SlideShare a Scribd company logo
1 of 192
Download to read offline
คํานํา
สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัดขอนแกน จัดทํารายงานประจําป ๒๕๕๘
จังหวัดขอนแกน เพื่อเปนประโยชนตอหนวยงานที่เกี่ยวของ ผูที่สนใจ ซึ่งรายงานฉบับนี้ ประกอบดวย ขอมูล
ทั่วไป วิสัยทัศน/ พันธกิจ /นโยบายกระทรวง พม. แผนพัฒนากลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง
แผนพัฒนาจังหวัดขอนแกน และแผนการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัดขอนแกน ฉบับที่ ๒ ขอมูลสถานการณทาง
สังคมจังหวัดขอนแกน ขอมูลกลุมเปาหมายทางสังคม เชน เด็กและเยาวชน สตรี คนพิการ ผูสูงอายุ กองทุน
ตางๆ ทางสังคม โครงสรางบุคลากร โครงสรางสํานักงาน ผลการเบิกจายงบประมาณ ประจําป ๒๕๕๘ และผล
การดําเนินงานตอกลุมเปาหมาย ไดแก ดานเด็กและเยาวชน ดานครอบครัว ดานสตรี ดานผูดอยโอกาส ดาน
ผูสูงอายุ ดานคนพิการ และดานอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต รวมถึงผลการดําเนินงานตาม
นโยบาย ๗ – ๔ - ๙
สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัดขอนแกน ขอขอบคุณบุคลากรทุกฝาย รวมถึง
ภาคีเครือขายที่มีสวนรวมและสนับสนุนการปฏิบัติงานของสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย
จังหวัดดวยดีตลอดมา และหวังเปนอยางยิ่งวารายงานฉบับนี้ จะเปนประโยชนสําหรับทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ
และรวมกันทํางานเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และรวมสรางสรรคสังคมนาอยู เปนสังคมอยูเย็นเปนสุขรวมกันของ
จังหวัดขอนแกนบนพื้นฐานของความเอื้ออาทรตอไป
พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัดขอนแกน
กันยายน ๒๕๕๘
สารบัญ
หนา
สวนที่ ๑ ขอมูลทั่วไปของจังหวัดขอนแกน ๑
สวนที่ ๒ นโยบายและแผนตางๆ ที่เกี่ยวของ ๑๑
 ระดับกระทรวง ๑๐
 วิสัยทัศน/พันธกิจ /นโยบาย พม. ๑๐
 ระดับกลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง และจังหวัด ๒๙
 แผนพัฒนากลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง พ.ศ.๒๕๕๗ – ๒๕๖๐ ๒๙
 แผนพัฒนาจังหวัดขอนแกน พ.ศ.๒๕๕๗ – ๒๕๖๐ (ฉบับทบทวน) ๓๓
 แผนการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัดขอนแกน ฉบับที่ ๒ (พ.ศ.๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) ๓๘
สวนที่ ๓ รายงานสถานการณทางสังคมจังหวัดขอนแกน ๔๐
- ขอมูลทั่วไป ๔๐
- รายงานสถานการณทางสังคมของทองถิ่น (ขอมูล อปท.) ๔๓
- รายงานความมั่นคงของมนุษย ๔๙
- ขอมูลจําแนกตามกลุมเปาหมายทางสังคม ๕๗
- ขอมูลทางสังคมอื่นๆ ที่มีความสําคัญ ๘๕
- สถานการณสําคัญของจังหวัดขอนแกน ๙๗
สวนที่ ๔ ภาพรวมสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัดขอนแกน ๑๐๓
 โครงสรางองคกร ๑๐๔
 โครงสรางบุคลากร ๑๐๖
 กรอบอัตรากําลัง ๑๑๖
 ผลการเบิกจายประจําป ๒๕๕๘ ๑๑๗
สวนที่ ๕ ผลการดําเนินงานของสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัดขอนแกน๑๑๘
 ผลการดําเนินงานตามนโยบาย ๗ – ๔ – ๙ ๑๑๙
 ผลการดําเนินงานตามภารกิจตางๆ ๑๒๓
- การพัฒนาและจัดสวัสดิการ ดานเด็กและเยาวชน ๑๒๓
- การพัฒนาและจัดสวัสดิการ ดานครอบครัว ๑๔๒
- การพัฒนาและจัดสวัสดิการ ดานสตรี ๑๔๗
- การพัฒนาและจัดสวัสดิการ ดานผูประสบปญหาทางสังคม และผูดอยโอกาสตางๆ ๑๕๐
- การพัฒนาและจัดสวัสดิการ ดานผูสูงอายุ ๑๕๒
- การพัฒนาและจัดสวัสดิการ ดานคนพิการ ๑๖๓
- การพัฒนาและจัดสวัสดิการชุมชนและสังคม ๑๘๒
- การปองกันและปราบปรามการคามนุษย ๑๘๓
- อาเซียน ๑๘๗
- หอพัก ๑๘๙
- อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ๑๙๒
บรรณานุกรม
๑
สวนที่ ๑
ขอมูลทั่วไปของจังหวัดขอนแกน
๒
สวนที่ ๑
ขอมูลทั่วไปจังหวัดขอนแกน
๑. คําขวัญประจําจังหวัด : พระธาตุขามแกน เสียงแคนดอกคูน ศูนยรวมผาไหม รวมใจผูกเสี่ยว เที่ยวขอนแกนนคร
ใหญ
ไดโนเสารสิรินธรเน สุดเทเหรียญทองมวยโอลิมปค
จังหวัดขอนแกน
ตราประจําจังหวัด
เหรียญที่ระลึกประจําจังหวัด
๒. ดอกไมประจําจังหวัด : ดอกราชพฤกษ
๓
จังหวัดขอนแกน ตั้งอยูบริเวณตอนกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หางจากกรุงเทพมหานคร ๔๔๕
กิโลเมตร มีพื้นที่ ๑๐,๘๘๕.๙๙ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๖.๘ ลานไร ภูมิประเทศเปนพื้นที่ราบ มี
ลักษณะสูงต่ําสลับเปนลูกคลื่นลาดเทไปทางทิศตะวันออกและทิศใต มีที่ราบลุมแถบลุมนําชี และลุมน้ําพอง
พื้นที่สูงกวาระดับน้ําทะเล ปานกลางเฉลี่ย ๑๐๐ – ๒๐๐ เมตร
๔. อาณาเขต
ทิศเหนือ ติดกับจังหวัดอุดรธานี เลย และหนองบัวลําภู
ทิศใต ติดกับจังหวัดนครราชสีมา และบุรีรัมย
ทิศตะวันออก ติดกับจังหวัดกาฬสินธุ และมหาสารคาม
ทิศตะวันตก ติดกับจังหวัดชัยภูมิ และเพชรบูรณ
๓. ที่ตั้ง
๔
๕. การปกครองและประชากร
๕.๑ การปกครอง
• อําเภอ จํานวน ๒๖ อําเภอ ๑๙๘ ตําบล ๒,๓๓๑ หมูบาน และ ๓๘๙ ชุมชน
(ที่มา : ที่ทําการปกครองจังหวัดขอนแกน ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๖)
• องคกรปกครองสวนทองถิ่น จํานวน ๒๒๕ แหง ประกอบดวย องคการบริหารสวนจังหวัด จํานวน
๑ แหง เทศบาล จํานวน ๘๕ แหง (เทศบาลนคร จํานวน ๑ แหง เทศบาลเมือง จํานวน ๖ แหง และเทศบาล
ตําบล จํานวน ๗๘ แหง) และองคการบริหารสวนตําบล จํานวน ๑๓๙ แหง
(ที่มา : สํานักงานสงเสริมการปกครองสวนทองถิ่นจังหวัดขอนแกน ๒๕๕๖)
• ราชการสวนภูมิภาค ๓๓ สวนราชการ
• ราชการสวนกลางและรัฐวิสาหกิจ ๒๒๗ หนวยงาน
(ที่มา : สํานักงานจังหวัดขอนแกน ๒๕๕๗)
๕.๒ ประชากร
• ประชากรรวม ๑,๗๘๑,๖๕๕ คน แยกเปนชาย ๘๘๑,๕๙๑ คน หญิง ๙๐๐,๐๖๔ คน จํานวนบาน
๕๖๑,๗๗๔ หลัง
(ที่มา : สํานักบริหารทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย รวบรวมโดย สํานักงานสถิติแหงชาติ ณ ๓๑
ธันวาคม ๒๕๕๖)
๖. สภาพเศรษฐกิจ
(๑) อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ (ป ๒๕๕๑ – ๒๕๕๕)
ตารางแสดง : ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดขอนแกน (Gross Provincial Product: GPP)
ป ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕
ผลิตภัณฑจังหวัด (GPP) ๑๒๕,๘๑๓ ๑๔๑,๔๖๘ ๑๕๑,๑๗๙ ๑๕๙,๓๗๗ ๑๘๕,๖๐๓
ตารางแสดง : รายไดเฉลี่ยตอหัวประชากร (Per Capita GPP)
ป ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕
รายไดเฉลี่ยตอหัวประชากร
(Per Capita GPP)
๗๑,๗๗๔ ๘๐,๙๖๑ ๘๖,๘๓๔ ๙๑,๕๑๖ ๑๐๖,๕๘๓
โดยในป ๒๕๕๕ จังหวัดขอนแกนมี GPP มูลคาจํานวน ๑๘๕,๖๐๓ ลานบาท เปนลําดับที่ ๑๔ ของ
ประเทศ และเปนลําดับที่ ๒ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือรองจากจังหวัดนครราชสีมา
รายไดเฉลี่ยตอหัวประชากร (Per Capita GPP) ของจังหวัดขอนแกน ป ๒๕๕๕ คือ ๑๐๖,๕๘๓ บาท
อยูในอันดับที่ ๑ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และเปนอันดับที่ ๓๓ ของประเทศ (ที่มา : สํานักงาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ป ๒๕๕๕)
๕
๗. ลักษณะทางสังคม
๗.๑ แรงงาน
ประชากรและกําลังแรงงาน จากผลสํารวจภาวะการทํางานของประชากร ไตรมาส ๓/๒๕๕๗
(กรกฏาคม – กันยายน) พบวามีประชากรรวมทั้งสิ้น ๑,๗๔๑,๖๔๙ คน เปนผูมีอายุ ๑๕ ปขึ้นไป จํานวน
๑,๔๓๕,๗๓๔ คน คิดเปนรอยละ ๘๒.๔๓ ของประชากรรวมทั้งหมด เปนผูที่อยูในกําลังแรงงานมีจํานวน
๘๗๔,๙๔๗ คน คิดเปนรอยละ ๖๐.๙๔ ของผูมีอายุ ๑๕ ปขึ้นไป โดยแบงเปนผูมีงานทําจํานวน ๘๕๙,๒๕๙ คน
คิดเปนรอยละ ๙๙.๖๐ ผูวางงานจํานวน ๓,๔๗๗ คน คิดเปนรอยละ ๐.๔๐ และผูที่รอฤดูกาลจํานวน
๑๒,๒๑๑ คน คิดเปนรอยละ ๑.๔๒ ของผูอยูในกําลังแรงงาน สวนผูที่ไมอยูในกําลังแรงงานมีจํานวน
๕๖๐,๗๘๗ คน คิดเปนรอยละ ๓๙.๐๖ ของผูมีอายุ ๑๕ ปขึ้นไป แบงเปนกลุมทํางานบานจํานวน ๑๖๔,๒๕๕
คน คิดเปนรอยละ ๑๑.๔๔ เรียนหนังสือจํานวน ๒๑๒,๑๓๖ คน คิดเปนรอยละ ๑๔.๗๘ และอื่นๆ จํานวน
๑๘๔,๓๙๖ คน คิดเปนรอยละ ๑๒.๘๔ ของผูไมอยูในกําลังแรงงาน
สวนผูมีอายุที่ต่ํากวา ๑๕ ป มีจํานวน ๓๐๕,๙๑๕ คน คิดเปนรอยละ ๑๗.๕๖ ของประชากรรวมทั้งหมด
ผังแสดงโครงสรางแรงงาน
การวางงาน มีผูวางงานจํานวนทั้งสิ้น ๒๒,๖๗๗ คน เปนชายจํานวน ๗,๖๔๖ คน คิดเปนรอยละ
๓๓.๗๒ เปนหญิงจํานวน ๑๕,๐๓๑ คน คิดเปนรอยละ ๖๖.๒๘ ของผูวางงานทั้งหมด
การจัดหางานในประเทศ มีผูขึ้นทะเบียนสมัครงานทั้งสิ้น ๑๙,๗๔๔ คน ตําแหนงงานวาง
๒๐,๒๑๓ อัตรา ผูขึ้นทะเบียนหางานทําไดรับการบรรจุงานจํานวน ๑๒,๘๘๓ คน คิดเปนรอยละ ๖๕.๒๕ ของ
ผูขึ้นทะเบียนทั้งหมด
ประชากรอายุต่ํากวา

