SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
ความเป็นมา 3G ประเทศไทย
พ.อ.ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
ประธานกรรมการกิจการโทรคมนาคม
และรองประธาน กสทช.
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
ปี พ.ศ. 2545
กรมไปรษณีย์โทรเลขอนุญาตให้บริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) หรือ TOT และ บริษัท กสท
โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) หรือ CAT เป็นกิจการร่วมค้าที่เปิดให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่
ไทยโมบาย 1900 MHz ในระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบ 2G
ปี พ.ศ. 2551
บริษัท TOT และ CAT ได้ดาเนินขอมติคณะรัฐมนตรีในการโอนคลื่น 1900 MHz ให้เป็นของบริษัท
TOT แต่เพียงผู้เดียว
โดยมีช่วงความถี่ทั้งหมด 3 ช่วง ซึ่ง 2 ช่วงความถี่แรกใช้สาหรับการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ใน
ระบบ 2G บนคลื่นความถี่ 1900 MHz ส่วนอีก 1 ช่วงความถี่ใช้สาหรับให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่
ในระบบ 3G บนคลื่นความถี่ 2100 MHz
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
ในเวลาต่อมา คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ กทช.ได้มีมติ อนุมัติให้มีการโอน
คลื่นความถี่กันได้จึงทาให้บริษัท TOT ได้เป็นผู้บริหารจัดการคลื่นความถี่ 1900 MHz แต่เพียงผู้
เดียว
ปลายปี พ.ศ. 2552
บริษัท TOT ได้เปิดให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในระบบ 3G บนคลื่นความถี่ 2100 MHZ และ
บริษัท TOT ได้ความร่วมมือกับพันธมิตรในรูปแบบการขายต่อ โดยมีพันธมิตรจานวน 5 ราย เป็นผู้
ให้บริการแบบ MVNOs (Mobile Visual Network Operators)
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
ปี พ.ศ. 2551 - พ.ศ. 2552
ผู้ประกอบการรายหลักในตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ก็ได้เริ่มทยอยทดลองเปิดให้บริการ 3G ผ่านเทคโล
ยี HSPA ในลักษณะไม่ใช่เชิงพาณิชย์(Non-Commercial) โดยการแบ่งคลื่นความถี่เดิมที่ใช้ในระบบ
2G มาเปิดให้บริการ 3G มีการขยายสถานีฐานเพื่อทดลองให้บริการเพิ่มขึ้นจนนาไปสู่การทยอยเปิด
ให้บริการในเชิงพาณิชย์ในระยะเวลาต่อมา
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
• ได้ขอความเห็นชอบจากทาง กทช. ได้เริ่มทดลองเปิดให้บริการ 3G ใน
ลักษณะ Non-Commercial บนย่าน ความถี่ 900 MHz ด้วยเทคโนโลยี HSPA
บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จากัด (มหาชน) หรือ AIS
• ได้ทดลองเปิดให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในระบบ 3G โดยใช้เทคโนโลยี
HSPA บนคลื่นความถี่ย่าน 850 MHz
บริษัท โทเทิ่ลแอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จากัด (มหาชน) หรือ DTAC
• ทดลองให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในระบบ 3G บนคลื่นความถี่ 850 MHz
โดยใช้เทคโนโลยี HSPA
บริษัท ทรูคอร์ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) หรือTRUE โดย True move
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
การให้บริการ 3G ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ประเทศสิงคโปร์ พ.ศ. 2545
ประเทศบรูไน พ.ศ. 2548
ประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และกัมพูชา พ.ศ. 2549
ประเทศพม่า (เฉพาะในกิจการทหาร) พ.ศ. 2551
ประเทศไทย สปป. ลาว และเวียดนาม พ.ศ. 2552
ปี พ.ศ. 2552
ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศยุทธศาสตร์ภาครัฐและสานักงานสถิติแห่งชาติแสดงให้เห็นว่าประเทศ
ไทยเริ่มเข้าสู่ยุคของ 3G
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
การให้บริการ 3G แบบเต็มรูปแบบอย่างเป็นทางการในประเทศไทยได้เกิดขึ้นเมื่อคณะกรรมการ
กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ได้มีการเปิด
ประมูลใบอนุญาตการใช้คลื่นความถี่ย่าน 2.1 GHz ในวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2555
มีผู้ประกอบการ 3 ราย คือ
บริษัท แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ตเวิร์ค จากัด (AWN)
บริษัท ดีแทค ไตรเน็ต จากัด (DTN)
บริษัท เรียล ฟิวเจอร์ จากัด (RF)
ได้รับอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่เครือข่ายละ 15 MHz เป็นระยะเวลา 15 ปี ซึ่งผู้ให้บริการแต่ละรายได้ให้บริการด้วย
เทคโนโลยี 3G ประมาณกลางปี พ.ศ. 2556
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
ระบบสัมปทานและระบบใบอนุญาต
ระบบสัมปทาน
เสมือนเป็นเจ้าของคลื่น โดยผู้ประกอบการเอกชนรายอื่นมาขอใช้คลื่นความถี่นั้นในการให้บริการ
