัวข้อหลักคือ ประวัติและพัฒนาการของมหาวิทยาทยาลัยสุโขทันธรรมาธิราช พระบาทสมเด็จ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกับการเรียนรู้ตลอดชีวิต การเชื่อมโยงหรือลิงค์ไปยังแหล่ง เรียนรู้ออนไลน์ด้านศิลปวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัย 1.2 การออกแบบเว็บเพจ (Webpage) เป็นการสร้างหน้าเนื้อหาส่วนต่างๆ ที่เชื่อมโยง จากโฮมเพจ ประกอบด้วย 1) ประวัติและพัฒนาการของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นาเสนอเนื้อหาเป็น4 ส่วน ได้แก่ พระบรมวงศานุวงศ์กับมหาวิยาทยาลัยความเป็นมาของมหาวิทยาลัยการจดการศึกษา รางวัลเกียรติยศ ชึ่งแต่ละเว็บเพจประกอบด้วยข้อความภาพประกอบที่มีความสัมพันธ์กบเนื้อหา เสียงประกอบ การนาเสนอเป็นต้น 2) พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกับการเรียนรู้ตลอดชีวิต นาเสนอเนื้อหาเป็น 5 ส่วน ได้แก่พระราชประวัติพระราชกรณียกิจดานการศึกษา พระราชกรณียกิจด้านการปกครอง พระราชกรณียกิจด้านศิลปวัฒนธรรม พระราชกรณียกิจด้านสารสนเทศ ซึ่งแต่ละเว็บเพจ ประกอบด้วยข้อความภาพประกอบที่มีความสัมพันธ์กบเนื้อหาเสียงประกอบการนาเสนอ และวีดิ ทัศน์เป็นต้น 1.3องค์ประกอบภายในเว็บเพจ เป็นการจัดวางองค์ประกอบของแต่ละเว็บเพจตาม ตาแหน่งที่เหมาะสมและสวยงาม จัดสัดส่วนระหว่างข้อความและภาพกราฟิกให้เหมาะสม ไดแก้ ข้อความเสียง ภาพนิ่ง ภาพกราฟิกและภาพเคลื่อนไหวเป็นต้น
  • 17. 1.4 การเชื่อมโยงเป็นการกาหนดการเชื่อมโยงจากข้อความรูปภาพ ภายในเว็บเพจเดียวกัน และไปยงเว็บเพจอื่นที่อยู่ภายในเว็บไซต์เดียวกัน รวมถึงการเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์อื่นๆ การออกแบบเว็บไซต์ สีสันมีความสอดคล้องและไปในทางเดียวกับรูปแบบ และกรอบความคิดของเว็บไซต์การใช้ สีสันในเว็บไซต์มีความกลมกลืนและสอดคล้องกัน, รูปภาพในหน้าแรกของเว็บไซต์ มีขนาดภาพที่ เหมาะสมกับเว็บไซต์, รูปภาพในเว็บไซต์ที่ใช้มีขนาดไฟล์ไม่ใหญ่, รูปภาพมีความสอดคล้องกับ รูปแบบของเว็บไซต์, การใช้รูปแบบตัวหนังสือที่เป็นมาตรฐาน, รูปแบบการออกแบบที่มีความ กลมกลืนกันทั้งเว็บไซต์, การใช้สีสันหรือการมีสไตล์ของเว็บตัวเองได้อย่างโดดเด่นชัด, โลโก้และชื่อ เว็บไซต์มีความโดดเด่นและสอดคล้องกับรูปแบบของเว็บไซต์, การออกแบบภายในเว็บไซต์มีความ สอดคล้องกันอย่างกลมกลืนทางด้านรูปแบบและมุมมองรวมถึงสีสันที่ใช้และมีความสามารถในการ รองรับเปิดชมได้อย่างถูกต้องในเบราเซอร์ที่นิยมใช้แสดงผลได้ถูกต้อง ที่มา : (เจิมพงศ์ ใจหล้า.การพัฒนาและการประเมินผลเว็บไซต์.คณะสารสนเทศและ การสื่อสาร.มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่) การพัฒนาเว็บไซต์ การพัฒนาเว็บไซต์เป็นการกาหนดโครงสร้างหลักที่ใช้ในการพัฒนาเว็บไซต์ที่ประกอบด้วยข้อความ เสียง ภาพนิ่ง ภาพวีดิทัศน์ที่เกี่ยวข้องกับประวัติและพัฒนาการของมหาวิทยาลัยพระบาทสมเด็จ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกับการเรียนรู้ตลอดชีวิตและเชื่อมโยงหรือลิงค์ไปยังแบนเนอร์(Banner) แหล่งเรียนรู้ออนไลน์ด้านศิลปวัฒนธรรม กระดานสนทนา (Web board) และสมุดเยี่ยม (Guest- book) ในเครือข่ายซึ่งประกอบด้วยการเชื่อมโยงภายในเว็บเพจเดียวกันการเชื่อมโยงกับเว็บเพจ อื่นที่อยู่ภายในเว็บไซต์ เดียวกัน การเชื่อมโยงไปยงเว็บไซต์อื่นๆ ในส่วนของเสียงและวีดิทัศน์ใช้ โปรแกรมเรียลเพลเยอร์ในการเปิดฟังหรือชมโดยมีขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
  • 18. แนวทางในการพัฒนาเว็บไซต์ ไวเลย์ (Wiley. 1998 : 24) มีแนวคิดเกี่ยวกับแนวทางในการพัฒนาเว็บไซต์ 3 แนวทาง คือ การ พัฒนาเว็บไซต์ที่เกิดขึ้นโดยมิได้ตั้งใจ เป็นการพัฒนาเว็บไซต์ในระยะแรกที่มีการใช้ระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ซึ่งเกิดจากการที่ผู้พัฒนาได้มีประสบการณ์ในการใช้ประโยชน์จากอินเทอร์เน็ต และ เกิดความประสงค์ที่จะนาเสนอสารสนเทศของตน จึงได้พัฒนาเว็บไซต์ขึ้นการพัฒนาเว็บไซต์ตาม ความต้องการของผู้บริหารหรือความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเป็นการพัฒนาเว็บไซต์ขึ้นตาม แนวทางนี้มีความต้องการเพียงการนาเสนอสารสนเทศขององค์กรผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เท่านั้นการพัฒนาเว็บไซต์อย่างมีแบบแผน เป็นการพัฒนาเว็บไซต์ที่ผู้พัฒนาตระหนักถึงประโยชน์ ของเว็บไซต์ในการนาเสนอสารสนเทศ มีการวางแผน การออกแบบ และการพัฒนาตาม วัตถุประสงค์ขององค์กรอย่างเป็นกิจจะลักษณะ ไคล์ด (Clyde. 2000 : 98) ผู้เชี่ยวชาญแห่งมหาวิทยาลัยไอซ์แลนด์ ได้แนะนาวัฏจักรของ การพัฒนาเว็บไซต์ คือ การกาหนดจุดมุ่งหมาย/วัตถุประสงค์ การวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ การกาหนดเนื้อหาและหรือการบริการ การจัดการข้อมูล การออกแบบ การลงรหัสเอชทีเอ็มแอล การทดสอบและแก้ไขปรับปรุง การเผยแพร่ การบารุงรักษาเว็บไซต์ และการประเมิน ฮูจซ์ตัน (Houghton. 2000 : 269-280) หัวหน้าโครงการห้องสมุดดิจิทัล มหาวิทยาลัยเด อมองท์ฟอร์ท ได้อธิบายขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ของห้องสมุดมหาวิทยาลัยเดอมอนท์ฟอร์ท โดยมีขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ 5 ขั้นตอน คือการวางแผน การออกแบบระบบการรักษาความ ปลอดภัย การบารุงรักษา และการพัฒนาในอนาคต การ์ลอค และเพียนเทค (Garlock and Piontek. 