ประชากรอายุ ๑๕ ป
ึ้ ไ
ผูไมอยูในกําลังแรงงานผูอยูในกําลังแรงงาน
ผูมีงานทํา ๘๕๙,๒๕๙ ทํางานบาน ๑๖๔,๒๕๕
เรียนหนังสือ ๒๑๒,๑๓๖ผูวางงาน ๓,๔๗๗ คน
อื่นๆ ๑๘๔,๓๙๖ คนผูรอฤดูกาล ๑๒,๒๑๑
ประชากรรวม
๖
ผูมาขึ้นทะเบียนสมัครงาน รวมทั้งสิ้น จํานวน ๑๙,๗๔๔ คน เปนผูประกันตนกรณีวางงานที่ลาออก
และ ถูกเลิกจาง จํานวน ๑๒,๑๓๘ คน คิดเปนรอยละ ๖๑.๔๘ ของจํานวนผูมาขึ้นทะเบียนทั้งหมด วุฒิ
การศึกษาผูขึ้นทะเบียนสมัครงานสวนใหญอยูระดับปริญญาตรี ๕,๐๑๔ คน คิดเปนรอยละ ๒๕.๔๐ รองลงมา
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ๔,๑๖๗ คน คิดเปนรอยละ ๒๑.๑๑ และระดับวุฒิมัธยมศึกษา
๓,๘๓๓ คน คิดเปนรอยละ ๑๙.๔๑ ตําแหนงที่คนหางานตองการสมัครมากที่สุด คือ ตําแหนงพนักงานธุรการ
เจาหนาที่ฝายบุคคล พนักงานบริการลูกคาพนักงานบัญชีและเจาหนาที่การตลาด ตามลําดับ
(ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดขอนแกน ป ๒๕๕๖)
แรงงานตางดาว จังหวัดขอนแกนมีนายจาง/สถานประกอบการที่จางแรงงานตางดาว จํานวน
๑,๐๙๒ แหง และมีแรงงานตางดาวที่ไดรับอนุญาตทํางานในจังหวัดขอนแกน จํานวนทั้งสิ้น ๖,๐๘๔ คน
(ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดขอนแกน กันยายน ๒๕๕๗)
๗.๒ การศึกษา
โรงเรียนทุกสังกัดที่เปดทําการสอนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัดขอนแกน จํานวน ๑,๒๔๗ แหง
จํานวนนักเรียน ๒๕๑,๓๐๕ คน จํานวนครู ๑๐,๔๖๔ คน จํานวนหองเรียน ๑๓,๒๙๙ หอง
๗.๓ สาธารณสุข
สถานบริการดานสาธารณสุข มีโรงพยาบาล ๓๑ แหง สังกัดสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแกน
๒๒ แหง มหาวิทยาลัยขอนแกน ๒ แหง กระทรวงกลาโหม ๑ แหง กรมอนามัย ๑ แหง กรมสุขภาพจิต ๑
แหง กรมการแพทย ๑ แหง เอกชน ๓ แหง
๗.๔ ศาสนาและวัฒนธรรม
ประชาชนสวนใหญนับถือศาสนาพุทธ มีสถานที่ประกอบพิธีทางศาสนา ๑,๔๖๖ แหง ประกอบดวย
วัด ๑,๓๗๑ แหง โบสถคริสต ๕๘ แหง มัสยิด ๗ แหง และสุเหรา ๒ แหง โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม
- บาลี ๒๖ แหง และมหาวิทยาลัยสงฆ ๒ แหง (สํานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดขอนแกน ๒๕๕๗)
การดําเนินงานในดานการสงเสริม และอนุรักษวัฒนธรรม ไดจัดใหมีศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาวัน
อาทิตย จํานวน ๑๒๗ แหง โครงการวัฒนธรรมไทยสายใยชุมชน ๔๕ แหง แหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรม ๑๒
แหง ศูนยเฝาระวังทางวัฒนธรรม ๗๙ แหง ศูนยวัฒนธรรมในสถานศึกษา ๒๖ แหง องคกรเครือขายทาง
วัฒนธรรม ประกอบดวย สภาวัฒนธรรมจังหวัด ๑ แหง สภาวัฒนธรรมอําเภอ ๒๖ แหง สภาวัฒนธรรมตําบล
๑๙๙ แหง สภาวัฒนธรรมหมูบาน ๒,๓๓๗ แหง (ที่มา : สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดขอนแกน ๒๕๕๗)
๗
๘. ขอมูลเชิงสถิติที่สําคัญเชิงพื้นที่ของจังหวัด
๘.๑ ขอมูล จปฐ.
จากการจัดเก็บขอมูล จปฐ. ป ๒๕๕๗ จํานวน ๒๖ อําเภอ ๑๙๓ ตําบล ๒,๑๘๓ หมูบาน ๓๓ เทศบาล
๓๓๐,๐๘๔ ครัวเรือน พบวามีประชากรที่อาศัยอยูจริง ๑,๒๒๓,๓๔๑ คน เปนชาย ๕๙๗,๓๙๙ คน คิดเปนรอย
ละ ๔๘.๘๓เปนหญิง ๖๒๕,๙๔๒ คน คิดเปนรอยละ ๕๑.๑๗ พบวาคุณภาพชีวิตของคนไทยในชนบทตาม
เครื่องชี้วัด จปฐ. จํานวน ๕ หมวด ๓๐ ตัวชี้วัด ปรากฏวา บรรลุเปาหมาย ๒๒ ตัวชี้วัด ไมบรรลุเปาหมาย ๘
ตัวชี้วัด
ในป ๒๕๕๗ จังหวัดขอนแกนมีครัวเรือนยากจนที่มีรายไดต่ํากวาเกณฑ จปฐ. (๓๐,๐๐๐บาท/คน/ป)
จํานวน ๑,๙๐๐ ครัวเรือน
แผนภูมิแสดง : จํานวนครัวเรือนยากจนจากการจัดเก็บขอมูล จปฐ. ป ๒๕๕๐-๒๕๕๗
ที่มา : สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดขอนแกน ๒๕๕๗
๘.๒ ขอมูล กชช.๒ค
จากการจัดเก็บขอมูล กชช.๒ค ป ๒๕๕๖ จํานวน ๒๖ อําเภอ ๑๙๕ ตําบล ๒,๒๒๔ หมูบาน พบวา
จังหวัดขอนแกน ไมมีหมูบานเรงรัดพัฒนาอันดับ ๑ (ลาหลัง) มีหมูบานเรงรัดพัฒนาอันดับ ๒ )ปานกลาง(
จํานวน๓๐๖ หมูบาน คิดเปนรอยละ ๑๔.๐๕ และหมูบานเรงรัดพัฒนาอันดับ ๓ )กาวหนา(จํานวน ๑,๘๗๒
หมูบาน คิดเปนรอยละ ๘๕.๙๕ โดยปญหาพื้นฐานของหมูบานตัวชี้วัด ๕ อันดับแรก คือ
(๑) การกีฬา จํานวน ๑,๑๒๐ หมูบาน หรือรอยละ ๕๐.๓๖
(๒) คุณภาพของดิน จํานวน ๑,๐๑๗ หมูบาน หรือรอยละ ๔๕.๗๓
(๓) การเรียนรูโดยชุมชน จํานวน ๑,๐๐๙ หมูบาน หรือรอยละ ๔๕.๓๗
(๔) การเขาถึงแหลงเงินทุนของชุมชน จํานวน ๘๘๖ หมูบาน หรือรอยละ ๓๙.๘๔
(๕) คุณภาพของน้ํา จํานวน ๗๗๙ หมูบานหรือรอยละ ๓๕.๐๓
8,084
5,910
2,890 2,890
1,969
6,692
3127
1900
0
2,000
4,000
6,000
8,000
10,000
2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557
๘
๘.๓ ขอมูลดานสังคม
(๑) ยาเสพติด
เนื่องจากจังหวัดขอนแกนเปนศูนยกลางในการคมนาคมไปสูภูมิภาคตางๆ ดังนั้น ปญหาดานยาเสพติด
จึงเปนลักษณะของเสนทางผานเพื่อไปยังจังหวัดตางๆ โดยยาเสพติดจะมีทั้ง แอมเฟตามีน กัญชาแหง-สด
กระทอม สาระเหย และยาไอซ โดยมีสถิติเพิ่มขึ้นตลอด ตั้งแต ป ๒๕๕๑-๒๕๕๗
ตารางแสดง : แสดงสถิติคดียาเสพติด จังหวัดขอนแกน ป ๒๕๕๑-๒๕๕๖
ป จํานวนคดี จํานวนผูตองหา (คน)
๒๕๕๔ ๓,๕๘๒ ๓,๗๔๘
๒๕๕๕ ๓,๒๔๑ ๓,๓๐๙
๒๕๕๖ ๓,๓๗๙ ๓,๔๘๔
๒๕๕๗ ๓,๗๑๗ ๓,๘๑๗
ที่มา : ตํารวจภูธรจังหวัดขอนแกน ๒๕๕๗
(๒) แรงงาน
สถานการณแรงงานในจังหวัดขอนแกนไตรมาส ๓ กรกฏาคม – กันยายน ๒๕๕๗
 ผูที่อยูในวัยกําลังแรงงาน ๑,๔๓๕,๗๓๔ คน
 มีงานทํา ๘๕๙,๒๕๙ คน
 วางงาน ๓,๔๗๗ คน
 รอฤดูกาล ๑๒,๒๑๑ คน
 ผูไมอยูในกําลังแรงงาน ๕๖๐,๗๘๗ คน
จังหวัดขอนแกนมีแรงงานที่ไดรับอนุญาตใหเดินทางไปทํางานตางประเทศเดือนมีนาคม ๒๕๕๖ จํานวน
๔,๖๗๔ คน
(๓) ความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน
(๓.๑) ดานอาชญากรรม
จังหวัดขอนแกนเปนเมืองที่มีผูคนมาอาศัยและประกอบอาชีพดานตางๆ เนื่องจากเปนศูนยกลางทาง
การคา การบริการ การขนสง รวมทั้งเปนเมืองแหงการศึกษา ประกอบกับเปนเมืองที่มีอัตราการขยายตัวทาง
เศรษฐกิจสูง คาครองชีพสูง จึงกอใหเกิดปญหาดานอาชญากรรมในพื้นที่เพิ่มอยางตอเนื่อง
๙
ตารางแสดง : สถิติการเกิดคดี -การจับกุมจําแนกตามกลุมคดี ป ๒๕๕๒-๒๕๕๖
ประเภทคดี ป ๒๕๕๒ ป ๒๕๕๓ ป ๒๕๕๔ ป ๒๕๕๕ ป ๒๕๕๖ ป ๒๕๕๗
รับแจง จับ รับแจง จับ รับแจง จับ รับแจง จับ รับแจง จับ รับ
แจง
จับ
กลุมที่ ๑ : คดีอุกฉกรรจและ
สะเทือนขวัญ
๗๐ ๕๒ ๖๘ ๕๗ ๒๙ ๑๙ ๕๒ ๓๘ ๖๗ ๕๒ ๖๙ ๖๐
กลุมที่ ๒ : คดีชีวิตรางกาย
และเพศ
๖๒๐ ๔๔๒ ๕๕๔ ๔๓๑ ๒๓๗ ๑๖๘ ๒๕๘ ๑๗๗ ๔๒๔ ๓๐๗ ๔๐๐ ๒๕๔
กลุมที่ ๓ : คดีประทุษรายตอ
ทรัพย
๖๑๑ ๔๕๕ ๖๗๗ ๕๓๗ ๓๑๐ ๒๓๖ ๗๕๕ ๔๖๕ ๘๒๙ ๔๑๙ ๘๗๕ ๔๓๖
ที่มา : ตํารวจภูธรจังหวัดขอนแกน )ขอมูลป ๒๕๕๖ ระหวางเดือนตุลาคม ๒๕๕๒ ถึง เดือนมีนาคม ๒๕๕๗(
(๓.๒) ดานอุบัติเหตุทางบก
จังหวัดขอนแกนเปนศูนยกลางการคมนาคมขนสง ปญหาที่เกิดขึ้นคือ จํานวนรถยนตเพิ่มขึ้นทุกป
ขณะที่พื้นที่การคมนาคมขนสงคงเดิมหรือเพิ่มขึ้นในอัตราที่ไมสัมพันธกับจํานวนรถยนต จึงเกิดปญหาการเกิด
อุบัติเหตุจากการใชรถใชถนน
แผนภูมิแสดง : สถิติการเกิดอุบัติเหตุ ป ๒๕๕๑-๒๕๕๖
ป ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗
จํานวนการเกิดอุบัติเหตุ (ครั้ง) ๕๒๖ ๔๙๓ ๔๒๘
เสียชีวิต (ราย) ๓๐๖ ๓๒๕ ๒๐๕
บาดเจ็บ (ราย) ๔,๓๑๕ ๓,๘๗๔ ๒,๙๙๕
ที่มา : สํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดขอนแกน )ขอมูล ณ เดือนกันยายน ๒๕๕๖(
จํานวนการเกิดอุบัติเหตุ (ครั้ง) เสียชีวิต (ราย) บาดเจ็บ (ราย)
0
100
200
300
400
500
600
2551 2552 2553 2554 2555 2556
๑๐
(๔) ดานภัยธรรมชาติ
แผนภูมิ : เปรียบเทียบครัวเรือนที่ประสบปญหาภัยแลงและภัยหนาว ป ๒๕๕๐ - ๒๕๕๕ )หนวย :
ครัวเรือน(
ภัยแลง ภัยหนาว
(ที่มา : ขอมูลสรุปจังหวัดขอนแกน สํานักงานจังหวัดขอนแก่น, หน้า ๑ – ๑๓)
0
50000
100000
150000
200000
250000
300000
2550 2551 2552 2553 2554 2555
๑๑
สวนที่ ๒
นโยบายและแผนตางๆ ที่เกี่ยวของ
๑๒
สวนที่ ๒
นโยบายและแผนตางๆ ที่เกี่ยวของ
 ระดับกระทรวง
วิสัยทัศน / พันธกิจ / นโยบาย
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย
วิสัยทัศน
“มุงสูสังคมคุณภาพ บนพื้นฐานความรับผิดชอบรวมกัน”
พันธกิจ
๑. สรางระบบสวัสดิการใหประชาชนมีหลักประกันและมีความมั่นคงในชีวิต
๒. พัฒนาคนและสังคมใหมีคุณภาพและมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง
๓. เสริมสรางทุกภาคสวนมีสวนรวมในการพัฒนาสังคม
๔. พัฒนาองคความรู ขีดความสามารถ และระบบการบริหารจัดการดานการพัฒนาสังคม
ประเด็นยุทธศาสตร
๑. การผลักดันใหเกิดสังคมสวัสดิการ
๒. การพัฒนาสังคมเขมแข็ง พรอมรับการเปลี่ยนแปลง
๓. การเสริมสรางพลังทางสังคม
๔. การยกระดับขีดความสามารถการบริหารจัดการดานการพัฒนาสังคม
คานิยมองคการ
“รวมมือ รวมใจ รวมพลัง สรางสรรคสังคมคุณภาพ”
เจตนารมณของ รมว.พม.
“ลดความเหลื่อมล้ํา สรางความเปนธรรม พัฒนาสังคมรวมกันอยางยั่งยืน”
๑๓
นโยบาย
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย
พลตํารวจเอกอดุลย แสงสิงแกว
(รัฐมนตรีวาการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย)
๑. สถานการณทางสังคม
๑.๑ ปญหาการคามนุษย
๑.๒ การพัฒนาคนตลอดชวงชีวิต
๑.๓ การกาวเขาสูสังคมผูสูงอายุ
๑.๔ การดูแลผูพิการ ผูดอยโอกาส และกลุมชาติพันธุ
๑.๕ การพัฒนาที่อยูอาศัยของชุมชนแออัดและผูมีรายไดนอย
๑.๖ การเขาสูประชาคมอาเซียนในป ๒๕๕๘
๒. วิสัยทัศน พม.
“มุงสูสังคมคุณภาพ บนพื้นฐานความรับผิดชอบรวมกัน”
๓. เจตนารมณของ รมว.พม.
“ลดความเหลื่อมล้ํา สรางความเปนธรรม พัฒนาสังคมรวมกันอยางยั่งยืน”
๑๔
นโยบาย พม.
๑๕
๑๖
๑๗
๑๘
๑๙
๒๐
๒๑
๒๒
๒๓
๒๔
๒๕
นโยบายพันธกิจ 9 ดาน
๒๖
๒๗
๒๘
๒๙
 ระดับกลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง และจังหวัด
๑. แผนพัฒนากลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๐
กลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง ประกอบดวย ๔ จังหวัด ไดแก จังหวัดกาฬสินธุ
ขอนแกน มหาสารคาม และจังหวัดรอยเอ็ด
จากการวิเคราะหสภาวะแวดลอมของกลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางไดประเมิน
ศักยภาพในปจจุบันและโอกาสการพัฒนาในอนาคตของกลุมจังหวัด ประกอบดวย การวิเคราะหปจจัย
ภายนอก (โอกาส / ภัยคุกคาม) และปจจัยภายใน (จุดแข็ง / ขอจํากัด) ซึ่งมีรายละเอียดในการวิเคราะห
สภาวะแวดลอม (SWOT Analysis) ของกลุมจังหวัดฯ ดังนี้ (แผนพัฒนากลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอนกลาง พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๐, ๒๕๕๖, น.๓๕-๓๗)
ปจจัยภายนอก
โอกาส (Opportunities) มีประเด็นสําคัญ ดังนี้
(๑) ผลกระทบที่เกิดจากการทําลายสิ่งแวดลอมและสภาวะอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป สงผลใหเกิด
กระแสอนุรักษนิยมสิ่งแวดลอมและความตองการเกษตรอินทรีย
(๒) นโยบายในการสงเสริมการผลิตสินคาเกษตรโดยเฉพาะขาวหอมมะลิ ซึ่งเปนพืชเศรษฐกิจหลัก
(๓) นโยบายการเพิ่มขีดความสามารถทางการแขงขันภาคเกษตรเพื่อกาวไปสูการเปนครัวโลก
(๔) นโยบายการรวมกลุม AEC เกี่ยวกับการเปดเสรีทางการคา
(๕) ผลกระทบจากปญหาสภาวะโลกรอน และภัยพิบัติทางธรรมชาติสงผลใหผูบริโภคเกิดความ
ตองการสินคาภาคการเกษตรเพิ่มมากขึ้น
(๖) ราคาน้ํามันที่สูงขึ้นและนโยบายสงเสริมการใชพลังงานทดแทนจากเอทานอลเปนการเพิ่มโอกาส
การผลิตสินคาเกษตรประเภทพืชพลังงานโดยเฉพาะ ออยและ มันสําปะหลัง
(๗) นโยบายการสงเสริมความรวมมือทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ เชน ขอตกลงการคาเสรี (FTA)
และความรวมมือกับประเทศเพื่อนบาน ไดแก ความรวมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง เปนการเปด
โอกาสดานการคาการลงทุนใหกับกลุมจังหวัด จะทําใหเกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจและตลาด ความ
ตองการในการบริโภคสินคาและบริการตางๆ เพิ่มขึ้น
(๘) โครงการพัฒนาภายในประเทศและระหวางประเทศในดานโลจิสติกส (รถไฟความเร็วสูง รถไฟ
รางคู)
(๙) ผลของการพัฒนาเศรษฐกิจโลกที่ผานมาโดยไมคํานึงถึงการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ ทําให
เกิดวิกฤติความมั่นคงดานพลังงาน ซึ่งจะตองมีการชดเชยโดยการใชพลังงานทางเลือกมาทดแทนมากขึ้น
(๑๐) มีเสนทางระเบียงเศรษฐกิจแนวตะวันออก-ตะวันตก (East – West Economic Corridor)
สงผลใหการคาการลงทุนกับประเทศเพื่อนบานมีโอกาสมากยิ่งขึ้น
(๑๑) มีความพรอมดานปจจัยสําคัญเพื่อรองรับการลงทุน (ศูนยเศรษฐกิจการลงทุนภาคที่ ๕ (BOI),
ศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ ๕, ธนาคารแหงประเทศไทย สํานักงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, สถาบัน
พัฒนาฝมือแรงงาน)
๓๐
ขอจํากัด / ภัยคุกคาม (Threat)
(๑) นโยบายการรวมกลุม AEC เกี่ยวกับการเปดเสรีทางการคาสงผลตอผลผลิตสินคาเกษตรบางชนิด
เนื่องจากไทยมีตนทุนกาลผลิตที่สูงกวา
(๒) ปญหาโลกรอนทําใหเกิดภัยธรรมชาติ (น้ําทวม ฝนแลง) ซึ่งเปนอุปสรรคตอการผลิตสินคาเกษตร
(๓) ปจจัยพื้นฐานในการประกอบดานการคา การลงทุน (ที่ดิน แรงงาน) มีตนทุนสูง ตางชาติเขามา
ลงทุนถือครองที่ดิน
(๔) ผลกระทบจาก FTA , AEC ที่ทําใหเกิดการยายฐานการผลิตไปยังประเทศที่มีตนทุนต่ํากวา
(๕) ปจจัยการผลิตสินคาในประเทศไทยสูงกวาประเทศเพื่อนบาน เชน คาแรง รวมถึงตางชาติเขามา
ถือครองที่ดิน
(๖) ปญหาการเคลื่อนยายแรงงาน / ขาดแคลนแรงงานภาคการเกษตร
ปจจัยภายใน
จุดแข็ง (Strength)
(๑) เปนฐานการผลิตพืชอาหารและพืชพลังงานทดแทนของประเทศ (ขาว ออย มันสําปะหลัง) ที่
สามารถแปรรูปไปสูอาหารและพลังงานทดแทน
(๒) มีพื้นที่ที่มีศักยภาพ ไดแก ขอนแกน และ กาฬสินธุ ที่ใชเปนฐานการผลิตอุตสาหกรรมอาหารและ
เอทานอลของประเทศ พื้นที่เพาะปลูกขางหอมมะลิคุณภาพสูงอยูในเขตทุงกุลารองไหในจังหวัดรอยเอ็ดและ
จังหวัดมหาสารคาม
(๓) เปนแหลงผลิตสินคาเกษตรที่สําคัญเพื่อการบริโภคภายในประเทศและการสงออก ซึ่งไดแก ขาว
ออย และ มันสําปะหลัง
(๔) มีขอไดเปรียบดานภูมิศาสตร เนื่องจากตั้งอยูใจกลางของภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และอยูใน
บริเวณใกลเคียงกับประเทศเพื่อนบาน ไดแก ลาว กัมพูชา เวียดนาม ทําใหสะดวกในการติดตอคาขายกับ
ประเทศเพื่อนบาน
(๕) มีแหลงน้ําที่จะสนับสนุนภาคการเกษตร เชน เขื่อนอุบลรัตน เขื่อนลําปาว แมน้ําชี แมน้ํายัง
(๖) มีความพรอมดานปจจัยเพื่อรองรับการลงทุน เขน การเปนศูนยกลางการศึกษา ศูนยบริการทาง
การแพทยและสาธารณสุข และมีศูนยราชการระดับภาค การเงินและธุรกิจ
(๗) มีหนวยงานวิจัยเกี่ยวกับการปรับปรุงและพัฒนาการเกษตร
จุดออน (Weakness)
(๑) ผลผลิตภาคการเกษตรขาดคุณภาพ เนื่องจากระบบชลประทาน ยังไมทั่วถึงและขาดการบริหาร
จัดการน้ําที่ดี เกษตรกรขาดความรูในการผลิตและการจัดการ สงผลใหผลผลิตตอไรต่ํา
(๒) ขาดการประยุกตใชเทคโนโลยีในการผลิต ระบบการผลิตยังเปนแบบ More for less
(๓) แรงงานสวนใหญเปนแรงงานไรฝมือ เนื่องจากมีระดับการศึกษาต่ําจากสภาพความยากจน (รายได
ตอหัว GPP per Capital ต่ํา) ทําใหผลิตภาพแรงงาน (Productivity) อยูในระดับต่ํา
(๔) โครงสรางพื้นฐาน เพื่อรองรับการลงทุนไมเพียงพอ เชน คลังรวบรวมและกระจายสินคา ระบบ
โลจิสติกส ที่อํานวยตอการขนสงและขนถายสินคาเกษตร คุณภาพของเสนทางคมนาคมทางรถยนตที่ยังไม
สะดวกและรวดเร็ว
๓๑
ยุทธศาสตรการพัฒนากลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง พ.ศ.๒๕๕๗ – ๒๕๖๐
กลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางไดกําหนดแผนยุทธศาสตรการพัฒนากลุมจังหวัด
พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๐ เพื่อใชเปนกรอบแนวทางของการพัฒนากลุมจังหวัด ภายใตผลการวิเคราะห
สภาพแวดลอม ศักยภาพ บริบทของการพัฒนาที่ผานมาและในอนาคต รวมทั้งสภาพของปญหาและ
ความตองการของประชาชน โดยมียุทธศาสตรของการพัฒนากลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง
ดังนี้ (แผนพัฒนากลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๐, ๒๕๕๖, น.๔๒-๔๔)
 วิสัยทัศน
“ฐานการผลิต การคา การแปรรูปพืชเศรษฐกิจหลัก (ขาว ออย มันสําปะหลัง) ที่มีคุณภาพเพื่อ
ความมั่นคงดานอาหารและพลังงานทดแทนสูสากล”
 เปาประสงค
เพื่อกาวไปสูวิสัยทัศนและการพัฒนากลุมจังหวัดที่พึงปรารถนาในระยะยาว ๔ ป จึงไดกําหนด
เปาหมายหลักในการพัฒนากลุมจังหวัดไวดังนี้
1) เพิ่มคุณภาพการผลิตพืชเศรษฐกิจหลัก
2) เพิ่มมูลคาการคา การลงทุน การแปรรูปพืชเศรษฐกิจ
 ตัวชี้วัด
๑) รอยละผลผลิตตอไร
๒) รอยละของจํานวนแปลงที่ไดรับการรับรอง GAP
๓) รอยละของมูลคาการคาพืชเศรษฐกิจหลัก
 ประเด็นยุทธศาสตร/กลยุทธ/แนวทางการพัฒนา
กลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางไดกําหนดประเด็นยุทธศาสตรเปาประสงค ตัวชี้วัด
และกลยุทธการพัฒนาเพื่อบรรลุวิสัยทัศนของการพัฒนารายไดประเด็นยุทธศาสตรรวม ๒ ประเด็นยุทธศาสตร
ดังนี้
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๑ : ยุทธศาสตรการพัฒนาศักยภาพการผลิต การคา การแปรรูปพืช
เศรษฐกิจใหมีความเขมแข็ง
 เปาประสงค
๑.๑) เพิ่มคุณภาพผลผลิตทางการเกษตรใหมีคุณภาพที่ดี
๑.๒) พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑแปรรูปและเพิ่มชองทางการตลาดสินคาเกษตรและผลิตภัณฑ
แปรรูปจากสินคาเกษตร
 ตัวชี้วัด
๒.๑) รอยละที่เพิ่มขึ้นของจํานวนแปลงที่ไดรับใบรับรอง GAP
๒.๒) รอยละที่เพิ่มขึ้นของปริมาณผลผลิตการเกษตรของกลุมจังหวัด
๒.๓) มูลคาจําหนายสินคาเกษตรที่เพิ่มขึ้น
 กลยุทธและแนวทางการพัฒนา ประกอบดวยกลยุทธ ๓ กลยุทธ ดังนี้
๓.๑) เพิ่มประสิทธิภาพและมาตรฐานการผลิต ประกอบดวยแผนงาน ดังนี้
๓๒
 พัฒนาปจจัยพื้นฐานการผลิตและการคาพืชเศรษฐกิจหลัก
ยกระดับคุณภาพการผลิตพืชเศรษฐกิจหลัก
 พัฒนาศักยภาพเกษตรกร/ สถาบันเกษตรกร
๓.๒) พัฒนาและสรางมูลคาเพิ่มสินคาพืชเศรษฐกิจหลัก ประกอบดวยแผนงานดังนี้
สงเสริมการแปรรูปผลิตภัณฑหลัก
พัฒนาขีดความสามารถผูประกอบการ/ SME/ เครือขายการแปรรูป
๓.๓) พัฒนาการคาการลงทุนและแปรรูปพืชเศรษฐกิจหลักประกอบดวยแผนงานดังนี้
 พัฒนาปจจัยและโครงสรางพื้นฐานการคา การลงทุน
 สงเสริมตลาดการคาพืชเศรษฐกิจหลัก
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ : ยุทธศาสตรยุทธศาสตรเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกลุมจังหวัด
 เปาประสงค
เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกลุมจังหวัด
 ตัวชี้วัด
รอยละความพึงพอใจของผูรับบริการจากสํานักบริหารยุทธศาสตรกลุมจังหวัด(รอยละ๘๕)
 กลยุทธและแนวทาง ประกอบดวย ๒ กลยุทธ ดังนี้