โทรศัพท์เคลื่อนที่ภายใต้สัญญา สร้าง - ส่งมอบ - ดาเนินการ (Build, Transfer, and Operate : BTO)
ซึ่งเมื่อสิ้นสุดอายุสัมปทานแล้ว ผู้ประกอบการที่มาขอใช้คลื่นความถี่ ต้องส่งมอบโครงข่ายทั้งหมด
ให้กับเจ้าของคลื่น รายได้จากการให้สัมปทานยังตกเป็นของเจ้าของคลื่น โดยไม่จาเป็นต้องนาส่งเข้า
รัฐทั้งหมด
รายได้จากการประกอบการของเจ้าของคลื่นมีความมั่นคงตลอดอายุสัมปทาน
ข้อเสียคือ เจ้าของคลื่นไม่มีการปรับปรุงเทคโนโลยีและการให้บริการเพื่อรองรับการแข่งขันใน
อนาคตหากสัมปทานสิ้นสุดลง และจาเป็นต้องบริหารโครงข่ายที่ได้รับการถ่ายโอนมาด้วยตนเอง
ต่อไป
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
ระบบใบอนุญาต
เจ้าของคลื่นคือ รัฐ ซึ่งกากับดูแลโดย กสทช. ซึ่งทาหน้าที่จัดสรรคลื่นความถี่ด้วยการประมูล โดยผู้ที่
มีสิทธิ์ประมูลไม่จาเป็นต้องมีใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมที่ออกให้โดย กสทช. มาก่อน
แล้ว ซึ่งรายได้จากการประมูลให้นาส่งเข้ากระทรวงการคลัง เป็นรายได้ของแผ่นดิน และ
ผู้ประกอบการมีสิทธิ์ใช้ประโยชน์จากคลื่นความถี่ได้ตลอดอายุของการอนุญาต (ประมาณ 15 ปี หรือ
แล้วแต่จะกาหนดเป็นอย่างอื่น) โดยเมื่อหมดเวลาการใช้คลื่นฯ กสทช. จะนาคลื่นความถี่ดังกล่าวมา
ประมูลรอบใหม่ ทั้งนี้โครงข่ายของผู้ประกอบการไม่จาเป็นต้องส่งมอบให้รัฐหลังจากสิ้นสุดเวลา
การอนุญาตใช้คลื่นความถี่
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
การเติบโตของจานวนเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในประเทศไทย
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
เมื่อจาแนกประเภทของการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่เป็นระบบ 2G และ 3G ก่อนหน้าที่จะมีการ
ให้บริการ 3G อย่างเต็มรูปแบบในปี พ.ศ. 2556 พบว่าสัดส่วนของการใช้บริการ 3G ยังอยู่ใน
ระดับต่า คือ ประมาณร้อยละ 3.6 ในปี พ.ศ. 2554 และเพิ่มมาเป็นร้อยละ 7.2 ในปี พ.ศ. 2555 ต่อมา
เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2556 ประเทศไทยมีสัดส่วนดังกล่าวเพิ่มเป็นร้อยละ 8.1 ในขณะที่สัดส่วน
เดียวกันของโลกอยู่ที่ร้อยละ 28.5
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
ประธานกรรมการกิจการโทรคมนาคม และรองประธานกรรมการ
กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
- ปริญญาเอก: วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต (Ph.D. in EE) (วิศวกรรมโทรคมนาคม)
จาก Florida Atlantic University สหรัฐอเมริกา
- ปริญญาโท: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (MS in EE) (วิศวกรรมโทรคมนาคม)
The George Washington University สหรัฐอเมริกา
- ปริญญาโท: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (MS in EE) (วิศวกรรมไฟฟ้า) Georgia
Institute of Technology สหรัฐอเมริกา
- ปริญญาตรี: วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร
(เกียรตินิยมเหรียญทอง) โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (นักเรียนเตรียม
ทหารรุ่น 26, จปร. รุ่น 37)
- มัธยมปลายจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
- เกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง ปริญญาตรีสาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารโทรคมนาคมจากโรงเรียนนาย
ร้อยพระจุลจอมเกล้า
- โล่ห์เกียรติยศจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าคะแนนสูงสุดในวิชาผู้นาทหาร
- เกียรตินิยมปริญญาเอก Outstanding Academic Achievement จาก Tau Beta Pi Engineering Honor
Society และ Phi Kappa Phi Honor Society
- รางวัลเกียรติยศจักรดาว ประจาปี พ.ศ.2556 จากมูลนิธิศิษย์เก่าโรงเรียนเตรียมทหาร
- ได้รับการจัดอันดับ 1 ใน 25 Young Executives ที่ประสบความสาเร็จสูงสุดในปี 2555 จากนิตยสาร
GM
- ประกาศเกียรติคุณ “โครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ” พ.ศ. 2556 จากคณะกรรมาธิการ
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีการสื่อสาร และโทรคมนาคม วุฒิสภา
- ได้รับการจัดอันดับ 1 ใน 30 นักยุทธศาสตร์แห่งปีที่อยู่ในระดับผู้นาองค์กร ปี พ.ศ. 2556 จากนิตยสาร
Strategy+MarketingMagazine
- รับพระราชทานรางวัลเทพทอง ครั้งที่ 16 ในฐานะองค์กรดีเด่น ประจาปี 2557
- ได้รับรางวัล “ผู้นาเสนองานวิจัยดีเด่น” จากสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ ประจาปีงบประมาณ 2558
- ประกาศเกียรติคุณรางวัล "คนดี ความดี แทนคุณแผ่นดิน“ พ.ศ.2558 สาขาการสื่อสารโทรคมนาคม จาก
คณะกรรมการรางวัลไทย
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
ขอบคุณครับ