1996 : 3-5) ได้แนะนาขั้นตอนในการ สร้างบริการพื้นฐานบนเว็บไซต์ของห้องสมุด 5 ขั้นตอน คือ การวางแผน การนาเสนอแผนและให้ ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ การจัดเตรียมเนื้อหา การออกแบบ และการบารุงรักษาเว็บไซต์ โกลด์ดิง, คาร์เตอร์ และโคอินา (Golding, Carter and Koina. 2000 : 51) ได้แนะ แนวทางในการจัดการเว็บไซต์ 5 ขั้นตอน คือ การสรุปเกี่ยวกับการบริหาร การวิเคราะห์ความ ต้องการ การออกแบบและการปรับปรุง การวางแผนในการบารุงรักษา และการพัฒนาเว็บไซต์ใน อนาคต ธวัชชัย ศรีสุเทพ (2544 : 31) กล่าวว่ามีกระบวนการในการพัฒนาเว็บไซต์ ดังนี้ 1. สารวจปัจจัยสาคัญ (Research) ซึ่งมีปัจจัยหลัก 3 ประการดังนี้ 1.1 กาหนดเป้าหมายและสารวจความพร้อมของทรัพยากรที่มีอยู่ เช่น บุคลากรเงินทุน
  • 19. 1.2 เรียนรู้กลุ่มผู้ชมโดยการระบุกลุ่มผู้ชมและศึกษาความต้องการของกลุ่มผู้ชม 1.3 ศึกษาเว็บไซต์ของคู่แข่งโดยการสารวจและเรียนรู้เพื่อวางกลยุทธ์ในการแข่งขัน 2. พัฒนาเนื้อหา (Site content) 2.1 สร้างกลยุทธ์การออกแบบเพื่อให้ได้แนวทางในการออกแบบเว็บไซต์ 2.2 หาข้อสรุปขอบเขตเนื้อหาเพื่อให้ได้ขอบเขตของเนื้อหาและการใช้งานรวมถึงได้ข้อมูล ที่ถูกจัดอย่างเป็นระบบ 3. พัฒนาโครงสร้างเว็บไซต์ (Site structure) 3.1 จัดกลุ่มข้อมูลให้เป็นระบบเมื่อมีข้อมูลเป็นจานวนมากที่จะนามาใช้ในเว็บไซต์จะต้อง นาข้อมูลเหล่านั้นมาจัดให้เป็นระบบเพื่อให้ได้เป็นร่างแผนผังโครงสร้าง (Draft architectureplan) ด้วยการทดลองใช้แนวคิดหลาย ๆ แบบ มาใช้เป็นเกณฑ์ในการจัดกลุ่ม และ ลองตั้งชื่อกลุ่มข้อมูลเหล่านั้น จากนั้นให้เปรียบเทียบแนวทางการจัดกลุ่มข้อมูลของผู้เกี่ยวข้อง ทุก คนเพื่อหาข้อสรุปที่คนส่วนใหญ่เข้าใจได้ง่ายระบบโครงสร้างข้อมูลที่ดีจะมีส่วนช่วยให้ผู้ใช้เข้าใจ ภาพรวมของเนื้อหาได้ดี การเลือกใช้ระบบข้อมูลแบบใดนั้นขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์และแนวคิดใน การจัดแบ่งข้อมูลเป็นสาคัญ สาหรับเว็บไซต์ทั่วไปควรจะหาการตอบสนอง ความต้องการของผู้ใช้ ซึ่งก็คือ ผู้ใช้อยากรู้ว่าข้อมูลที่ต้องการนั้นอยู่ที่ไหนและจะเข้าถึงข้อมูลนั้นได้อย่างไร ดังนั้น การ จัดระบบข้อมูลในเว็บไซต์เพื่อให้ง่ายต่อการค้นหา จึงเป็นสิ่งสาคัญที่จะช่วยส่งเสริมหรือช่วย ขัดขวางความสาเร็จของเว็บไซต์นั้น ๆ ได้ การจัดระบบข้อมูลนั้นจึงมีผลต่อเนื่องมายังระบบเนวิ เกชั่น อีกด้วย 3.2 จัดทาโครงสร้างข้อมูลด้วยการทาแผนผังโครงสร้างของเว็บไซต์ หลังจากได้จัดกลุ่ม ข้อมูลเป็นระบบแล้ว และนาข้อมูลที่ได้มาจัดเป็นโครงสร้างเนื้อหาที่แสดงถึงกลุ่มข้อมูลและลาดับ ขั้นของหัวข้อ ขั้นต่อมา คือ การนารายการโครงสร้างของเว็บไซต์ที่ได้จัดข้อมูลไว้แล้วมาจัดให้เป็น แบบแผนโดยสร้างเป็นแผนผังที่แสดงถึงโครงสร้างข้อมูล ลาดับขั้นและการเชื่อมโยงของแต่ละส่วน อย่างชัดเจนเรียกว่าแผนผังโครงสร้างเว็บไซต์ ซึ่งเป็นการแสดงภาพรวมของเว็บไซต์ในเชิงกราฟิก โดยเริ่มจากหน้าโฮมเพจหรือหน้าเกริ่นนาไปจนถึงหน้าย่อย ๆ ทั้งหมดนอกจากนี้ยังมีการเขียน โครงสร้างเว็บไซต์อย่างง่ายอีกรูปแบบหนึ่งที่เรียกว่า Site mapซึ่งแสดงถึงภาพรวมของเนื้อหา หลัก ๆ ภายในเว็บไซต์ แต่ไม่มีรายละเอียดมากเท่ากับแผนผังโครงสร้างเว็บไซต์ โดยอาจจัดทาเป็น แบบตัวหนังสือหรือแบบกราฟิกแผนผังชนิดนี้ เหมาะที่จะนาไปแสดงบนเว็บไซต์เพื่อให้ผู้ใช้เข้าใจ โครงสร้างเนื้อหาของเว็บไซต์ได้ง่ายขึ้น
  • 20. 3.3 พัฒนาระบบเนวิเกชั่นเพื่อวางแนวทางในการท่องเว็บ 4. ออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ (Visual design) 4.1 ออกแบบลักษณะเว็บเพจ 4.2 พัฒนาเว็บไซต์ต้นแบบและโครงสร้างเว็บไซต์ครั้งสุดท้าย 5. พัฒนาและดาเนินการ (Production and operation) 5.1 ลงมือพัฒนาเว็บเพจเพื่อให้ได้เว็บไซต์ที่สมบูรณ์ 5.2 เปิดตัวเว็บไซต์ 5.3 ดูแลและพัฒนาเว็บไซต์อย่างต่อเนื่อง ชัยยุทธ์ ลิมลาวัลย์ (2544 : 27) ได้กล่าวถึงขั้นตอนต่าง ๆ ในการพัฒนาเว็บไซต์ว่าจะต้อง ประกอบไปด้วยองค์ประกอบหลาย ๆ ส่วน ดังนี้ 1. การวิเคราะห์และการวางแผนการพัฒนาเว็บไซต์ 1.1 กาหนดวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ให้ชัดเจน (Objective) มองภาพรวมของเว็บไซต์ ออกมาให้ได้ก่อนว่าเป็นลักษณะอย่างไร การกาหนดวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ เพื่อเป็นการหา จุดเด่นของเว็บไซต์นั้นออกมา ถ้าเว็บไซต์มีความโดดเด่นเป็นเอกเทศในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ให้ทา ระบบงานนั้นให้ดีที่สุดและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 1.2 รูปแบบเนื้อหาที่จะนาเสนอ (Content) ส่วนเนื้อหาเป็นส่วนที่สาคัญ เพราะถ้าข้อมูลที่ นามาเสนอมีความถูกต้อง อ่านเข้าใจง่าย ไม่น่าเบื่อและมีการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา จะ ทาให้ผู้เข้ามาเยี่ยมชม คอยติดตาม 1.3 เป้าหมายของเว็บไซต์ที่พัฒนา (Target) กาหนดเป้าหมายของเว็บไซต์ และพยายามหา กระบวนการและขั้นตอนการปฏิบัติงาน ให้บรรลุเป้าหมาย หาวิธีการหรือเทคนิคต่าง ๆมา ผสมผสานให้งานเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด 1.4 นาเทคนิค กลยุทธ์ต่าง ๆ มาใช้กับเว็บไซต์ (Technical) ใช้เทคนิคทางด้านต่าง ๆ มา ช่วยการทางานในระบบ เช่น การป้องกันการส่งไฟล์ที่มีจานวนมากเกินไป เป็นต้นมีข้อมูลสาระที่ น่าสนใจให้กับสมาชิก ไม่ว่าจะเป็นข่าวสารต่าง ๆ การสัมมนา เพราะสมาชิกน่าจะได้รับข่างสารที่ ทันสมัยทันเหตุการณ์จากผู้พัฒนา 1.5 สถาปัตยกรรมหรือโครงสร้างของเว็บไซต์ (Site architecture)การวางสถาปัตยกรรม เมื่อมองเห็นระบบงานทั้งหมดแล้วเขียนออกมาเป็นภาพอย่างละเอียด เพื่อจะได้เห็นกระบวนการ