๒.๑) พัฒนาปจจัยการบริหารงานกลุมจังหวัด
 พัฒนาปจจัยความพรอมในการปฏิบัติงานของกลุมจังหวัดใหสามารถรองรับการ
บริหารงานไดอยางมีประสิทธิภาพทั้งในดานจํานวนบุคลากร วัสดุ / ครุภัณฑ เพื่อการปฏิบัติ
๒.๒) พัฒนาระบบการบริหารการวางแผน
 พัฒนาและปรับปรุงระบบงานดานการบริหารจัดการแผนพัฒนากลุมจังหวัดโดยการ
พัฒนาระบบฐานขอมูลการเพิ่มประสิทธิภาพเครือขายการบริหารแผน
๓๓
๒. แผนพัฒนาจังหวัดขอนแกน พ.ศ.๒๕๕๗ – ๒๕๖๐ (ฉบับทบทวน)
จังหวัดขอนแกนมีการวิเคราะหสภาวะแวดลอม เพื่อประกอบการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัด ดังนี้
(แผนพัฒนาจังหวัดขอนแกน พ.ศ.๒๕๕๗ – ๒๕๖๐, ๒๕๕๖, น.๔๗-๔๙)
การวิเคราะหสภาวะแวดลอมจังหวัดขอนแกน
จังหวัดขอนแกน มีการประเมินสภาวะแวดลอมทั้งภายใน และภายนอกจังหวัด เพื่อใหรูถึงสถานะที่
เปนจริงในดานจุดออน จุดแข็ง โอกาส และภัยคุกคาม และเปนพื้นฐานของการกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนา
จังหวัดที่เหมาะสม
๑.๑ การประเมินสภาวะแวดลอม (SWOT Analysis) ของจังหวัด ปจจัยภายใน (จุดแข็ง จุดออน)
และปจจัยภายนอก (โอกาส ภัยคุกคาม) สรุปได ดังนี้
จุดแข็ง (Strength)
๑) มีความไดเปรียบเชิงภูมิศาสตร เปนศูนยกลางการคมนาคมขนสงของภาคอีสานและตั้งอยูในแนว
ระเบียงเศรษฐกิจ EWEC และ NSEC สามารถเชื่อมโยงออกสูทะเลตะวันออก
๒) เปนศูนยกลางการบริหารและบริการภาครัฐของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวมทั้งเปนที่ตั้งสถานกงสุล
ใหญจีน เวียดนาม และลาว
๓) เปนแหลงผลิตพืชอาหาร/พลังงานทดแทนที่สําคัญ เชน ขาว ออยโรงงาน มันสําปะหลัง และแหลง
ผลิตสัตวที่สําคัญ เชน โคเนื้อ (ลําดับ ๔ ของภาคอีสานตอนบน) และไกเนื้อ (ลําดับที่ ๔ ของภาคอีสานตอนบน)
รวมทั้งเปนแหลงแปรรูปอาหาร/เครื่องดื่ม
๔) เปนศูนยบริการการแพทยและสาธารณสุข และการศึกษา
๕) เปนที่ตั้งของหนวยงานราชการสวนกลาง ภูมิภาค และ อปท. รวมแลวกวา ๔๕๐ หนวยงาน ซึ่งเปน
เครื่องมือที่สําคัญในการใหบริการประชาชนและพัฒนาจังหวัด
๖) มีเขื่อนอุบลรัตนซึ่งเปนเขื่อนอเนกประสงคใชในดานไฟฟา ชลประทาน แหลงเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา และ
แหลงทองเที่ยว
จุดออน (Weakness)
๑) ประชากรสวนใหญยังมีรายไดต่ํา โดยมีสัดสวนคนจนเปนลําดับที่ ๑๐ ของประเทศ ลําดับที่ ๓ ของ
ภาค ลําดับที่ ๒ ของกลุม สวนใหญอยูในภาคเกษตรกรรม
๒) ภาคเกษตรผลผลิตเฉลี่ยตอไรต่ํา เนื่องจากระบบชลประทานยังไมทั่วถึง ประกอบกับดินขาด
ความอุดมสมบูรณ (ดินเค็ม กรด ทราย) รวมทั้งเกษตรกรขาดความรูและขาดการประยุกตใชเทคโนโลยีเพื่อการ
เพิ่มผลผลิต
๓) ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ต่ํากวาคาเฉลี่ยของประเทศ (จากคาเฉลี่ย ONET ม.๓)
๔) การผลิตแรงงานไมตรงกับความตองการของตลาด และขาดแคลนแรงงานระดับฝมือและไรฝมือ ใน
ภาคอุตสาหกรรม และบริการ
๕) ถูกจัดลําดับจังหวัดสกปรก ลําดับที่ ๑๘ ของประเทศ มีปริมาณขยะตกคางสะสมมากเปนลําดับที่ ๘
ของประเทศ ปริมาณขยะ ๑,๒๒๔ ตัน/วัน โดยประสิทธิภาพในการกําจัดขยะไดเพียง ๓๒๘ ตัน/วัน และสามารถ
กําจัดถูกหลักวิชาการเพียง ๒๐๖ ตัน/วัน
๓๔
๕) การขยายตัวของเมืองอยางรวดเร็วทําใหเกิดความแออัดของชุมชน และการจราจร รวมทั้งทําให
เกิดปญหาความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน พรอมทั้งระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ไมเพียงพอ
ตอการรองรับการขยายตัวของตัวเมือง
๖) บุคลากรภาครัฐสวนใหญยังขาดการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ ภาษาอาเซียน เพื่อเตรียม
ความพรอมเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
๗) ปญหาการเขาถึงระบบบริการสุขภาพของผูปวยโรคไมติดตอเรื้อรัง และอนามัยแมและเด็ก
๘) การใชประโยชนดานการคมนาคมทางอากาศยังใชไมเต็มตามศักยภาพ
๙) การขยายตัวของที่อยูอาศัยออกไปนอกเมืองสงผลใหพื้นที่การเกษตรลดลง สงผลกระทบตอความ
มั่นคงพืชอาหาร/พืชพลังงานทดแทน ประกอบกับราคาที่ดินปรับตัวสูงขึ้น ซึ่งเปนอุปสรรคตอการตัดสินใจของ
นักลงทุน
โอกาส (Opportunity)
๑) กระแสการพัฒนาเศรษฐกิจสีเขียว (UN)
๒) นโยบายครัวไทยสูครัวโลก และสงเสริมการเขาถึงแหลงทุนของประชาชน
๓) สํานักงานสงเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (สสปน.หรือ TCEB) คัดเลือกใหจังหวัดขอนแกน
เปน MICE CITY แหงที่ ๕ ของประเทศไทย
๔) ค.ร.ม. มีมติอนุมัติในหลักการ (เมื่อ ๒๒ ก.พ. ๒๕๕๕๕) จัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมสีเขียวที่จังหวัด
ขอนแกน
๕) การเขาสูประชาคมอาเซียนทําใหตลาดผูบริโภคเพิ่มขึ้นทําใหตองการสินคา และบริการ และ
การทองเที่ยวเพิ่มขึ้น
๖) ความตองการบริโภคอาหารปลอดภัย
๗) นโยบายสงเสริมการปลูกพืชพลังงานทดแทน
๘) การลงทุนพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ตามยุทธศาสตรการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานคมนาคม
ขนสงของไทย พ.ศ.๒๕๕๘-๒๕๖๕
๙) นโยบายสงเสริมการเกษตรในเขตโซนนิ่ง
ภัยคุกคาม (Threat)
๑) ภัยพิบัติจากผลกระทบสภาวะโลกรอน เชน ภัยแลง อุทกภัย และอัคคีภัย สงผลกระทบตอ
ประชาชน และสิ่งแวดลอม
๒) ประชากรแฝง และมีการเคลื่อนยายประชากรสูง
๓) การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม/บริการ เกิดการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินจาก
ภาคเกษตรไป เปนที่อยูอาศัย และธุรกิจบริการ
๔) ความกาวหนาทางเทคโนโลยีที่ทันสมัยและรวดเร็ว โดยนําวัฒนธรรมตะวันตกเขามาใชใน
ชีวิตประจําวัน สงผลกระทบตอพฤติกรรมการใชชีวิตของคนในสังคม ทําใหคุณภาพการศึกษาและคุณภาพชีวิต
ลดลง
๕) ราคาน้ํามันเชื้อเพลิง/กาซเพิ่มสูงขึ้น
๖) ตนทุนเกษตรปรับตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่องและราคาเกษตรมีความผันผวน
๓๕
การวิเคราะหเชิงยุทธศาสตรและกลยุทธของจังหวัดขอนแกน โดยใชแนวทางของสํานักงาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
๑) จุดแข็ง+โอกาส (SO)
กลยุทธเชิงรุก : การยกระดับความเปนศูนยกลาง
- ศูนยกลางการคา การลงทุนและบริการ
- ศูนยกลางการแพทยและสาธารณสุข
- ศูนยกลางการศึกษา
- ศูนยกลางการคมนาคมขนสงโลจิสติกสและศูนยรวบรวมและกระจายสินคา
- ศูนยกลางการแปรรูปการเกษตรและอุตสาหกรรมสีเขียว
- ศูนยกลางการประชุมและการทองเที่ยว
๒) จุดออน+โอกาส (WO)
กลยุทธเชิงแกไข : ขอนแกนเมืองนาอยู
- เสริมสรางฐานราก ระบบการผลิตภาคเกษตรใหเขมแข็งและยั่งยืน
- ยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการมีสวนรวมของประชาชน
- เสริมสรางความมั่นคงภายใน และความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของประชาชน
- พัฒนาคุณภาพการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ เพื่อตอบสนองประโยชนสุขของ
ประชาชน
๓) จุดแข็ง+อุปสรรค (ST)
กลยุทธเชิงปองกัน : การยกระดับศักยภาพ
- การเชื่อมโยงการพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐาน
- การพัฒนาบุคลากรเขาสูประชาคมอาเชี่ยน
- การพัฒนามาตรฐานคุณภาพสินคาและบริการ
๔) จุดออน+อุปสรรค (WT)
กลยุทธเชิงรับ : การรับมือกับภัยทางธรรมชาติ
- การวางผังเมืองและการบังคับใช
- การพัฒนาระบบการเตือนภัยและการจัดการปองกันสาธารณภัย
- การฟนฟูดูแลและการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหใชประโยชนได
อยางเหมาะสมและยั่งยืน
จากการประเมินสภาวะแวดลอมจังหวัดขอนแกน (SWOT Analysis) โดยประเมินปจจัยภายใน
(จุดแข็ง จุดออน) และปจจัยภายนอก (โอกาส ภัยคุกคาม) รวมถึงทิศทางและยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศที่
กําหนดไวในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ตลอดจนแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ นโยบายของรัฐบาล
และแผนพัฒนากลุมจังหวัด นําไปสูการกําหนดวิสัยทัศน เปาประสงค และประเด็นยุทธศาสตรของจังหวัด
ขอนแกน ดังนี้
๓๖
แผนพัฒนาจังหวัดขอนแกน (พ.ศ.๒๕๕๗ – ๒๕๖๐) (ฉบับทบทวน)
 วิสัยทัศนของจังหวัดขอนแกน
“ขอนแกนเมืองนาอยู ศูนยกลางเชื่อมโยงการคา การลงทุน และการบริการของกลุม
ประเทศอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง”
 จุดยืนทางยุทธศาสตร : เมืองศูนยกลางเศรษฐกิจ และสังคมในกลุมประเทศอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง
- ศูนยกลางการคา การลงทุน และบริการ
- ศูนยกลางการคมนาคมขนสง และโลจิสติกส
- ศูนยกลางการแพทยและสาธารณสุข
- ศูนยกลางการศึกษา
- ศูนยกลางการประชุม และการทองเที่ยว
- ศูนยกลางอุตสาหกรรมสีเขียว
ภาคอุตสาหกรรม
- นครเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
- พลังงานทดแทน
- ศูนยกลางอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตร/อุตสาหกรรมสีเขียว
ภาคเกษตร
- พืชเศรษฐกิจหลัก (ขาว,ออยโรงงาน,มันสําปะหลัง)
- พืชเศรษฐกิจรอง (ผักปลอดภัย,มะมวงน้ําดอกไม)
- สัตวเศรษฐกิจหลัก (โคเนื้อ,ไก)
ภาคทองเที่ยว
- ศูนยกลางประชุมและการทองเที่ยวยุคกอนประวัติศาสตร (ไดโนเสาร)
และวัฒนธรรม
OTOP
- ผาไหมมัดหมี่,ผาฝาย
 พันธกิจ
๑. เสริมสรางชุมชนใหเขมแข็ง คนในชุมชนมีชีวิตอยูดวยความผาสุก
๒. พัฒนาใหเปนเมืองนาอยูอยางยั่งยืน
๓. พัฒนาใหเปนศูนยกลางของกลุมประเทศอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง
 เปาประสงครวม
๑. อัตราการเติบโตทางดานเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น และมีเสถียรภาพ
๒. ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน และสรางความมั่นคงทางสังคม
๓. อนุรักษ ฟนฟู ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และเสริมสรางความเขมแข็งในการ
บริหารจัดการอยางยั่งยืน
๔. ยกระดับการคา การลงทุน และการบริการใหมีการเชื่อมโยงกับกลุมประเทศอนุภูมิภาค
ลุมน้ําโขง และอาเซียน
๓๗
 ประเด็นยุทธศาสตร
ยุทธศาสตรที่ ๑ : การพัฒนาเศรษฐกิจใหมีความมั่นคงและมีความสามารถทางการแขงขัน
ยุทธศาสตรที่ ๒ : การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
ยุทธศาสตรที่ ๓ : การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพื่อการพัฒนาอยาง
ยั่งยืน
ยุทธศาสตรที่ ๔ : การเสริมสรางความมั่นคงและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน
ยุทธศาสตรที่ ๕ : การเพิ่มศักยภาพของเมืองเพื่อเชื่อมโยงโอกาสจากกลุมประเทศอนุภูมิภาค
ลุมน้ําโขง
ยุทธศาสตรที่ ๖ : การพัฒนาการบริหารภาครัฐ
๓๘
๓. แผนการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัดขอนแกน ๕ ป ฉบับที่ ๒ ( พ.ศ.๒๕๕๕ –๒๕๕๙)
ที่มาของแผน
พระราชบัญญัติสงเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ.๒๕๔๖ มาตรา ๑๓ (๓) กําหนดใหคณะกรรมการ
สงเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแหงชาติตองเสนอแผนพัฒนางานสวัสดิการสังคมตอคณะรัฐมนตรีเพื่ออนุมัติ
เปนแผนแมบท และในมาตรา ๑๙ (๑) กําหนดใหคณะกรรมการสงเสริมการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัดเสนอ
นโยบายมาตรการและแผนการจัดสวัสดิการสังคมตอคณะกรรมการสงเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแหงชาติ
จังหวัดขอนแกนจึงไดแตงตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อดําเนินการรางแผนฯ ขึ้นใชเปนแนวทางในการปฏิบัติงาน
ขององคการสวัสดิการสังคม (หนวยงานของรัฐและองคกรสาธารณะประโยชน) หนวยงานและบุคลากรที่
เกี่ยวของของจังหวัดขอนแกน
โดยใชกรอบแนวทางตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ ๑๑ ยุทธศาสตรการพัฒนา
จังหวัดขอนแกน ในการจัดทําแผน ตามกระบวนการระดมความคิดเห็นจากผูแทนหนวยงานภาครัฐ เอกชน
ภาคประชาชน สรุปแผนฯ ได ดังนี้
วิสัยทัศน
“ขอนแกนเมืองแหงความสุข ชุมชนชวยเหลือเกื้อกูลถวนหนา นําพาสูการพัฒนา คุณภาพชีวิตและ
พัฒนาสังคมอยางยั่งยืน”
ประเด็นยุทธศาสตร
๑. การพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน ไดแก เด็ก เยาวชน ผูสูงอายุ สตรี ผูพิการ
๒. ครอบครัวที่อบอุน
๓. ชุมชนสังคมเขมแข็ง
๔. การผนึกกําลังของภาคีเครือขายในการพัฒนาสวัสดิการสังคม
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๑ : การพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน
เปาประสงค ตัวชี้วัด
๑.สงเสริมคนใหมีสุขภาวะที่ดี ๑.๑ ประชากรรอยละ ๑๐๐ ไดรับบริการสาธารณสุข
๑.๒ ประชาชนเขาถึงสถานบริการสาธารณสุขที่ไดมาตรฐาน
๑.๓ รอยละ ๑๐๐ ของประชาชนไดรับความรู เชน การออกกําลัง
กาย การสาธารณสุข
๒. สงเสริมดานการศึกษา ๒.๑ รอยละ ๑๐๐ ของเด็กไดเขารับการศึกษาตามเกณฑภาคบังคับ
๒.๒ รอยละ ๑๐๐ ทุก อปท. มีศูนยพัฒนาเด็กเล็กกอนวัยเรียนที่ได
มาตรฐาน
๓. สงเสริมดานคุณธรรม/จริยธรรม ๓.๑ รอยละ ๑๐๐ ของประชากรไดรับการปฏิบัติธรรม
๔. สงเสริมดานสวัสดิการ ๔.๑ รอยละ ๑๐๐ ของผูพิการ ผูปวยเอดส ผูสูงอายุ ไดรับเบี้ยยังชีพ
๔.๒ รอยละ ๘๕ ของกลุมเปาหมายไดรับบริการสวัสดิการตาม
กฎหมาย
๓๙
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ : ครอบครัวอบอุน
เปาประสงค ตัวชี้วัด (KPI)
๑.ครอบครัวมีความสัมพันธที่ดีตอกันลดชองวางแหง
วัย
- จํานวน / อัตราการหยารางของครอบครัวลดลง
๒.ครอบครัวมีรายไดเพียงพอตอการดํารงชีพ - รายไดตอครัวเรือนไดตามเกณฑ จปฐ.
๓. ครอบครัวมีความรู / ทักษะในการดูแลบุตรหลาน - เด็ก / เยาวชนจบการศึกษาขั้นพื้นฐานไมต่ํากวา ม.๖
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๓ : ชุมชน/สังคมเขมแข็ง
เปาประสงค ตัวชี้วัด
๑. การสรางการมีสวนรวม - การทําประชาคมสม่ําเสมอ อยางนอยเดือนละ ๑ ครั้ง
- มีกลุมองคกรที่ทํางานเกี่ยวกับสวัสดิการโดยมีการ
ดําเนินงานอยางตอเนื่อง ๑ กลุม ตอชุมชน
๒. การพึ่งตนเอง - มีการจัดทําบัญชีครัวเรือน
- จัดตั้งกลุมออมทรัพยวันละบาท
- มีกลุมฌาปนกิจในชุมชน
- มีจํานวนครัวเรือนที่ใชปุยอินทรียชีวภาพเพิ่มมากขึ้น
และลดการใชสารเคมี
๓. มีระบบการบริหารการจัดการที่ดี - มีปาชุมชน
- การจัดตั้งคณะกรรมการบริหารดานสิ่งแวดลอมในชุมชน
- มีกิจกรรมเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติเชน โครงการ
ปลูกปาเพื่ออนุรักษพันธุไม มีปาชุมชน เปนตน
๔. ชุมชนปลอดอบายมุขและสิ่งเสพติด - จัดตั้งกลุมและผูนําเฝาระวังเรื่องสารเสพติดในชุมชน
- สงเสริมประเพณีที่สอดแทรกการรณรงคเกี่ยวกับ
อบายมุข
ประเด็นยุทธศาสตร ๔ : ผนึกกําลังภาคีเครือขายในการพัฒนาสวัสดิการสังคม
เปาประสงค ตัวชี้วัด
๑. บูรณาการระหวางหนวยงานภาครัฐและเอกชน
องคการบริหารงานสวนทองถิ่น (อปท.) ในการ
วางแผน ดําเนินงานติดตามและประเมินผลงาน
สวัสดิการสังคม
๒.ยกระดับคุณภาพงานสวัสดิการสังคม (๑๐ ตัวชี้วัด)
- ความรวมมือระหวางภาคีเครือขายและ องคการ
บริหารสวนทองถิ่น (อปท.) รวมมือกันปฏิบัติงาน
รอยละ ๘๐ ของโครงการที่ดําเนินการ
- ผูรับบริการมีความพึงพอใจรอยละ ๘๐
- ผูดอยโอกาสเขาถึงสวัสดิการสังคมรอยละ ๑๐๐
๔๐
สวนที่ ๓
รายงานสถานการณทางสังคมจังหวัดขอนแกน
๔๑
สวนที่ ๓
รายงานสถานการณทางสังคม จังหวัดขอนแกน
๑. ขอมูลทั่วไป
 ประชากร
จังหวัดขอนแกน แบงการปกครองสวนภูมิภาคออกเปน ๒๖ อําเภอ ๑๙๘ ตําบล ๒,๓๓๑ หมูบาน
และ ๓๘๙ ชุมชน โดยมีอําเภอ ดังนี้ อําเภอเมืองขอนแกน อําเภอเขาสวนกวาง อําเภอสีชมพู อําเภอภูผามาน
อําเภอชุมแพ อําเภอภูเวียง อําเภออุบลรัตน อําเภอกระนวน อําเภอน้ําพอง อําเภอหนองเรือ อําเภอบานฝาง
อําเภอพระยืน อําเภอบานไผ อําเภอมัญจาคีรี อําเภอชนบท อําเภอแวงใหญ อําเภอพล อําเภอเปอยนอย
อําเภอหนองสองหอง อําเภอแวงนอย อําเภอหนองนาคํา อําเภอซําสูง อําเภอพระยืน อําเภอบานแฮด อําเภอ
โนนสิลา และอําเภอแวงนอย ดังภาพ
องคกรปกครองสวนทองถิ่น จํานวน ๒๒๕ แหง ประกอบดวย องคการบริหารสวนจังหวัด จํานวน
๑ แหง เทศบาล จํานวน ๘๕ แหง (เทศบาลนคร จํานวน ๑ แหง เทศบาลเมือง จํานวน ๖ แหง และ
เทศบาลตําบล จํานวน ๗๘ แหง) และองคการบริหารสวนตําบล จํานวน ๑๓๙ แหง (ที่มา : สํานักงานสงเสริม
การปกครองสวนทองถิ่นจังหวัดขอนแกน ๒๕๕๖)
๔๒
ตาราง
ประชากรจากการทะเบียน จําแนกตามเพศ และเขตการปกครอง จังหวัดขอนแกน พ.ศ.๒๕๕๔ – ๒๕๕๖
POPULATION FROM REGISTRATION RECORD BY SEX AND AREA, KHON KAEN PROVINCE :
๒๐๑๑-๒๐๑๓
เพศและเขตการ
ปกครอง
๒๕๕๔
(๒๐๑๑)
๒๕๕๕
(๒๐๑๒)
๒๕๕๖
(๒๐๑๓)
รวม ๑,๗๖๖,๐๖๖ ๑,๗๗๔,๘๑๖ ๑,๗๘๑,๖๕๕
ชาย ๘๗๕,๐๑๓ ๘๗๙,๓๖๐ ๘๘๑,๕๙๑
หญิง ๘๙๑,๐๕๓ ๘๙๕,๔๕๖ ๙๐๐,๐๖๔
ในเขตเทศบาล ๔๔๔,๑๓๔ ๔๖๒,๘๕๙ ๔๗๑,๖๑๔
ชาย ๒๑๔,๙๒๙ ๒๒๔,๒๙๓ ๒๒๗,๘๑๑
หญิง ๒๒๙,๒๐๕ ๒๓๘,๕๖๖ ๒๔๓,๘๐๓
นอกเขตเทศบาล ๑,๓๒๑,๙๓๒ ๑,๓๑๑,๙๕๗ ๑,๓๑๐,๐๔๑
ชาย ๖๖๐,๐๘๔ ๖๕๕,๐๖๗ ๖๕๓,๗๘๐
หญิง ๖๖๑,๘๔๘ ๖๕๖,๘๙๐ ๖๕๖,๒๖๑
(ที่มา : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย รวบรวมโดย สํานักสถิติพยากรณ สํานักงานสถิติแหงชาติ,
๒๕๕๗)
๔๓
๒. รายงานสถานการณทางสังคมของทองถิ่น (ขอมูล อปท.)
ขอมูลรายงานสถานการณทางสังคมของทองถิ่นป ๒๕๕๗ ซึ่งดําเนินการเก็บขอมูลจากองคกรปกครอง
สวนทองถิ่นในจังหวัดขอนแกน ตามแบบสํารวจขอมูลการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการสังคมของทองถิ่น
(อปท.๑) ซึ่งไดขอความรวมมือองคกรปกครองสวนทองถิ่น ๒๒๔ แหง ไดรับแบบสํารวจตอบกลับจํานวน ๒๑๔
แหง คิดเปนรอยละ ๙๕.๕๔ สามารถสรุปสถานการณเชิงประเด็นสังคม และสถานการณสังคมเชิง
กลุมเปาหมายที่ตองไดรับการพัฒนา ดังนี้
 สถานการณปญหาเชิงประเด็นสังคม
ปญหาเชิงประเด็นสังคมที่พบมากที่สุด คือ ปญหาการมีงานทําและรายได รองลงมา คือ ปญหาดานที่
อยูอาศัยและสิ่งแวดลอม และอันดับที่ ๓ คือ ปญหาความไมปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ดังตาราง
ตาราง
สถานการณเชิงประเด็นสังคม
(ที่มา : สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัดขอนแกน ขอมูลจากรายงานสถานการณทาง
สังคมของทองถิ่น ป ๒๕๕๗)
สถานการณ์เชิงประเด็นสังคม
ดานการมีงานทําและรายได
ดานที่อยูอาศัยและสิ่งแวดลอม
ดานสุขภาพอนามัย
ดานความไมปลอดภัยในชีวิต
และทรัพยสิน
ดานการศึกษา
สถานการณเชิงประเด็นสังคม จํานวน (คน) รอยละ
ดานการมีงานทําและรายได ๕๐,๑๔๑ ๔๓.๒๒
ดานที่อยูอาศัยและสิ่งแวดลอม๔๓ ๒๒,๓๒๙ ๒๐.๐๕
ดานความไมปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ๑๘,๖๙๗ ๑๖.๑๒
ดานสุขภาพอนามัย ๑๕,๖๑๗ ๑๓.๕๖
ดานการศึกษา ๖,๗๓๘ ๕.๘๑
ดานวัฒนธรรมและจริยธรรม ๑,๔๓๔ ๑.๒๔
รวม ๑๑๔,๙๕๖ ๑๐๐.๐๐
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี   2558