More Related Content

What's hot

อาชญากรรมไซเบอร์ Ppt 13 7-2016
อาชญากรรมไซเบอร์ Ppt 13 7-2016อาชญากรรมไซเบอร์ Ppt 13 7-2016
อาชญากรรมไซเบอร์ Ppt 13 7-2016Settapong Malisuwan
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ต้นกำเนิด Cyber security
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ต้นกำเนิด Cyber securityพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ต้นกำเนิด Cyber security
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ต้นกำเนิด Cyber securitySettapong Malisuwan
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ 700 mhz future broadband
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   700 mhz future broadbandพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   700 mhz future broadband
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ 700 mhz future broadbandSettapong Malisuwan
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์Settapong Malisuwan
 
Digital Strategy by Dr.Settapong Malisuwan ,เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Digital Strategy by Dr.Settapong Malisuwan ,เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณDigital Strategy by Dr.Settapong Malisuwan ,เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Digital Strategy by Dr.Settapong Malisuwan ,เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณwww.nbtc.go.th
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ สงครามไซเบอร์เขย่าโลก Sony and north korea
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   สงครามไซเบอร์เขย่าโลก Sony and north koreaพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   สงครามไซเบอร์เขย่าโลก Sony and north korea
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ สงครามไซเบอร์เขย่าโลก Sony and north koreaSettapong Malisuwan
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...Settapong Malisuwan
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0Settapong Malisuwan
 
พลิกมุมคิด ติดอาวุธธุรกิจ 4.0 ด้วยดิจิทัล
พลิกมุมคิด ติดอาวุธธุรกิจ 4.0 ด้วยดิจิทัลพลิกมุมคิด ติดอาวุธธุรกิจ 4.0 ด้วยดิจิทัล
พลิกมุมคิด ติดอาวุธธุรกิจ 4.0 ด้วยดิจิทัลSettapong Malisuwan
 
[3 ธ.ค. 55] อนาคต และโอกาสของธุรกิจไทย ภายใต้ยุค 3 g
[3 ธ.ค. 55] อนาคต และโอกาสของธุรกิจไทย ภายใต้ยุค 3 g[3 ธ.ค. 55] อนาคต และโอกาสของธุรกิจไทย ภายใต้ยุค 3 g
[3 ธ.ค. 55] อนาคต และโอกาสของธุรกิจไทย ภายใต้ยุค 3 gpuiwassana
 
How do it and telecom change ... วตท v2
How do it and telecom change ... วตท v2How do it and telecom change ... วตท v2
How do it and telecom change ... วตท v2www.nbtc.go.th
 

What's hot (15)

อาชญากรรมไซเบอร์ Ppt 13 7-2016
อาชญากรรมไซเบอร์ Ppt 13 7-2016อาชญากรรมไซเบอร์ Ppt 13 7-2016
อาชญากรรมไซเบอร์ Ppt 13 7-2016
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ต้นกำเนิด Cyber security
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ต้นกำเนิด Cyber securityพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ต้นกำเนิด Cyber security
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ต้นกำเนิด Cyber security
 
Digital disruption v5
Digital disruption v5Digital disruption v5
Digital disruption v5
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ 700 mhz future broadband
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   700 mhz future broadbandพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   700 mhz future broadband
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ 700 mhz future broadband
 