More Related Content

What's hot

Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
นวพร คำแสนวงษ์
 
Loadแนวข้อสอบ พนักงานประจำสำนักงาน กรมสรรพสามิต
Loadแนวข้อสอบ พนักงานประจำสำนักงาน กรมสรรพสามิตLoadแนวข้อสอบ พนักงานประจำสำนักงาน กรมสรรพสามิต
Loadแนวข้อสอบ พนักงานประจำสำนักงาน กรมสรรพสามิต
นวพร คำแสนวงษ์
 
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการLoadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
นวพร คำแสนวงษ์
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ...
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ...Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ...
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ...
นวพร คำแสนวงษ์
 
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อ...
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อ...Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อ...
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อ...
นวพร คำแสนวงษ์
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเทศกิจปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเทศกิจปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเทศกิจปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเทศกิจปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
นวพร คำแสนวงษ์
 
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
นวพร คำแสนวงษ์
 
"Loadแนวข้อสอบ พนักงานพิทักษ์ป่า กรมป่าไม้
"Loadแนวข้อสอบ พนักงานพิทักษ์ป่า กรมป่าไม้"Loadแนวข้อสอบ พนักงานพิทักษ์ป่า กรมป่าไม้
"Loadแนวข้อสอบ พนักงานพิทักษ์ป่า กรมป่าไม้
noodeejideenoodeejid
 
Loadแนวข้อสอบ นายช่างเขียนแบบปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
Loadแนวข้อสอบ นายช่างเขียนแบบปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)Loadแนวข้อสอบ นายช่างเขียนแบบปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
Loadแนวข้อสอบ นายช่างเขียนแบบปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
นวพร คำแสนวงษ์
 
Regulations2003
Regulations2003Regulations2003
Regulations2003
vipmcu
 
"Loadแนวข้อสอบ ช่างสำรวจ กรมป่าไม้
"Loadแนวข้อสอบ ช่างสำรวจ กรมป่าไม้"Loadแนวข้อสอบ ช่างสำรวจ กรมป่าไม้
"Loadแนวข้อสอบ ช่างสำรวจ กรมป่าไม้
noodeejideenoodeejid
 
Loadแนวข้อสอบ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
Loadแนวข้อสอบ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)Loadแนวข้อสอบ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
Loadแนวข้อสอบ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
นวพร คำแสนวงษ์
 

What's hot (19)

Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
 
Loadแนวข้อสอบ พนักงานประจำสำนักงาน กรมสรรพสามิต
Loadแนวข้อสอบ พนักงานประจำสำนักงาน กรมสรรพสามิตLoadแนวข้อสอบ พนักงานประจำสำนักงาน กรมสรรพสามิต
Loadแนวข้อสอบ พนักงานประจำสำนักงาน กรมสรรพสามิต
 
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการLoadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
 
แผนพัฒนาสามปีรวม
แผนพัฒนาสามปีรวมแผนพัฒนาสามปีรวม
แผนพัฒนาสามปีรวม
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ...
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ...Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ...
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ...
 