Digital disruption v5
Digital disruption v5Digital disruption v5
Digital disruption v5
 
Disruptive technology and impact v3
Disruptive technology and impact v3Disruptive technology and impact v3
Disruptive technology and impact v3
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์
 
Digital Strategy by Dr.Settapong Malisuwan ,เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Digital Strategy by Dr.Settapong Malisuwan ,เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณDigital Strategy by Dr.Settapong Malisuwan ,เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Digital Strategy by Dr.Settapong Malisuwan ,เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ สงครามไซเบอร์เขย่าโลก Sony and north korea
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   สงครามไซเบอร์เขย่าโลก Sony and north koreaพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   สงครามไซเบอร์เขย่าโลก Sony and north korea
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ สงครามไซเบอร์เขย่าโลก Sony and north korea
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0
 
Thailand economy 4.0
Thailand economy 4.0Thailand economy 4.0
Thailand economy 4.0
 
พลิกมุมคิด ติดอาวุธธุรกิจ 4.0 ด้วยดิจิทัล
พลิกมุมคิด ติดอาวุธธุรกิจ 4.0 ด้วยดิจิทัลพลิกมุมคิด ติดอาวุธธุรกิจ 4.0 ด้วยดิจิทัล
พลิกมุมคิด ติดอาวุธธุรกิจ 4.0 ด้วยดิจิทัล
 
[3 ธ.ค. 55] อนาคต และโอกาสของธุรกิจไทย ภายใต้ยุค 3 g
[3 ธ.ค. 55] อนาคต และโอกาสของธุรกิจไทย ภายใต้ยุค 3 g[3 ธ.ค. 55] อนาคต และโอกาสของธุรกิจไทย ภายใต้ยุค 3 g
[3 ธ.ค. 55] อนาคต และโอกาสของธุรกิจไทย ภายใต้ยุค 3 g
 
How do it and telecom change ... วตท v2
How do it and telecom change ... วตท v2How do it and telecom change ... วตท v2
How do it and telecom change ... วตท v2
 

Viewers also liked

Ideal house2
Ideal house2Ideal house2
Ideal house2dabizjhjh
 
June 2016 steering_committee
June 2016 steering_committeeJune 2016 steering_committee
June 2016 steering_committeeJamie Granger
 
Diploma Master´s Degree , Logistikekonom
Diploma Master´s Degree , LogistikekonomDiploma Master´s Degree , Logistikekonom
Diploma Master´s Degree , LogistikekonomUlla Jaatinen
 
Analisis sifat fisis pada batu giok
Analisis sifat fisis pada batu giokAnalisis sifat fisis pada batu giok
Analisis sifat fisis pada batu gioklolimugni
 
Cricket assessment-sheet batting, bowling & fielding
Cricket assessment-sheet batting, bowling & fieldingCricket assessment-sheet batting, bowling & fielding
Cricket assessment-sheet batting, bowling & fieldingUsman Khan
 
Things in the Livingroom
Things in the LivingroomThings in the Livingroom
Things in the LivingroomDythia Mustika
 
Certificate of Proficiency in English-University of Cambridge
Certificate of Proficiency in English-University of CambridgeCertificate of Proficiency in English-University of Cambridge
Certificate of Proficiency in English-University of CambridgeCHOCIAN KATARZYNA, LTCL FLCM
 
II New Historicism
II New HistoricismII New Historicism
II New Historicismpvillacanas
 
TANET - Bai giang ve luat ke toan va cac van ban huong dan thuc hien luat ke ...
TANET - Bai giang ve luat ke toan va cac van ban huong dan thuc hien luat ke ...TANET - Bai giang ve luat ke toan va cac van ban huong dan thuc hien luat ke ...
TANET - Bai giang ve luat ke toan va cac van ban huong dan thuc hien luat ke ...Pham Ngoc Quang
 

Viewers also liked (15)

Elikadura bankua
Elikadura bankuaElikadura bankua
Elikadura bankua
 
JAVASCRIPT - LinkedIn
JAVASCRIPT - LinkedInJAVASCRIPT - LinkedIn
JAVASCRIPT - LinkedIn
 
Ideal house2
Ideal house2Ideal house2
Ideal house2
 
June 2016 steering_committee
June 2016 steering_committeeJune 2016 steering_committee
June 2016 steering_committee
 
Diploma Master´s Degree , Logistikekonom
Diploma Master´s Degree , LogistikekonomDiploma Master´s Degree , Logistikekonom
Diploma Master´s Degree , Logistikekonom
 
US6022203
US6022203US6022203
US6022203
 
Analisis sifat fisis pada batu giok
Analisis sifat fisis pada batu giokAnalisis sifat fisis pada batu giok
Analisis sifat fisis pada batu giok
 
Cricket assessment-sheet batting, bowling & fielding
Cricket assessment-sheet batting, bowling & fieldingCricket assessment-sheet batting, bowling & fielding
Cricket assessment-sheet batting, bowling & fielding
 
Things in the Livingroom
Things in the LivingroomThings in the Livingroom
Things in the Livingroom
 
Certificate of Proficiency in English-University of Cambridge
Certificate of Proficiency in English-University of CambridgeCertificate of Proficiency in English-University of Cambridge
Certificate of Proficiency in English-University of Cambridge
 
III Feminisms
III FeminismsIII Feminisms
III Feminisms
 
Silent Bone Disease Osteoporosis -Hidden facts,Red flags,Prevention & Treatm...
Silent Bone Disease  Osteoporosis -Hidden facts,Red flags,Prevention & Treatm...Silent Bone Disease  Osteoporosis -Hidden facts,Red flags,Prevention & Treatm...
Silent Bone Disease Osteoporosis -Hidden facts,Red flags,Prevention & Treatm...
 
II New Historicism
II New HistoricismII New Historicism
II New Historicism
 
Advances in spine surgery:
Endoscopic and minimally invasive spine surgery dr...
Advances in spine surgery:
Endoscopic and minimally invasive spine surgery dr...Advances in spine surgery:
Endoscopic and minimally invasive spine surgery dr...
Advances in spine surgery:
Endoscopic and minimally invasive spine surgery dr...
 
TANET - Bai giang ve luat ke toan va cac van ban huong dan thuc hien luat ke ...
TANET - Bai giang ve luat ke toan va cac van ban huong dan thuc hien luat ke ...TANET - Bai giang ve luat ke toan va cac van ban huong dan thuc hien luat ke ...
TANET - Bai giang ve luat ke toan va cac van ban huong dan thuc hien luat ke ...
 

Similar to พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ความเป็นมา 3 g ประเทศไทย

พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Telecom report no 1 nov 6 (revised)
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Telecom report no 1 nov 6 (revised)พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Telecom report no 1 nov 6 (revised)
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Telecom report no 1 nov 6 (revised)ntc thailand
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ผลักดันเศรษฐกิจด้วยนโยบายจัดสรรคลื่นความถี่
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ผลักดันเศรษฐกิจด้วยนโยบายจัดสรรคลื่นความถี่พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ผลักดันเศรษฐกิจด้วยนโยบายจัดสรรคลื่นความถี่
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ผลักดันเศรษฐกิจด้วยนโยบายจัดสรรคลื่นความถี่Settapong-Broadband
 
[1 ธ.ค. 55] เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทย
[1 ธ.ค. 55] เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทย[1 ธ.ค. 55] เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทย
[1 ธ.ค. 55] เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทยpuiwassana
 
นายรัชยุทธ ประทีปเพชรทอง ม
นายรัชยุทธ  ประทีปเพชรทอง  มนายรัชยุทธ  ประทีปเพชรทอง  ม
นายรัชยุทธ ประทีปเพชรทอง มNonG'Min JCop
 
นายรัชยุทธ ประทีปเพชรทอง ม
นายรัชยุทธ  ประทีปเพชรทอง  มนายรัชยุทธ  ประทีปเพชรทอง  ม
นายรัชยุทธ ประทีปเพชรทอง มNonG'Min JCop
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ 700 MHz Future broadband
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   700 MHz Future broadbandพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   700 MHz Future broadband
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ 700 MHz Future broadbandwww.nbtc.go.th
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ 700 MHz future broadband
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   700 MHz future broadbandพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   700 MHz future broadband
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ 700 MHz future broadbandSettapong-Broadband
 
How do it and telecom change ... วตท v2
How do it and telecom change ... วตท v2How do it and telecom change ... วตท v2
How do it and telecom change ... วตท v2Settapong_CyberSecurity
 
How do it and telecom change ... วตท v2
How do it and telecom change ... วตท v2How do it and telecom change ... วตท v2
How do it and telecom change ... วตท v2Settapong Malisuwan
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ตลาดโทรคมนาคมของประเทศไทย
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ตลาดโทรคมนาคมของประเทศไทยพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ตลาดโทรคมนาคมของประเทศไทย
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ตลาดโทรคมนาคมของประเทศไทยSettapong-Broadband
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ตลาดโทรคมนาคมของประเทศไทย
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ตลาดโทรคมนาคมของประเทศไทยพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ตลาดโทรคมนาคมของประเทศไทย
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ตลาดโทรคมนาคมของประเทศไทยwww.nbtc.go.th
 
Simat Presentation
Simat PresentationSimat Presentation
Simat PresentationShaen PD
 