แผนพัฒนาสามปี 60 62
แผนพัฒนาสามปี 60 62แผนพัฒนาสามปี 60 62
แผนพัฒนาสามปี 60 62
 
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อ...
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อ...Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อ...
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อ...
 
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเทศกิจปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเทศกิจปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเทศกิจปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเทศกิจปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
 
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
 
"Loadแนวข้อสอบ พนักงานพิทักษ์ป่า กรมป่าไม้
"Loadแนวข้อสอบ พนักงานพิทักษ์ป่า กรมป่าไม้"Loadแนวข้อสอบ พนักงานพิทักษ์ป่า กรมป่าไม้
"Loadแนวข้อสอบ พนักงานพิทักษ์ป่า กรมป่าไม้
 
Loadแนวข้อสอบ นายช่างเขียนแบบปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
Loadแนวข้อสอบ นายช่างเขียนแบบปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)Loadแนวข้อสอบ นายช่างเขียนแบบปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
Loadแนวข้อสอบ นายช่างเขียนแบบปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
 
Regulations2003
Regulations2003Regulations2003
Regulations2003
 
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
 
การบริหารงานบุคคล กทม.
การบริหารงานบุคคล กทม.การบริหารงานบุคคล กทม.
การบริหารงานบุคคล กทม.
 
แนวทางนักทรัพย์ตาม พรบ.กทม.
แนวทางนักทรัพย์ตาม พรบ.กทม.แนวทางนักทรัพย์ตาม พรบ.กทม.
แนวทางนักทรัพย์ตาม พรบ.กทม.
 
"Loadแนวข้อสอบ ช่างสำรวจ กรมป่าไม้
"Loadแนวข้อสอบ ช่างสำรวจ กรมป่าไม้"Loadแนวข้อสอบ ช่างสำรวจ กรมป่าไม้
"Loadแนวข้อสอบ ช่างสำรวจ กรมป่าไม้
 
Loadแนวข้อสอบ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
Loadแนวข้อสอบ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)Loadแนวข้อสอบ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
Loadแนวข้อสอบ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
 
หลักสูตรสอบท้องถิ่น
หลักสูตรสอบท้องถิ่นหลักสูตรสอบท้องถิ่น
หลักสูตรสอบท้องถิ่น
 

Viewers also liked

My Resume 02-Feb-2017
My Resume 02-Feb-2017My Resume 02-Feb-2017
My Resume 02-Feb-2017
RAJ musham
 
Февраль-октябрь 1917 г.
Февраль-октябрь 1917 г.Февраль-октябрь 1917 г.
Февраль-октябрь 1917 г.
lapin_eug22
 

Viewers also liked (14)

My Resume 02-Feb-2017
My Resume 02-Feb-2017My Resume 02-Feb-2017
My Resume 02-Feb-2017
 
Benefits of cake_php_in_web_development
Benefits of cake_php_in_web_developmentBenefits of cake_php_in_web_development
Benefits of cake_php_in_web_development
 
Февраль-октябрь 1917 г.
Февраль-октябрь 1917 г.Февраль-октябрь 1917 г.
Февраль-октябрь 1917 г.
 
Samsung Galaxy S7 Edge Duos Silver unlocked
Samsung Galaxy S7 Edge Duos Silver unlockedSamsung Galaxy S7 Edge Duos Silver unlocked
Samsung Galaxy S7 Edge Duos Silver unlocked
 
Trabajo grupal 4a
Trabajo grupal 4aTrabajo grupal 4a
Trabajo grupal 4a
 
Laudo
LaudoLaudo
Laudo
 
Lecture: Design for Embedding Systemic Sustainability
Lecture: Design for Embedding Systemic SustainabilityLecture: Design for Embedding Systemic Sustainability
Lecture: Design for Embedding Systemic Sustainability
 
【土曜会】岸田劉生の道について:山内崇嗣
【土曜会】岸田劉生の道について:山内崇嗣【土曜会】岸田劉生の道について:山内崇嗣
【土曜会】岸田劉生の道について:山内崇嗣
 
Diario Resumen 20170217
Diario Resumen 20170217Diario Resumen 20170217
Diario Resumen 20170217
 
Book 2015
Book 2015Book 2015
Book 2015
 
Scientific mind (nov. 2016-feb.2017)
Scientific mind (nov. 2016-feb.2017)Scientific mind (nov. 2016-feb.2017)
Scientific mind (nov. 2016-feb.2017)
 
Developing Alaska's Oil Resources: Economic Challenges and Opportunities (2.4...
Developing Alaska's Oil Resources: Economic Challenges and Opportunities (2.4...Developing Alaska's Oil Resources: Economic Challenges and Opportunities (2.4...
Developing Alaska's Oil Resources: Economic Challenges and Opportunities (2.4...
 
Spannerに関する技術メモ
Spannerに関する技術メモSpannerに関する技術メモ
Spannerに関する技術メモ
 
Aide memoire signalisation-f3_juillet_2011
Aide memoire signalisation-f3_juillet_2011Aide memoire signalisation-f3_juillet_2011
Aide memoire signalisation-f3_juillet_2011
 