Similar to พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ความเป็นมา 3 g ประเทศไทย (20)

พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Telecom report no 1 nov 6 (revised)
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Telecom report no 1 nov 6 (revised)พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Telecom report no 1 nov 6 (revised)
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Telecom report no 1 nov 6 (revised)
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ผลักดันเศรษฐกิจด้วยนโยบายจัดสรรคลื่นความถี่
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ผลักดันเศรษฐกิจด้วยนโยบายจัดสรรคลื่นความถี่พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ผลักดันเศรษฐกิจด้วยนโยบายจัดสรรคลื่นความถี่
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ผลักดันเศรษฐกิจด้วยนโยบายจัดสรรคลื่นความถี่
 
[1 ธ.ค. 55] เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทย
[1 ธ.ค. 55] เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทย[1 ธ.ค. 55] เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทย
[1 ธ.ค. 55] เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทย
 
นายรัชยุทธ ประทีปเพชรทอง ม
นายรัชยุทธ  ประทีปเพชรทอง  มนายรัชยุทธ  ประทีปเพชรทอง  ม
นายรัชยุทธ ประทีปเพชรทอง ม
 
นายรัชยุทธ ประทีปเพชรทอง ม
นายรัชยุทธ  ประทีปเพชรทอง  มนายรัชยุทธ  ประทีปเพชรทอง  ม
นายรัชยุทธ ประทีปเพชรทอง ม
 
6
66
6
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ 700 MHz Future broadband
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   700 MHz Future broadbandพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   700 MHz Future broadband
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ 700 MHz Future broadband
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ 700 MHz future broadband
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   700 MHz future broadbandพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   700 MHz future broadband
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ 700 MHz future broadband
 
How do it and telecom change ... วตท v2
How do it and telecom change ... วตท v2How do it and telecom change ... วตท v2
How do it and telecom change ... วตท v2
 
How do it and telecom change ... วตท v2
How do it and telecom change ... วตท v2How do it and telecom change ... วตท v2
How do it and telecom change ... วตท v2
 
How do it and telecom change ... วตท v2
How do it and telecom change ... วตท v2How do it and telecom change ... วตท v2
How do it and telecom change ... วตท v2
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ตลาดโทรคมนาคมของประเทศไทย
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ตลาดโทรคมนาคมของประเทศไทยพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ตลาดโทรคมนาคมของประเทศไทย
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ตลาดโทรคมนาคมของประเทศไทย
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ตลาดโทรคมนาคมของประเทศไทย
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ตลาดโทรคมนาคมของประเทศไทยพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ตลาดโทรคมนาคมของประเทศไทย
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ตลาดโทรคมนาคมของประเทศไทย
 
Simat Presentation
Simat PresentationSimat Presentation
Simat Presentation
 
Digital disruption v6
Digital disruption v6Digital disruption v6
Digital disruption v6
 
Digital disruption v6
Digital disruption v6Digital disruption v6
Digital disruption v6
 
Digital disruption v6
Digital disruption v6Digital disruption v6
Digital disruption v6
 
Digital disruption v6
Digital disruption v6Digital disruption v6
Digital disruption v6
 
Digital disruption v5
Digital disruption v5Digital disruption v5
Digital disruption v5
 
settapong
settapongsettapong
settapong
 

พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ความเป็นมา 3 g ประเทศไทย

  • 1. กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ความเป็นมา 3G ประเทศไทย พ.อ.ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ ประธานกรรมการกิจการโทรคมนาคม และรองประธาน กสทช.
  • 2. กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2545 กรมไปรษณีย์โทรเลขอนุญาตให้บริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) หรือ TOT และ บริษัท กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) หรือ CAT เป็นกิจการร่วมค้าที่เปิดให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ไทยโมบาย 1900 MHz ในระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบ 2G ปี พ.ศ. 2551 บริษัท TOT และ CAT ได้ดาเนินขอมติคณะรัฐมนตรีในการโอนคลื่น 1900 MHz ให้เป็นของบริษัท TOT แต่เพียงผู้เดียว โดยมีช่วงความถี่ทั้งหมด 3 ช่วง ซึ่ง 2 ช่วงความถี่แรกใช้สาหรับการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ใน ระบบ 2G บนคลื่นความถี่ 1900 MHz ส่วนอีก 1 ช่วงความถี่ใช้สาหรับให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ในระบบ 3G บนคลื่นความถี่ 2100 MHz
  • 3. กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ในเวลาต่อมา คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ กทช.ได้มีมติ อนุมัติให้มีการโอน คลื่นความถี่กันได้จึงทาให้บริษัท TOT ได้เป็นผู้บริหารจัดการคลื่นความถี่ 1900 MHz แต่เพียงผู้ เดียว ปลายปี พ.ศ. 2552 บริษัท TOT ได้เปิดให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในระบบ 3G บนคลื่นความถี่ 2100 MHZ และ บริษัท TOT ได้ความร่วมมือกับพันธมิตรในรูปแบบการขายต่อ โดยมีพันธมิตรจานวน 5 ราย เป็นผู้ ให้บริการแบบ MVNOs (Mobile Visual Network Operators)
  • 4. กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2551 - พ.ศ. 2552 ผู้ประกอบการรายหลักในตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ก็ได้เริ่มทยอยทดลองเปิดให้บริการ 3G ผ่านเทคโล ยี HSPA ในลักษณะไม่ใช่เชิงพาณิชย์(Non-Commercial) โดยการแบ่งคลื่นความถี่เดิมที่ใช้ในระบบ 2G มาเปิดให้บริการ 3G มีการขยายสถานีฐานเพื่อทดลองให้บริการเพิ่มขึ้นจนนาไปสู่การทยอยเปิด ให้บริการในเชิงพาณิชย์ในระยะเวลาต่อมา
  • 5. กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ • ได้ขอความเห็นชอบจากทาง กทช. ได้เริ่มทดลองเปิดให้บริการ 3G ใน ลักษณะ Non-Commercial บนย่าน ความถี่ 900 MHz ด้วยเทคโนโลยี HSPA บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จากัด (มหาชน) หรือ AIS • ได้ทดลองเปิดให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในระบบ 3G โดยใช้เทคโนโลยี HSPA บนคลื่นความถี่ย่าน 850 MHz บริษัท โทเทิ่ลแอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จากัด (มหาชน) หรือ DTAC • ทดลองให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในระบบ 3G บนคลื่นความถี่ 850 MHz โดยใช้เทคโนโลยี HSPA บริษัท ทรูคอร์ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) หรือTRUE โดย True move
  • 6. กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ การให้บริการ 3G ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศสิงคโปร์ พ.ศ. 2545 ประเทศบรูไน พ.ศ. 2548 ประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และกัมพูชา พ.ศ. 2549 ประเทศพม่า (เฉพาะในกิจการทหาร) พ.ศ. 2551 ประเทศไทย สปป. ลาว และเวียดนาม พ.ศ. 2552 ปี พ.ศ. 2552 ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศยุทธศาสตร์ภาครัฐและสานักงานสถิติแห่งชาติแสดงให้เห็นว่าประเทศ ไทยเริ่มเข้าสู่ยุคของ 3G
  • 7. กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ การให้บริการ 3G แบบเต็มรูปแบบอย่างเป็นทางการในประเทศไทยได้เกิดขึ้นเมื่อคณะกรรมการ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ได้มีการเปิด ประมูลใบอนุญาตการใช้คลื่นความถี่ย่าน 2.1 GHz ในวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2555 มีผู้ประกอบการ 3 ราย คือ บริษัท แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ตเวิร์ค จากัด (AWN) บริษัท ดีแทค ไตรเน็ต จากัด (DTN) บริษัท เรียล ฟิวเจอร์ จากัด (RF) ได้รับอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่เครือข่ายละ 15 MHz เป็นระยะเวลา 15 ปี ซึ่งผู้ให้บริการแต่ละรายได้ให้บริการด้วย เทคโนโลยี 3G ประมาณกลางปี พ.ศ. 2556