รายงานประจำปี 2558

  • 1.
  • 2. คํานํา สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัดขอนแกน จัดทํารายงานประจําป ๒๕๕๘ จังหวัดขอนแกน เพื่อเปนประโยชนตอหนวยงานที่เกี่ยวของ ผูที่สนใจ ซึ่งรายงานฉบับนี้ ประกอบดวย ขอมูล ทั่วไป วิสัยทัศน/ พันธกิจ /นโยบายกระทรวง พม. แผนพัฒนากลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง แผนพัฒนาจังหวัดขอนแกน และแผนการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัดขอนแกน ฉบับที่ ๒ ขอมูลสถานการณทาง สังคมจังหวัดขอนแกน ขอมูลกลุมเปาหมายทางสังคม เชน เด็กและเยาวชน สตรี คนพิการ ผูสูงอายุ กองทุน ตางๆ ทางสังคม โครงสรางบุคลากร โครงสรางสํานักงาน ผลการเบิกจายงบประมาณ ประจําป ๒๕๕๘ และผล การดําเนินงานตอกลุมเปาหมาย ไดแก ดานเด็กและเยาวชน ดานครอบครัว ดานสตรี ดานผูดอยโอกาส ดาน ผูสูงอายุ ดานคนพิการ และดานอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต รวมถึงผลการดําเนินงานตาม นโยบาย ๗ – ๔ - ๙ สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัดขอนแกน ขอขอบคุณบุคลากรทุกฝาย รวมถึง ภาคีเครือขายที่มีสวนรวมและสนับสนุนการปฏิบัติงานของสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย จังหวัดดวยดีตลอดมา และหวังเปนอยางยิ่งวารายงานฉบับนี้ จะเปนประโยชนสําหรับทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ และรวมกันทํางานเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และรวมสรางสรรคสังคมนาอยู เปนสังคมอยูเย็นเปนสุขรวมกันของ จังหวัดขอนแกนบนพื้นฐานของความเอื้ออาทรตอไป พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัดขอนแกน กันยายน ๒๕๕๘
  • 3. สารบัญ หนา สวนที่ ๑ ขอมูลทั่วไปของจังหวัดขอนแกน ๑ สวนที่ ๒ นโยบายและแผนตางๆ ที่เกี่ยวของ ๑๑  ระดับกระทรวง ๑๐  วิสัยทัศน/พันธกิจ /นโยบาย พม. ๑๐  ระดับกลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง และจังหวัด ๒๙  แผนพัฒนากลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง พ.ศ.๒๕๕๗ – ๒๕๖๐ ๒๙  แผนพัฒนาจังหวัดขอนแกน พ.ศ.๒๕๕๗ – ๒๕๖๐ (ฉบับทบทวน) ๓๓  แผนการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัดขอนแกน ฉบับที่ ๒ (พ.ศ.๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) ๓๘ สวนที่ ๓ รายงานสถานการณทางสังคมจังหวัดขอนแกน ๔๐ - ขอมูลทั่วไป ๔๐ - รายงานสถานการณทางสังคมของทองถิ่น (ขอมูล อปท.) ๔๓ - รายงานความมั่นคงของมนุษย ๔๙ - ขอมูลจําแนกตามกลุมเปาหมายทางสังคม ๕๗ - ขอมูลทางสังคมอื่นๆ ที่มีความสําคัญ ๘๕ - สถานการณสําคัญของจังหวัดขอนแกน ๙๗ สวนที่ ๔ ภาพรวมสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัดขอนแกน ๑๐๓  โครงสรางองคกร ๑๐๔  โครงสรางบุคลากร ๑๐๖  กรอบอัตรากําลัง ๑๑๖  ผลการเบิกจายประจําป ๒๕๕๘ ๑๑๗
  • 4. สวนที่ ๕ ผลการดําเนินงานของสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัดขอนแกน๑๑๘  ผลการดําเนินงานตามนโยบาย ๗ – ๔ – ๙ ๑๑๙  ผลการดําเนินงานตามภารกิจตางๆ ๑๒๓ - การพัฒนาและจัดสวัสดิการ ดานเด็กและเยาวชน ๑๒๓ - การพัฒนาและจัดสวัสดิการ ดานครอบครัว ๑๔๒ - การพัฒนาและจัดสวัสดิการ ดานสตรี ๑๔๗ - การพัฒนาและจัดสวัสดิการ ดานผูประสบปญหาทางสังคม และผูดอยโอกาสตางๆ ๑๕๐ - การพัฒนาและจัดสวัสดิการ ดานผูสูงอายุ ๑๕๒ - การพัฒนาและจัดสวัสดิการ ดานคนพิการ ๑๖๓ - การพัฒนาและจัดสวัสดิการชุมชนและสังคม ๑๘๒ - การปองกันและปราบปรามการคามนุษย ๑๘๓ - อาเซียน ๑๘๗ - หอพัก ๑๘๙ - อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ๑๙๒ บรรณานุกรม
  • 6. ๒ สวนที่ ๑ ขอมูลทั่วไปจังหวัดขอนแกน ๑. คําขวัญประจําจังหวัด : พระธาตุขามแกน เสียงแคนดอกคูน ศูนยรวมผาไหม รวมใจผูกเสี่ยว เที่ยวขอนแกนนคร ใหญ ไดโนเสารสิรินธรเน สุดเทเหรียญทองมวยโอลิมปค จังหวัดขอนแกน ตราประจําจังหวัด เหรียญที่ระลึกประจําจังหวัด ๒. ดอกไมประจําจังหวัด : ดอกราชพฤกษ
  • 7. ๓ จังหวัดขอนแกน ตั้งอยูบริเวณตอนกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หางจากกรุงเทพมหานคร ๔๔๕ กิโลเมตร มีพื้นที่ ๑๐,๘๘๕.๙๙ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๖.๘ ลานไร ภูมิประเทศเปนพื้นที่ราบ มี ลักษณะสูงต่ําสลับเปนลูกคลื่นลาดเทไปทางทิศตะวันออกและทิศใต มีที่ราบลุมแถบลุมนําชี และลุมน้ําพอง พื้นที่สูงกวาระดับน้ําทะเล ปานกลางเฉลี่ย ๑๐๐ – ๒๐๐ เมตร ๔. อาณาเขต ทิศเหนือ ติดกับจังหวัดอุดรธานี เลย และหนองบัวลําภู ทิศใต ติดกับจังหวัดนครราชสีมา และบุรีรัมย ทิศตะวันออก ติดกับจังหวัดกาฬสินธุ และมหาสารคาม ทิศตะวันตก ติดกับจังหวัดชัยภูมิ และเพชรบูรณ ๓. ที่ตั้ง
  • 8. ๔ ๕. การปกครองและประชากร ๕.๑ การปกครอง • อําเภอ จํานวน ๒๖ อําเภอ ๑๙๘ ตําบล ๒,๓๓๑ หมูบาน และ ๓๘๙ ชุมชน (ที่มา : ที่ทําการปกครองจังหวัดขอนแกน ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๖) • องคกรปกครองสวนทองถิ่น จํานวน ๒๒๕ แหง ประกอบดวย องคการบริหารสวนจังหวัด จํานวน ๑ แหง เทศบาล จํานวน ๘๕ แหง (เทศบาลนคร จํานวน ๑ แหง เทศบาลเมือง จํานวน ๖ แหง และเทศบาล ตําบล จํานวน ๗๘ แหง) และองคการบริหารสวนตําบล จํานวน ๑๓๙ แหง (ที่มา : สํานักงานสงเสริมการปกครองสวนทองถิ่นจังหวัดขอนแกน ๒๕๕๖) • ราชการสวนภูมิภาค ๓๓ สวนราชการ • ราชการสวนกลางและรัฐวิสาหกิจ ๒๒๗ หนวยงาน (ที่มา : สํานักงานจังหวัดขอนแกน ๒๕๕๗) ๕.๒ ประชากร • ประชากรรวม ๑,๗๘๑,๖๕๕ คน แยกเปนชาย ๘๘๑,๕๙๑ คน หญิง ๙๐๐,๐๖๔ คน จํานวนบาน ๕๖๑,๗๗๔ หลัง (ที่มา : สํานักบริหารทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย รวบรวมโดย สํานักงานสถิติแหงชาติ ณ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๖) ๖. สภาพเศรษฐกิจ (๑) อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ (ป ๒๕๕๑ – ๒๕๕๕) ตารางแสดง : ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดขอนแกน (Gross Provincial Product: GPP) ป ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ผลิตภัณฑจังหวัด (GPP) ๑๒๕,๘๑๓ ๑๔๑,๔๖๘ ๑๕๑,๑๗๙ ๑๕๙,๓๗๗ ๑๘๕,๖๐๓ ตารางแสดง : รายไดเฉลี่ยตอหัวประชากร (Per Capita GPP) ป ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ รายไดเฉลี่ยตอหัวประชากร (Per Capita GPP) ๗๑,๗๗๔ ๘๐,๙๖๑ ๘๖,๘๓๔ ๙๑,๕๑๖ ๑๐๖,๕๘๓ โดยในป ๒๕๕๕ จังหวัดขอนแกนมี GPP มูลคาจํานวน ๑๘๕,๖๐๓ ลานบาท เปนลําดับที่ ๑๔ ของ ประเทศ และเปนลําดับที่ ๒ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือรองจากจังหวัดนครราชสีมา รายไดเฉลี่ยตอหัวประชากร (Per Capita GPP) ของจังหวัดขอนแกน ป ๒๕๕๕ คือ ๑๐๖,๕๘๓ บาท อยูในอันดับที่ ๑ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และเปนอันดับที่ ๓๓ ของประเทศ (ที่มา : สํานักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ป ๒๕๕๕)
  • 9. ๕ ๗. ลักษณะทางสังคม ๗.๑ แรงงาน ประชากรและกําลังแรงงาน จากผลสํารวจภาวะการทํางานของประชากร ไตรมาส ๓/๒๕๕๗ (กรกฏาคม – กันยายน) พบวามีประชากรรวมทั้งสิ้น ๑,๗๔๑,๖๔๙ คน เปนผูมีอายุ ๑๕ ปขึ้นไป จํานวน ๑,๔๓๕,๗๓๔ คน คิดเปนรอยละ ๘๒.๔๓ ของประชากรรวมทั้งหมด เปนผูที่อยูในกําลังแรงงานมีจํานวน ๘๗๔,๙๔๗ คน คิดเปนรอยละ ๖๐.๙๔ ของผูมีอายุ ๑๕ ปขึ้นไป โดยแบงเปนผูมีงานทําจํานวน ๘๕๙,๒๕๙ คน คิดเปนรอยละ ๙๙.๖๐ ผูวางงานจํานวน ๓,๔๗๗ คน คิดเปนรอยละ ๐.๔๐ และผูที่รอฤดูกาลจํานวน ๑๒,๒๑๑ คน คิดเปนรอยละ ๑.๔๒ ของผูอยูในกําลังแรงงาน สวนผูที่ไมอยูในกําลังแรงงานมีจํานวน ๕๖๐,๗๘๗ คน คิดเปนรอยละ ๓๙.๐๖ ของผูมีอายุ ๑๕ ปขึ้นไป แบงเปนกลุมทํางานบานจํานวน ๑๖๔,๒๕๕ คน คิดเปนรอยละ ๑๑.๔๔ เรียนหนังสือจํานวน ๒๑๒,๑๓๖ คน คิดเปนรอยละ ๑๔.๗๘ และอื่นๆ จํานวน ๑๘๔,๓๙๖ คน คิดเปนรอยละ ๑๒.๘๔ ของผูไมอยูในกําลังแรงงาน สวนผูมีอายุที่ต่ํากวา ๑๕ ป มีจํานวน ๓๐๕,๙๑๕ คน คิดเปนรอยละ ๑๗.๕๖ ของประชากรรวมทั้งหมด ผังแสดงโครงสรางแรงงาน การวางงาน มีผูวางงานจํานวนทั้งสิ้น ๒๒,๖๗๗ คน เปนชายจํานวน ๗,๖๔๖ คน คิดเปนรอยละ ๓๓.๗๒ เปนหญิงจํานวน ๑๕,๐๓๑ คน คิดเปนรอยละ ๖๖.๒๘ ของผูวางงานทั้งหมด การจัดหางานในประเทศ มีผูขึ้นทะเบียนสมัครงานทั้งสิ้น ๑๙,๗๔๔ คน ตําแหนงงานวาง ๒๐,๒๑๓ อัตรา ผูขึ้นทะเบียนหางานทําไดรับการบรรจุงานจํานวน ๑๒,๘๘๓ คน คิดเปนรอยละ ๖๕.๒๕ ของ ผูขึ้นทะเบียนทั้งหมด ประชากรอายุต่ํากวา  ประชากรอายุ ๑๕ ป ึ้ ไ ผูไมอยูในกําลังแรงงานผูอยูในกําลังแรงงาน ผูมีงานทํา ๘๕๙,๒๕๙ ทํางานบาน ๑๖๔,๒๕๕ เรียนหนังสือ ๒๑๒,๑๓๖ผูวางงาน ๓,๔๗๗ คน อื่นๆ ๑๘๔,๓๙๖ คนผูรอฤดูกาล ๑๒,๒๑๑ ประชากรรวม
  • 10. ๖ ผูมาขึ้นทะเบียนสมัครงาน รวมทั้งสิ้น จํานวน ๑๙,๗๔๔ คน เปนผูประกันตนกรณีวางงานที่ลาออก และ ถูกเลิกจาง จํานวน ๑๒,๑๓๘ คน คิดเปนรอยละ ๖๑.๔๘ ของจํานวนผูมาขึ้นทะเบียนทั้งหมด วุฒิ การศึกษาผูขึ้นทะเบียนสมัครงานสวนใหญอยูระดับปริญญาตรี ๕,๐๑๔ คน คิดเปนรอยละ ๒๕.๔๐ รองลงมา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ๔,๑๖๗ คน คิดเปนรอยละ ๒๑.๑๑ และระดับวุฒิมัธยมศึกษา ๓,๘๓๓ คน คิดเปนรอยละ ๑๙.๔๑ ตําแหนงที่คนหางานตองการสมัครมากที่สุด คือ ตําแหนงพนักงานธุรการ เจาหนาที่ฝายบุคคล พนักงานบริการลูกคาพนักงานบัญชีและเจาหนาที่การตลาด ตามลําดับ (ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดขอนแกน ป ๒๕๕๖) แรงงานตางดาว จังหวัดขอนแกนมีนายจาง/สถานประกอบการที่จางแรงงานตางดาว จํานวน ๑,๐๙๒ แหง และมีแรงงานตางดาวที่ไดรับอนุญาตทํางานในจังหวัดขอนแกน จํานวนทั้งสิ้น ๖,๐๘๔ คน (ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดขอนแกน กันยายน ๒๕๕๗) ๗.๒ การศึกษา โรงเรียนทุกสังกัดที่เปดทําการสอนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัดขอนแกน จํานวน ๑,๒๔๗ แหง จํานวนนักเรียน ๒๕๑,๓๐๕ คน จํานวนครู ๑๐,๔๖๔ คน จํานวนหองเรียน ๑๓,๒๙๙ หอง ๗.๓ สาธารณสุข สถานบริการดานสาธารณสุข มีโรงพยาบาล ๓๑ แหง สังกัดสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแกน ๒๒ แหง มหาวิทยาลัยขอนแกน ๒ แหง กระทรวงกลาโหม ๑ แหง กรมอนามัย ๑ แหง กรมสุขภาพจิต ๑ แหง กรมการแพทย ๑ แหง เอกชน ๓ แหง ๗.๔ ศาสนาและวัฒนธรรม ประชาชนสวนใหญนับถือศาสนาพุทธ มีสถานที่ประกอบพิธีทางศาสนา ๑,๔๖๖ แหง ประกอบดวย วัด ๑,๓๗๑ แหง โบสถคริสต ๕๘ แหง มัสยิด ๗ แหง และสุเหรา ๒ แหง โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม - บาลี ๒๖ แหง และมหาวิทยาลัยสงฆ ๒ แหง (สํานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดขอนแกน ๒๕๕๗) การดําเนินงานในดานการสงเสริม และอนุรักษวัฒนธรรม ไดจัดใหมีศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาวัน อาทิตย จํานวน ๑๒๗ แหง โครงการวัฒนธรรมไทยสายใยชุมชน ๔๕ แหง แหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรม ๑๒ แหง ศูนยเฝาระวังทางวัฒนธรรม ๗๙ แหง ศูนยวัฒนธรรมในสถานศึกษา ๒๖ แหง องคกรเครือขายทาง วัฒนธรรม ประกอบดวย สภาวัฒนธรรมจังหวัด ๑ แหง สภาวัฒนธรรมอําเภอ ๒๖ แหง สภาวัฒนธรรมตําบล ๑๙๙ แหง สภาวัฒนธรรมหมูบาน ๒,๓๓๗ แหง (ที่มา : สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดขอนแกน ๒๕๕๗)
  • 11. ๗ ๘. ขอมูลเชิงสถิติที่สําคัญเชิงพื้นที่ของจังหวัด ๘.๑ ขอมูล จปฐ. จากการจัดเก็บขอมูล จปฐ. ป ๒๕๕๗ จํานวน ๒๖ อําเภอ ๑๙๓ ตําบล ๒,๑๘๓ หมูบาน ๓๓ เทศบาล ๓๓๐,๐๘๔ ครัวเรือน พบวามีประชากรที่อาศัยอยูจริง ๑,๒๒๓,๓๔๑ คน เปนชาย ๕๙๗,๓๙๙ คน คิดเปนรอย ละ ๔๘.๘๓เปนหญิง ๖๒๕,๙๔๒ คน คิดเปนรอยละ ๕๑.๑๗ พบวาคุณภาพชีวิตของคนไทยในชนบทตาม เครื่องชี้วัด จปฐ. จํานวน ๕ หมวด ๓๐ ตัวชี้วัด ปรากฏวา บรรลุเปาหมาย ๒๒ ตัวชี้วัด ไมบรรลุเปาหมาย ๘ ตัวชี้วัด ในป ๒๕๕๗ จังหวัดขอนแกนมีครัวเรือนยากจนที่มีรายไดต่ํากวาเกณฑ จปฐ. (๓๐,๐๐๐บาท/คน/ป) จํานวน ๑,๙๐๐ ครัวเรือน แผนภูมิแสดง : จํานวนครัวเรือนยากจนจากการจัดเก็บขอมูล จปฐ. ป ๒๕๕๐-๒๕๕๗ ที่มา : สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดขอนแกน ๒๕๕๗ ๘.๒ ขอมูล กชช.๒ค จากการจัดเก็บขอมูล กชช.๒ค ป ๒๕๕๖ จํานวน ๒๖ อําเภอ ๑๙๕ ตําบล ๒,๒๒๔ หมูบาน พบวา จังหวัดขอนแกน ไมมีหมูบานเรงรัดพัฒนาอันดับ ๑ (ลาหลัง) มีหมูบานเรงรัดพัฒนาอันดับ ๒ )ปานกลาง( จํานวน๓๐๖ หมูบาน คิดเปนรอยละ ๑๔.๐๕ และหมูบานเรงรัดพัฒนาอันดับ ๓ )กาวหนา(จํานวน ๑,๘๗๒ หมูบาน คิดเปนรอยละ ๘๕.๙๕ โดยปญหาพื้นฐานของหมูบานตัวชี้วัด ๕ อันดับแรก คือ (๑) การกีฬา จํานวน ๑,๑๒๐ หมูบาน หรือรอยละ ๕๐.๓๖ (๒) คุณภาพของดิน จํานวน ๑,๐๑๗ หมูบาน หรือรอยละ ๔๕.๗๓ (๓) การเรียนรูโดยชุมชน จํานวน ๑,๐๐๙ หมูบาน หรือรอยละ ๔๕.๓๗ (๔) การเขาถึงแหลงเงินทุนของชุมชน จํานวน ๘๘๖ หมูบาน หรือรอยละ ๓๙.๘๔ (๕) คุณภาพของน้ํา จํานวน ๗๗๙ หมูบานหรือรอยละ ๓๕.๐๓ 8,084 5,910 2,890 2,890 1,969 6,692 3127 1900 0 2,000 4,000 6,000 8,000 10,000 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557
  • 12. ๘ ๘.๓ ขอมูลดานสังคม (๑) ยาเสพติด เนื่องจากจังหวัดขอนแกนเปนศูนยกลางในการคมนาคมไปสูภูมิภาคตางๆ ดังนั้น ปญหาดานยาเสพติด จึงเปนลักษณะของเสนทางผานเพื่อไปยังจังหวัดตางๆ โดยยาเสพติดจะมีทั้ง แอมเฟตามีน กัญชาแหง-สด กระทอม สาระเหย และยาไอซ โดยมีสถิติเพิ่มขึ้นตลอด ตั้งแต ป ๒๕๕๑-๒๕๕๗ ตารางแสดง : แสดงสถิติคดียาเสพติด จังหวัดขอนแกน ป ๒๕๕๑-๒๕๕๖ ป จํานวนคดี จํานวนผูตองหา (คน) ๒๕๕๔ ๓,๕๘๒ ๓,๗๔๘ ๒๕๕๕ ๓,๒๔๑ ๓,๓๐๙ ๒๕๕๖ ๓,๓๗๙ ๓,๔๘๔ ๒๕๕๗ ๓,๗๑๗ ๓,๘๑๗ ที่มา : ตํารวจภูธรจังหวัดขอนแกน ๒๕๕๗ (๒) แรงงาน สถานการณแรงงานในจังหวัดขอนแกนไตรมาส ๓ กรกฏาคม – กันยายน ๒๕๕๗  ผูที่อยูในวัยกําลังแรงงาน ๑,๔๓๕,๗๓๔ คน  มีงานทํา ๘๕๙,๒๕๙ คน  วางงาน ๓,๔๗๗ คน  รอฤดูกาล ๑๒,๒๑๑ คน  ผูไมอยูในกําลังแรงงาน ๕๖๐,๗๘๗ คน จังหวัดขอนแกนมีแรงงานที่ไดรับอนุญาตใหเดินทางไปทํางานตางประเทศเดือนมีนาคม ๒๕๕๖ จํานวน ๔,๖๗๔ คน (๓) ความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน (๓.๑) ดานอาชญากรรม จังหวัดขอนแกนเปนเมืองที่มีผูคนมาอาศัยและประกอบอาชีพดานตางๆ เนื่องจากเปนศูนยกลางทาง การคา การบริการ การขนสง รวมทั้งเปนเมืองแหงการศึกษา ประกอบกับเปนเมืองที่มีอัตราการขยายตัวทาง เศรษฐกิจสูง คาครองชีพสูง จึงกอใหเกิดปญหาดานอาชญากรรมในพื้นที่เพิ่มอยางตอเนื่อง