  • 8. กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ระบบสัมปทานและระบบใบอนุญาต ระบบสัมปทาน เสมือนเป็นเจ้าของคลื่น โดยผู้ประกอบการเอกชนรายอื่นมาขอใช้คลื่นความถี่นั้นในการให้บริการ โทรศัพท์เคลื่อนที่ภายใต้สัญญา สร้าง - ส่งมอบ - ดาเนินการ (Build, Transfer, and Operate : BTO) ซึ่งเมื่อสิ้นสุดอายุสัมปทานแล้ว ผู้ประกอบการที่มาขอใช้คลื่นความถี่ ต้องส่งมอบโครงข่ายทั้งหมด ให้กับเจ้าของคลื่น รายได้จากการให้สัมปทานยังตกเป็นของเจ้าของคลื่น โดยไม่จาเป็นต้องนาส่งเข้า รัฐทั้งหมด รายได้จากการประกอบการของเจ้าของคลื่นมีความมั่นคงตลอดอายุสัมปทาน ข้อเสียคือ เจ้าของคลื่นไม่มีการปรับปรุงเทคโนโลยีและการให้บริการเพื่อรองรับการแข่งขันใน อนาคตหากสัมปทานสิ้นสุดลง และจาเป็นต้องบริหารโครงข่ายที่ได้รับการถ่ายโอนมาด้วยตนเอง ต่อไป
  • 9. กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ระบบใบอนุญาต เจ้าของคลื่นคือ รัฐ ซึ่งกากับดูแลโดย กสทช. ซึ่งทาหน้าที่จัดสรรคลื่นความถี่ด้วยการประมูล โดยผู้ที่ มีสิทธิ์ประมูลไม่จาเป็นต้องมีใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมที่ออกให้โดย กสทช. มาก่อน แล้ว ซึ่งรายได้จากการประมูลให้นาส่งเข้ากระทรวงการคลัง เป็นรายได้ของแผ่นดิน และ ผู้ประกอบการมีสิทธิ์ใช้ประโยชน์จากคลื่นความถี่ได้ตลอดอายุของการอนุญาต (ประมาณ 15 ปี หรือ แล้วแต่จะกาหนดเป็นอย่างอื่น) โดยเมื่อหมดเวลาการใช้คลื่นฯ กสทช. จะนาคลื่นความถี่ดังกล่าวมา ประมูลรอบใหม่ ทั้งนี้โครงข่ายของผู้ประกอบการไม่จาเป็นต้องส่งมอบให้รัฐหลังจากสิ้นสุดเวลา การอนุญาตใช้คลื่นความถี่
  • 10. กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ การเติบโตของจานวนเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในประเทศไทย
  • 12. กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เมื่อจาแนกประเภทของการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่เป็นระบบ 2G และ 3G ก่อนหน้าที่จะมีการ ให้บริการ 3G อย่างเต็มรูปแบบในปี พ.ศ. 2556 พบว่าสัดส่วนของการใช้บริการ 3G ยังอยู่ใน ระดับต่า คือ ประมาณร้อยละ 3.6 ในปี พ.ศ. 2554 และเพิ่มมาเป็นร้อยละ 7.2 ในปี พ.ศ. 2555 ต่อมา เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2556 ประเทศไทยมีสัดส่วนดังกล่าวเพิ่มเป็นร้อยละ 8.1 ในขณะที่สัดส่วน เดียวกันของโลกอยู่ที่ร้อยละ 28.5
  • 13. กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ ประธานกรรมการกิจการโทรคมนาคม และรองประธานกรรมการ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ - ปริญญาเอก: วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต (Ph.D. in EE) (วิศวกรรมโทรคมนาคม) จาก Florida Atlantic University สหรัฐอเมริกา - ปริญญาโท: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (MS in EE) (วิศวกรรมโทรคมนาคม) The George Washington University สหรัฐอเมริกา - ปริญญาโท: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (MS in EE) (วิศวกรรมไฟฟ้า) Georgia Institute of Technology สหรัฐอเมริกา - ปริญญาตรี: วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร (เกียรตินิยมเหรียญทอง) โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (นักเรียนเตรียม ทหารรุ่น 26, จปร. รุ่น 37) - มัธยมปลายจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
  • 14. กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ - เกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง ปริญญาตรีสาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารโทรคมนาคมจากโรงเรียนนาย ร้อยพระจุลจอมเกล้า - โล่ห์เกียรติยศจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าคะแนนสูงสุดในวิชาผู้นาทหาร - เกียรตินิยมปริญญาเอก Outstanding Academic Achievement จาก Tau Beta Pi Engineering Honor Society และ Phi Kappa Phi Honor Society - รางวัลเกียรติยศจักรดาว ประจาปี พ.ศ.2556 จากมูลนิธิศิษย์เก่าโรงเรียนเตรียมทหาร - ได้รับการจัดอันดับ 1 ใน 25 Young Executives ที่ประสบความสาเร็จสูงสุดในปี 2555 จากนิตยสาร GM - ประกาศเกียรติคุณ “โครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ” พ.ศ. 2556 จากคณะกรรมาธิการ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีการสื่อสาร และโทรคมนาคม วุฒิสภา - ได้รับการจัดอันดับ 1 ใน 30 นักยุทธศาสตร์แห่งปีที่อยู่ในระดับผู้นาองค์กร ปี พ.ศ. 2556 จากนิตยสาร Strategy+MarketingMagazine - รับพระราชทานรางวัลเทพทอง ครั้งที่ 16 ในฐานะองค์กรดีเด่น ประจาปี 2557 - ได้รับรางวัล “ผู้นาเสนองานวิจัยดีเด่น” จากสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ ประจาปีงบประมาณ 2558 - ประกาศเกียรติคุณรางวัล "คนดี ความดี แทนคุณแผ่นดิน“ พ.ศ.2558 สาขาการสื่อสารโทรคมนาคม จาก คณะกรรมการรางวัลไทย
  • 15. กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ขอบคุณครับ