  • 13. ๙ ตารางแสดง : สถิติการเกิดคดี -การจับกุมจําแนกตามกลุมคดี ป ๒๕๕๒-๒๕๕๖ ประเภทคดี ป ๒๕๕๒ ป ๒๕๕๓ ป ๒๕๕๔ ป ๒๕๕๕ ป ๒๕๕๖ ป ๒๕๕๗ รับแจง จับ รับแจง จับ รับแจง จับ รับแจง จับ รับแจง จับ รับ แจง จับ กลุมที่ ๑ : คดีอุกฉกรรจและ สะเทือนขวัญ ๗๐ ๕๒ ๖๘ ๕๗ ๒๙ ๑๙ ๕๒ ๓๘ ๖๗ ๕๒ ๖๙ ๖๐ กลุมที่ ๒ : คดีชีวิตรางกาย และเพศ ๖๒๐ ๔๔๒ ๕๕๔ ๔๓๑ ๒๓๗ ๑๖๘ ๒๕๘ ๑๗๗ ๔๒๔ ๓๐๗ ๔๐๐ ๒๕๔ กลุมที่ ๓ : คดีประทุษรายตอ ทรัพย ๖๑๑ ๔๕๕ ๖๗๗ ๕๓๗ ๓๑๐ ๒๓๖ ๗๕๕ ๔๖๕ ๘๒๙ ๔๑๙ ๘๗๕ ๔๓๖ ที่มา : ตํารวจภูธรจังหวัดขอนแกน )ขอมูลป ๒๕๕๖ ระหวางเดือนตุลาคม ๒๕๕๒ ถึง เดือนมีนาคม ๒๕๕๗( (๓.๒) ดานอุบัติเหตุทางบก จังหวัดขอนแกนเปนศูนยกลางการคมนาคมขนสง ปญหาที่เกิดขึ้นคือ จํานวนรถยนตเพิ่มขึ้นทุกป ขณะที่พื้นที่การคมนาคมขนสงคงเดิมหรือเพิ่มขึ้นในอัตราที่ไมสัมพันธกับจํานวนรถยนต จึงเกิดปญหาการเกิด อุบัติเหตุจากการใชรถใชถนน แผนภูมิแสดง : สถิติการเกิดอุบัติเหตุ ป ๒๕๕๑-๒๕๕๖ ป ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ จํานวนการเกิดอุบัติเหตุ (ครั้ง) ๕๒๖ ๔๙๓ ๔๒๘ เสียชีวิต (ราย) ๓๐๖ ๓๒๕ ๒๐๕ บาดเจ็บ (ราย) ๔,๓๑๕ ๓,๘๗๔ ๒,๙๙๕ ที่มา : สํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดขอนแกน )ขอมูล ณ เดือนกันยายน ๒๕๕๖( จํานวนการเกิดอุบัติเหตุ (ครั้ง) เสียชีวิต (ราย) บาดเจ็บ (ราย) 0 100 200 300 400 500 600 2551 2552 2553 2554 2555 2556
  • 14. ๑๐ (๔) ดานภัยธรรมชาติ แผนภูมิ : เปรียบเทียบครัวเรือนที่ประสบปญหาภัยแลงและภัยหนาว ป ๒๕๕๐ - ๒๕๕๕ )หนวย : ครัวเรือน( ภัยแลง ภัยหนาว (ที่มา : ขอมูลสรุปจังหวัดขอนแกน สํานักงานจังหวัดขอนแก่น, หน้า ๑ – ๑๓) 0 50000 100000 150000 200000 250000 300000 2550 2551 2552 2553 2554 2555
  • 16. ๑๒ สวนที่ ๒ นโยบายและแผนตางๆ ที่เกี่ยวของ  ระดับกระทรวง วิสัยทัศน / พันธกิจ / นโยบาย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย วิสัยทัศน “มุงสูสังคมคุณภาพ บนพื้นฐานความรับผิดชอบรวมกัน” พันธกิจ ๑. สรางระบบสวัสดิการใหประชาชนมีหลักประกันและมีความมั่นคงในชีวิต ๒. พัฒนาคนและสังคมใหมีคุณภาพและมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง ๓. เสริมสรางทุกภาคสวนมีสวนรวมในการพัฒนาสังคม ๔. พัฒนาองคความรู ขีดความสามารถ และระบบการบริหารจัดการดานการพัฒนาสังคม ประเด็นยุทธศาสตร ๑. การผลักดันใหเกิดสังคมสวัสดิการ ๒. การพัฒนาสังคมเขมแข็ง พรอมรับการเปลี่ยนแปลง ๓. การเสริมสรางพลังทางสังคม ๔. การยกระดับขีดความสามารถการบริหารจัดการดานการพัฒนาสังคม คานิยมองคการ “รวมมือ รวมใจ รวมพลัง สรางสรรคสังคมคุณภาพ” เจตนารมณของ รมว.พม. “ลดความเหลื่อมล้ํา สรางความเปนธรรม พัฒนาสังคมรวมกันอยางยั่งยืน”
  • 17. ๑๓ นโยบาย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย พลตํารวจเอกอดุลย แสงสิงแกว (รัฐมนตรีวาการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย) ๑. สถานการณทางสังคม ๑.๑ ปญหาการคามนุษย ๑.๒ การพัฒนาคนตลอดชวงชีวิต ๑.๓ การกาวเขาสูสังคมผูสูงอายุ ๑.๔ การดูแลผูพิการ ผูดอยโอกาส และกลุมชาติพันธุ ๑.๕ การพัฒนาที่อยูอาศัยของชุมชนแออัดและผูมีรายไดนอย ๑.๖ การเขาสูประชาคมอาเซียนในป ๒๕๕๘ ๒. วิสัยทัศน พม. “มุงสูสังคมคุณภาพ บนพื้นฐานความรับผิดชอบรวมกัน” ๓. เจตนารมณของ รมว.พม. “ลดความเหลื่อมล้ํา สรางความเปนธรรม พัฒนาสังคมรวมกันอยางยั่งยืน”
  • 33. ๒๙  ระดับกลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง และจังหวัด ๑. แผนพัฒนากลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๐ กลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง ประกอบดวย ๔ จังหวัด ไดแก จังหวัดกาฬสินธุ ขอนแกน มหาสารคาม และจังหวัดรอยเอ็ด จากการวิเคราะหสภาวะแวดลอมของกลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางไดประเมิน ศักยภาพในปจจุบันและโอกาสการพัฒนาในอนาคตของกลุมจังหวัด ประกอบดวย การวิเคราะหปจจัย ภายนอก (โอกาส / ภัยคุกคาม) และปจจัยภายใน (จุดแข็ง / ขอจํากัด) ซึ่งมีรายละเอียดในการวิเคราะห สภาวะแวดลอม (SWOT Analysis) ของกลุมจังหวัดฯ ดังนี้ (แผนพัฒนากลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนกลาง พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๐, ๒๕๕๖, น.๓๕-๓๗) ปจจัยภายนอก โอกาส (Opportunities) มีประเด็นสําคัญ ดังนี้ (๑) ผลกระทบที่เกิดจากการทําลายสิ่งแวดลอมและสภาวะอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป สงผลใหเกิด กระแสอนุรักษนิยมสิ่งแวดลอมและความตองการเกษตรอินทรีย (๒) นโยบายในการสงเสริมการผลิตสินคาเกษตรโดยเฉพาะขาวหอมมะลิ ซึ่งเปนพืชเศรษฐกิจหลัก (๓) นโยบายการเพิ่มขีดความสามารถทางการแขงขันภาคเกษตรเพื่อกาวไปสูการเปนครัวโลก (๔) นโยบายการรวมกลุม AEC เกี่ยวกับการเปดเสรีทางการคา (๕) ผลกระทบจากปญหาสภาวะโลกรอน และภัยพิบัติทางธรรมชาติสงผลใหผูบริโภคเกิดความ ตองการสินคาภาคการเกษตรเพิ่มมากขึ้น (๖) ราคาน้ํามันที่สูงขึ้นและนโยบายสงเสริมการใชพลังงานทดแทนจากเอทานอลเปนการเพิ่มโอกาส การผลิตสินคาเกษตรประเภทพืชพลังงานโดยเฉพาะ ออยและ มันสําปะหลัง (๗) นโยบายการสงเสริมความรวมมือทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ เชน ขอตกลงการคาเสรี (FTA) และความรวมมือกับประเทศเพื่อนบาน ไดแก ความรวมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง เปนการเปด โอกาสดานการคาการลงทุนใหกับกลุมจังหวัด จะทําใหเกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจและตลาด ความ ตองการในการบริโภคสินคาและบริการตางๆ เพิ่มขึ้น (๘) โครงการพัฒนาภายในประเทศและระหวางประเทศในดานโลจิสติกส (รถไฟความเร็วสูง รถไฟ รางคู) (๙) ผลของการพัฒนาเศรษฐกิจโลกที่ผานมาโดยไมคํานึงถึงการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ ทําให เกิดวิกฤติความมั่นคงดานพลังงาน ซึ่งจะตองมีการชดเชยโดยการใชพลังงานทางเลือกมาทดแทนมากขึ้น (๑๐) มีเสนทางระเบียงเศรษฐกิจแนวตะวันออก-ตะวันตก (East – West Economic Corridor) สงผลใหการคาการลงทุนกับประเทศเพื่อนบานมีโอกาสมากยิ่งขึ้น (๑๑) มีความพรอมดานปจจัยสําคัญเพื่อรองรับการลงทุน (ศูนยเศรษฐกิจการลงทุนภาคที่ ๕ (BOI), ศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ ๕, ธนาคารแหงประเทศไทย สํานักงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, สถาบัน พัฒนาฝมือแรงงาน)
  • 34. ๓๐ ขอจํากัด / ภัยคุกคาม (Threat) (๑) นโยบายการรวมกลุม AEC เกี่ยวกับการเปดเสรีทางการคาสงผลตอผลผลิตสินคาเกษตรบางชนิด เนื่องจากไทยมีตนทุนกาลผลิตที่สูงกวา (๒) ปญหาโลกรอนทําใหเกิดภัยธรรมชาติ (น้ําทวม ฝนแลง) ซึ่งเปนอุปสรรคตอการผลิตสินคาเกษตร (๓) ปจจัยพื้นฐานในการประกอบดานการคา การลงทุน (ที่ดิน แรงงาน) มีตนทุนสูง ตางชาติเขามา ลงทุนถือครองที่ดิน (๔) ผลกระทบจาก FTA , AEC ที่ทําใหเกิดการยายฐานการผลิตไปยังประเทศที่มีตนทุนต่ํากวา (๕) ปจจัยการผลิตสินคาในประเทศไทยสูงกวาประเทศเพื่อนบาน เชน คาแรง รวมถึงตางชาติเขามา ถือครองที่ดิน (๖) ปญหาการเคลื่อนยายแรงงาน / ขาดแคลนแรงงานภาคการเกษตร ปจจัยภายใน จุดแข็ง (Strength) (๑) เปนฐานการผลิตพืชอาหารและพืชพลังงานทดแทนของประเทศ (ขาว ออย มันสําปะหลัง) ที่ สามารถแปรรูปไปสูอาหารและพลังงานทดแทน (๒) มีพื้นที่ที่มีศักยภาพ ไดแก ขอนแกน และ กาฬสินธุ ที่ใชเปนฐานการผลิตอุตสาหกรรมอาหารและ เอทานอลของประเทศ พื้นที่เพาะปลูกขางหอมมะลิคุณภาพสูงอยูในเขตทุงกุลารองไหในจังหวัดรอยเอ็ดและ จังหวัดมหาสารคาม (๓) เปนแหลงผลิตสินคาเกษตรที่สําคัญเพื่อการบริโภคภายในประเทศและการสงออก ซึ่งไดแก ขาว ออย และ มันสําปะหลัง (๔) มีขอไดเปรียบดานภูมิศาสตร เนื่องจากตั้งอยูใจกลางของภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และอยูใน บริเวณใกลเคียงกับประเทศเพื่อนบาน ไดแก ลาว กัมพูชา เวียดนาม ทําใหสะดวกในการติดตอคาขายกับ ประเทศเพื่อนบาน (๕) มีแหลงน้ําที่จะสนับสนุนภาคการเกษตร เชน เขื่อนอุบลรัตน เขื่อนลําปาว แมน้ําชี แมน้ํายัง (๖) มีความพรอมดานปจจัยเพื่อรองรับการลงทุน เขน การเปนศูนยกลางการศึกษา ศูนยบริการทาง การแพทยและสาธารณสุข และมีศูนยราชการระดับภาค การเงินและธุรกิจ (๗) มีหนวยงานวิจัยเกี่ยวกับการปรับปรุงและพัฒนาการเกษตร จุดออน (Weakness) (๑) ผลผลิตภาคการเกษตรขาดคุณภาพ เนื่องจากระบบชลประทาน ยังไมทั่วถึงและขาดการบริหาร จัดการน้ําที่ดี เกษตรกรขาดความรูในการผลิตและการจัดการ สงผลใหผลผลิตตอไรต่ํา (๒) ขาดการประยุกตใชเทคโนโลยีในการผลิต ระบบการผลิตยังเปนแบบ More for less (๓) แรงงานสวนใหญเปนแรงงานไรฝมือ เนื่องจากมีระดับการศึกษาต่ําจากสภาพความยากจน (รายได ตอหัว GPP per Capital ต่ํา) ทําใหผลิตภาพแรงงาน (Productivity) อยูในระดับต่ํา (๔) โครงสรางพื้นฐาน เพื่อรองรับการลงทุนไมเพียงพอ เชน คลังรวบรวมและกระจายสินคา ระบบ โลจิสติกส ที่อํานวยตอการขนสงและขนถายสินคาเกษตร คุณภาพของเสนทางคมนาคมทางรถยนตที่ยังไม สะดวกและรวดเร็ว
  • 35. ๓๑ ยุทธศาสตรการพัฒนากลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง พ.ศ.๒๕๕๗ – ๒๕๖๐ กลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางไดกําหนดแผนยุทธศาสตรการพัฒนากลุมจังหวัด พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๐ เพื่อใชเปนกรอบแนวทางของการพัฒนากลุมจังหวัด ภายใตผลการวิเคราะห สภาพแวดลอม ศักยภาพ บริบทของการพัฒนาที่ผานมาและในอนาคต รวมทั้งสภาพของปญหาและ ความตองการของประชาชน โดยมียุทธศาสตรของการพัฒนากลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง ดังนี้ (แผนพัฒนากลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๐, ๒๕๕๖, น.๔๒-๔๔)  วิสัยทัศน “ฐานการผลิต การคา การแปรรูปพืชเศรษฐกิจหลัก (ขาว ออย มันสําปะหลัง) ที่มีคุณภาพเพื่อ ความมั่นคงดานอาหารและพลังงานทดแทนสูสากล”  เปาประสงค เพื่อกาวไปสูวิสัยทัศนและการพัฒนากลุมจังหวัดที่พึงปรารถนาในระยะยาว ๔ ป จึงไดกําหนด เปาหมายหลักในการพัฒนากลุมจังหวัดไวดังนี้ 1) เพิ่มคุณภาพการผลิตพืชเศรษฐกิจหลัก 2) เพิ่มมูลคาการคา การลงทุน การแปรรูปพืชเศรษฐกิจ  ตัวชี้วัด ๑) รอยละผลผลิตตอไร ๒) รอยละของจํานวนแปลงที่ไดรับการรับรอง GAP ๓) รอยละของมูลคาการคาพืชเศรษฐกิจหลัก  ประเด็นยุทธศาสตร/กลยุทธ/แนวทางการพัฒนา กลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางไดกําหนดประเด็นยุทธศาสตรเปาประสงค ตัวชี้วัด และกลยุทธการพัฒนาเพื่อบรรลุวิสัยทัศนของการพัฒนารายไดประเด็นยุทธศาสตรรวม ๒ ประเด็นยุทธศาสตร ดังนี้ ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๑ : ยุทธศาสตรการพัฒนาศักยภาพการผลิต การคา การแปรรูปพืช เศรษฐกิจใหมีความเขมแข็ง  เปาประสงค ๑.๑) เพิ่มคุณภาพผลผลิตทางการเกษตรใหมีคุณภาพที่ดี ๑.๒) พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑแปรรูปและเพิ่มชองทางการตลาดสินคาเกษตรและผลิตภัณฑ แปรรูปจากสินคาเกษตร  ตัวชี้วัด ๒.๑) รอยละที่เพิ่มขึ้นของจํานวนแปลงที่ไดรับใบรับรอง GAP ๒.๒) รอยละที่เพิ่มขึ้นของปริมาณผลผลิตการเกษตรของกลุมจังหวัด ๒.๓) มูลคาจําหนายสินคาเกษตรที่เพิ่มขึ้น  กลยุทธและแนวทางการพัฒนา ประกอบดวยกลยุทธ ๓ กลยุทธ ดังนี้ ๓.๑) เพิ่มประสิทธิภาพและมาตรฐานการผลิต ประกอบดวยแผนงาน ดังนี้
  • 36. ๓๒  พัฒนาปจจัยพื้นฐานการผลิตและการคาพืชเศรษฐกิจหลัก ยกระดับคุณภาพการผลิตพืชเศรษฐกิจหลัก  พัฒนาศักยภาพเกษตรกร/ สถาบันเกษตรกร ๓.๒) พัฒนาและสรางมูลคาเพิ่มสินคาพืชเศรษฐกิจหลัก ประกอบดวยแผนงานดังนี้ สงเสริมการแปรรูปผลิตภัณฑหลัก พัฒนาขีดความสามารถผูประกอบการ/ SME/ เครือขายการแปรรูป ๓.๓) พัฒนาการคาการลงทุนและแปรรูปพืชเศรษฐกิจหลักประกอบดวยแผนงานดังนี้  พัฒนาปจจัยและโครงสรางพื้นฐานการคา การลงทุน  สงเสริมตลาดการคาพืชเศรษฐกิจหลัก ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ : ยุทธศาสตรยุทธศาสตรเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกลุมจังหวัด  เปาประสงค เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกลุมจังหวัด  ตัวชี้วัด รอยละความพึงพอใจของผูรับบริการจากสํานักบริหารยุทธศาสตรกลุมจังหวัด(รอยละ๘๕)  กลยุทธและแนวทาง ประกอบดวย ๒ กลยุทธ ดังนี้ ๒.๑) พัฒนาปจจัยการบริหารงานกลุมจังหวัด  พัฒนาปจจัยความพรอมในการปฏิบัติงานของกลุมจังหวัดใหสามารถรองรับการ บริหารงานไดอยางมีประสิทธิภาพทั้งในดานจํานวนบุคลากร วัสดุ / ครุภัณฑ เพื่อการปฏิบัติ ๒.๒) พัฒนาระบบการบริหารการวางแผน  พัฒนาและปรับปรุงระบบงานดานการบริหารจัดการแผนพัฒนากลุมจังหวัดโดยการ พัฒนาระบบฐานขอมูลการเพิ่มประสิทธิภาพเครือขายการบริหารแผน
  • 37. ๓๓ ๒. แผนพัฒนาจังหวัดขอนแกน พ.ศ.๒๕๕๗ – ๒๕๖๐ (ฉบับทบทวน) จังหวัดขอนแกนมีการวิเคราะหสภาวะแวดลอม เพื่อประกอบการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัด ดังนี้ (แผนพัฒนาจังหวัดขอนแกน พ.ศ.๒๕๕๗ – ๒๕๖๐, ๒๕๕๖, น.๔๗-๔๙) การวิเคราะหสภาวะแวดลอมจังหวัดขอนแกน จังหวัดขอนแกน มีการประเมินสภาวะแวดลอมทั้งภายใน และภายนอกจังหวัด เพื่อใหรูถึงสถานะที่ เปนจริงในดานจุดออน จุดแข็ง โอกาส และภัยคุกคาม และเปนพื้นฐานของการกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนา จังหวัดที่เหมาะสม ๑.๑ การประเมินสภาวะแวดลอม (SWOT Analysis) ของจังหวัด ปจจัยภายใน (จุดแข็ง จุดออน) และปจจัยภายนอก (โอกาส ภัยคุกคาม) สรุปได ดังนี้ จุดแข็ง (Strength) ๑) มีความไดเปรียบเชิงภูมิศาสตร เปนศูนยกลางการคมนาคมขนสงของภาคอีสานและตั้งอยูในแนว ระเบียงเศรษฐกิจ EWEC และ NSEC สามารถเชื่อมโยงออกสูทะเลตะวันออก ๒) เปนศูนยกลางการบริหารและบริการภาครัฐของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวมทั้งเปนที่ตั้งสถานกงสุล ใหญจีน เวียดนาม และลาว ๓) เปนแหลงผลิตพืชอาหาร/พลังงานทดแทนที่สําคัญ เชน ขาว ออยโรงงาน มันสําปะหลัง และแหลง ผลิตสัตวที่สําคัญ เชน โคเนื้อ (ลําดับ ๔ ของภาคอีสานตอนบน) และไกเนื้อ (ลําดับที่ ๔ ของภาคอีสานตอนบน) รวมทั้งเปนแหลงแปรรูปอาหาร/เครื่องดื่ม ๔) เปนศูนยบริการการแพทยและสาธารณสุข และการศึกษา ๕) เปนที่ตั้งของหนวยงานราชการสวนกลาง ภูมิภาค และ อปท. รวมแลวกวา ๔๕๐ หนวยงาน ซึ่งเปน เครื่องมือที่สําคัญในการใหบริการประชาชนและพัฒนาจังหวัด ๖) มีเขื่อนอุบลรัตนซึ่งเปนเขื่อนอเนกประสงคใชในดานไฟฟา ชลประทาน แหลงเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา และ แหลงทองเที่ยว จุดออน (Weakness) ๑) ประชากรสวนใหญยังมีรายไดต่ํา โดยมีสัดสวนคนจนเปนลําดับที่ ๑๐ ของประเทศ ลําดับที่ ๓ ของ ภาค ลําดับที่ ๒ ของกลุม สวนใหญอยูในภาคเกษตรกรรม ๒) ภาคเกษตรผลผลิตเฉลี่ยตอไรต่ํา เนื่องจากระบบชลประทานยังไมทั่วถึง ประกอบกับดินขาด ความอุดมสมบูรณ (ดินเค็ม กรด ทราย) รวมทั้งเกษตรกรขาดความรูและขาดการประยุกตใชเทคโนโลยีเพื่อการ เพิ่มผลผลิต ๓) ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ต่ํากวาคาเฉลี่ยของประเทศ (จากคาเฉลี่ย ONET ม.๓) ๔) การผลิตแรงงานไมตรงกับความตองการของตลาด และขาดแคลนแรงงานระดับฝมือและไรฝมือ ใน ภาคอุตสาหกรรม และบริการ ๕) ถูกจัดลําดับจังหวัดสกปรก ลําดับที่ ๑๘ ของประเทศ มีปริมาณขยะตกคางสะสมมากเปนลําดับที่ ๘ ของประเทศ ปริมาณขยะ ๑,๒๒๔ ตัน/วัน โดยประสิทธิภาพในการกําจัดขยะไดเพียง ๓๒๘ ตัน/วัน และสามารถ กําจัดถูกหลักวิชาการเพียง ๒๐๖ ตัน/วัน
  • 38. ๓๔ ๕) การขยายตัวของเมืองอยางรวดเร็วทําใหเกิดความแออัดของชุมชน และการจราจร รวมทั้งทําให เกิดปญหาความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน พรอมทั้งระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ไมเพียงพอ ตอการรองรับการขยายตัวของตัวเมือง ๖) บุคลากรภาครัฐสวนใหญยังขาดการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ ภาษาอาเซียน เพื่อเตรียม ความพรอมเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ๗) ปญหาการเขาถึงระบบบริการสุขภาพของผูปวยโรคไมติดตอเรื้อรัง และอนามัยแมและเด็ก ๘) การใชประโยชนดานการคมนาคมทางอากาศยังใชไมเต็มตามศักยภาพ ๙) การขยายตัวของที่อยูอาศัยออกไปนอกเมืองสงผลใหพื้นที่การเกษตรลดลง สงผลกระทบตอความ มั่นคงพืชอาหาร/พืชพลังงานทดแทน ประกอบกับราคาที่ดินปรับตัวสูงขึ้น ซึ่งเปนอุปสรรคตอการตัดสินใจของ นักลงทุน โอกาส (Opportunity) ๑) กระแสการพัฒนาเศรษฐกิจสีเขียว (UN) ๒) นโยบายครัวไทยสูครัวโลก และสงเสริมการเขาถึงแหลงทุนของประชาชน ๓) สํานักงานสงเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (สสปน.หรือ TCEB) คัดเลือกใหจังหวัดขอนแกน เปน MICE CITY แหงที่ ๕ ของประเทศไทย ๔) ค.ร.ม. มีมติอนุมัติในหลักการ (เมื่อ ๒๒ ก.พ. ๒๕๕๕๕) จัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมสีเขียวที่จังหวัด ขอนแกน ๕) การเขาสูประชาคมอาเซียนทําใหตลาดผูบริโภคเพิ่มขึ้นทําใหตองการสินคา และบริการ และ การทองเที่ยวเพิ่มขึ้น ๖) ความตองการบริโภคอาหารปลอดภัย ๗) นโยบายสงเสริมการปลูกพืชพลังงานทดแทน ๘) การลงทุนพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ตามยุทธศาสตรการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานคมนาคม ขนสงของไทย พ.ศ.๒๕๕๘-๒๕๖๕ ๙) นโยบายสงเสริมการเกษตรในเขตโซนนิ่ง ภัยคุกคาม (Threat) ๑) ภัยพิบัติจากผลกระทบสภาวะโลกรอน เชน ภัยแลง อุทกภัย และอัคคีภัย สงผลกระทบตอ ประชาชน และสิ่งแวดลอม ๒) ประชากรแฝง และมีการเคลื่อนยายประชากรสูง ๓) การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม/บริการ เกิดการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินจาก ภาคเกษตรไป เปนที่อยูอาศัย และธุรกิจบริการ ๔) ความกาวหนาทางเทคโนโลยีที่ทันสมัยและรวดเร็ว โดยนําวัฒนธรรมตะวันตกเขามาใชใน ชีวิตประจําวัน สงผลกระทบตอพฤติกรรมการใชชีวิตของคนในสังคม ทําใหคุณภาพการศึกษาและคุณภาพชีวิต ลดลง ๕) ราคาน้ํามันเชื้อเพลิง/กาซเพิ่มสูงขึ้น ๖) ตนทุนเกษตรปรับตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่องและราคาเกษตรมีความผันผวน
  • 39. ๓๕ การวิเคราะหเชิงยุทธศาสตรและกลยุทธของจังหวัดขอนแกน โดยใชแนวทางของสํานักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ๑) จุดแข็ง+โอกาส (SO) กลยุทธเชิงรุก : การยกระดับความเปนศูนยกลาง - ศูนยกลางการคา การลงทุนและบริการ - ศูนยกลางการแพทยและสาธารณสุข - ศูนยกลางการศึกษา - ศูนยกลางการคมนาคมขนสงโลจิสติกสและศูนยรวบรวมและกระจายสินคา - ศูนยกลางการแปรรูปการเกษตรและอุตสาหกรรมสีเขียว - ศูนยกลางการประชุมและการทองเที่ยว ๒) จุดออน+โอกาส (WO) กลยุทธเชิงแกไข : ขอนแกนเมืองนาอยู - เสริมสรางฐานราก ระบบการผลิตภาคเกษตรใหเขมแข็งและยั่งยืน - ยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการมีสวนรวมของประชาชน - เสริมสรางความมั่นคงภายใน และความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของประชาชน - พัฒนาคุณภาพการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ เพื่อตอบสนองประโยชนสุขของ ประชาชน ๓) จุดแข็ง+อุปสรรค (ST) กลยุทธเชิงปองกัน : การยกระดับศักยภาพ - การเชื่อมโยงการพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐาน - การพัฒนาบุคลากรเขาสูประชาคมอาเชี่ยน - การพัฒนามาตรฐานคุณภาพสินคาและบริการ ๔) จุดออน+อุปสรรค (WT) กลยุทธเชิงรับ : การรับมือกับภัยทางธรรมชาติ - การวางผังเมืองและการบังคับใช - การพัฒนาระบบการเตือนภัยและการจัดการปองกันสาธารณภัย - การฟนฟูดูแลและการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหใชประโยชนได อยางเหมาะสมและยั่งยืน จากการประเมินสภาวะแวดลอมจังหวัดขอนแกน (SWOT Analysis) โดยประเมินปจจัยภายใน (จุดแข็ง จุดออน) และปจจัยภายนอก (โอกาส ภัยคุกคาม) รวมถึงทิศทางและยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศที่ กําหนดไวในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ตลอดจนแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ นโยบายของรัฐบาล และแผนพัฒนากลุมจังหวัด นําไปสูการกําหนดวิสัยทัศน เปาประสงค และประเด็นยุทธศาสตรของจังหวัด ขอนแกน ดังนี้
  • 40. ๓๖ แผนพัฒนาจังหวัดขอนแกน (พ.ศ.๒๕๕๗ – ๒๕๖๐) (ฉบับทบทวน)  วิสัยทัศนของจังหวัดขอนแกน “ขอนแกนเมืองนาอยู ศูนยกลางเชื่อมโยงการคา การลงทุน และการบริการของกลุม ประเทศอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง”  จุดยืนทางยุทธศาสตร : เมืองศูนยกลางเศรษฐกิจ และสังคมในกลุมประเทศอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง - ศูนยกลางการคา การลงทุน และบริการ - ศูนยกลางการคมนาคมขนสง และโลจิสติกส - ศูนยกลางการแพทยและสาธารณสุข - ศูนยกลางการศึกษา - ศูนยกลางการประชุม และการทองเที่ยว - ศูนยกลางอุตสาหกรรมสีเขียว ภาคอุตสาหกรรม - นครเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร - พลังงานทดแทน - ศูนยกลางอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตร/อุตสาหกรรมสีเขียว ภาคเกษตร - พืชเศรษฐกิจหลัก (ขาว,ออยโรงงาน,มันสําปะหลัง) - พืชเศรษฐกิจรอง (ผักปลอดภัย,มะมวงน้ําดอกไม) - สัตวเศรษฐกิจหลัก (โคเนื้อ,ไก) ภาคทองเที่ยว - ศูนยกลางประชุมและการทองเที่ยวยุคกอนประวัติศาสตร (ไดโนเสาร) และวัฒนธรรม OTOP - ผาไหมมัดหมี่,ผาฝาย  พันธกิจ ๑. เสริมสรางชุมชนใหเขมแข็ง คนในชุมชนมีชีวิตอยูดวยความผาสุก ๒. พัฒนาใหเปนเมืองนาอยูอยางยั่งยืน ๓. พัฒนาใหเปนศูนยกลางของกลุมประเทศอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง  เปาประสงครวม ๑. อัตราการเติบโตทางดานเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น และมีเสถียรภาพ ๒. ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน และสรางความมั่นคงทางสังคม ๓. อนุรักษ ฟนฟู ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และเสริมสรางความเขมแข็งในการ บริหารจัดการอยางยั่งยืน ๔. ยกระดับการคา การลงทุน และการบริการใหมีการเชื่อมโยงกับกลุมประเทศอนุภูมิภาค ลุมน้ําโขง และอาเซียน
  • 41. ๓๗  ประเด็นยุทธศาสตร ยุทธศาสตรที่ ๑ : การพัฒนาเศรษฐกิจใหมีความมั่นคงและมีความสามารถทางการแขงขัน ยุทธศาสตรที่ ๒ : การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ ยุทธศาสตรที่ ๓ : การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพื่อการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ยุทธศาสตรที่ ๔ : การเสริมสรางความมั่นคงและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ยุทธศาสตรที่ ๕ : การเพิ่มศักยภาพของเมืองเพื่อเชื่อมโยงโอกาสจากกลุมประเทศอนุภูมิภาค ลุมน้ําโขง ยุทธศาสตรที่ ๖ : การพัฒนาการบริหารภาครัฐ
  • 42. ๓๘ ๓. แผนการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัดขอนแกน ๕ ป ฉบับที่ ๒ ( พ.ศ.๒๕๕๕ –๒๕๕๙) ที่มาของแผน พระราชบัญญัติสงเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ.๒๕๔๖ มาตรา ๑๓ (๓) กําหนดใหคณะกรรมการ สงเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแหงชาติตองเสนอแผนพัฒนางานสวัสดิการสังคมตอคณะรัฐมนตรีเพื่ออนุมัติ เปนแผนแมบท และในมาตรา ๑๙ (๑) กําหนดใหคณะกรรมการสงเสริมการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัดเสนอ นโยบายมาตรการและแผนการจัดสวัสดิการสังคมตอคณะกรรมการสงเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแหงชาติ จังหวัดขอนแกนจึงไดแตงตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อดําเนินการรางแผนฯ ขึ้นใชเปนแนวทางในการปฏิบัติงาน ขององคการสวัสดิการสังคม (หนวยงานของรัฐและองคกรสาธารณะประโยชน) หนวยงานและบุคลากรที่ เกี่ยวของของจังหวัดขอนแกน โดยใชกรอบแนวทางตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ ๑๑ ยุทธศาสตรการพัฒนา จังหวัดขอนแกน ในการจัดทําแผน ตามกระบวนการระดมความคิดเห็นจากผูแทนหนวยงานภาครัฐ เอกชน ภาคประชาชน สรุปแผนฯ ได ดังนี้ วิสัยทัศน “ขอนแกนเมืองแหงความสุข ชุมชนชวยเหลือเกื้อกูลถวนหนา นําพาสูการพัฒนา คุณภาพชีวิตและ พัฒนาสังคมอยางยั่งยืน” ประเด็นยุทธศาสตร ๑. การพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน ไดแก เด็ก เยาวชน ผูสูงอายุ สตรี ผูพิการ ๒. ครอบครัวที่อบอุน ๓. ชุมชนสังคมเขมแข็ง ๔. การผนึกกําลังของภาคีเครือขายในการพัฒนาสวัสดิการสังคม ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๑ : การพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน เปาประสงค ตัวชี้วัด ๑.สงเสริมคนใหมีสุขภาวะที่ดี ๑.๑ ประชากรรอยละ ๑๐๐ ไดรับบริการสาธารณสุข ๑.๒ ประชาชนเขาถึงสถานบริการสาธารณสุขที่ไดมาตรฐาน ๑.๓ รอยละ ๑๐๐ ของประชาชนไดรับความรู เชน การออกกําลัง กาย การสาธารณสุข ๒. สงเสริมดานการศึกษา ๒.๑ รอยละ ๑๐๐ ของเด็กไดเขารับการศึกษาตามเกณฑภาคบังคับ ๒.๒ รอยละ ๑๐๐ ทุก อปท. มีศูนยพัฒนาเด็กเล็กกอนวัยเรียนที่ได มาตรฐาน ๓. สงเสริมดานคุณธรรม/จริยธรรม ๓.๑ รอยละ ๑๐๐ ของประชากรไดรับการปฏิบัติธรรม ๔. สงเสริมดานสวัสดิการ ๔.๑ รอยละ ๑๐๐ ของผูพิการ ผูปวยเอดส ผูสูงอายุ ไดรับเบี้ยยังชีพ ๔.๒ รอยละ ๘๕ ของกลุมเปาหมายไดรับบริการสวัสดิการตาม กฎหมาย
  • 43. ๓๙ ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ : ครอบครัวอบอุน เปาประสงค ตัวชี้วัด (KPI) ๑.ครอบครัวมีความสัมพันธที่ดีตอกันลดชองวางแหง วัย - จํานวน / อัตราการหยารางของครอบครัวลดลง ๒.ครอบครัวมีรายไดเพียงพอตอการดํารงชีพ - รายไดตอครัวเรือนไดตามเกณฑ จปฐ. ๓. ครอบครัวมีความรู / ทักษะในการดูแลบุตรหลาน - เด็ก / เยาวชนจบการศึกษาขั้นพื้นฐานไมต่ํากวา ม.๖ ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๓ : ชุมชน/สังคมเขมแข็ง เปาประสงค ตัวชี้วัด ๑. การสรางการมีสวนรวม - การทําประชาคมสม่ําเสมอ อยางนอยเดือนละ ๑ ครั้ง - มีกลุมองคกรที่ทํางานเกี่ยวกับสวัสดิการโดยมีการ ดําเนินงานอยางตอเนื่อง ๑ กลุม ตอชุมชน ๒. การพึ่งตนเอง - มีการจัดทําบัญชีครัวเรือน - จัดตั้งกลุมออมทรัพยวันละบาท - มีกลุมฌาปนกิจในชุมชน - มีจํานวนครัวเรือนที่ใชปุยอินทรียชีวภาพเพิ่มมากขึ้น และลดการใชสารเคมี ๓. มีระบบการบริหารการจัดการที่ดี - มีปาชุมชน - การจัดตั้งคณะกรรมการบริหารดานสิ่งแวดลอมในชุมชน - มีกิจกรรมเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติเชน โครงการ ปลูกปาเพื่ออนุรักษพันธุไม มีปาชุมชน เปนตน ๔. ชุมชนปลอดอบายมุขและสิ่งเสพติด - จัดตั้งกลุมและผูนําเฝาระวังเรื่องสารเสพติดในชุมชน - สงเสริมประเพณีที่สอดแทรกการรณรงคเกี่ยวกับ อบายมุข ประเด็นยุทธศาสตร ๔ : ผนึกกําลังภาคีเครือขายในการพัฒนาสวัสดิการสังคม เปาประสงค ตัวชี้วัด ๑. บูรณาการระหวางหนวยงานภาครัฐและเอกชน องคการบริหารงานสวนทองถิ่น (อปท.) ในการ วางแผน ดําเนินงานติดตามและประเมินผลงาน สวัสดิการสังคม ๒.ยกระดับคุณภาพงานสวัสดิการสังคม (๑๐ ตัวชี้วัด) - ความรวมมือระหวางภาคีเครือขายและ องคการ บริหารสวนทองถิ่น (อปท.) รวมมือกันปฏิบัติงาน รอยละ ๘๐ ของโครงการที่ดําเนินการ - ผูรับบริการมีความพึงพอใจรอยละ ๘๐ - ผูดอยโอกาสเขาถึงสวัสดิการสังคมรอยละ ๑๐๐
  • 45. ๔๑ สวนที่ ๓ รายงานสถานการณทางสังคม จังหวัดขอนแกน ๑. ขอมูลทั่วไป  ประชากร จังหวัดขอนแกน แบงการปกครองสวนภูมิภาคออกเปน ๒๖ อําเภอ ๑๙๘ ตําบล ๒,๓๓๑ หมูบาน และ ๓๘๙ ชุมชน โดยมีอําเภอ ดังนี้ อําเภอเมืองขอนแกน อําเภอเขาสวนกวาง อําเภอสีชมพู อําเภอภูผามาน อําเภอชุมแพ อําเภอภูเวียง อําเภออุบลรัตน อําเภอกระนวน อําเภอน้ําพอง อําเภอหนองเรือ อําเภอบานฝาง อําเภอพระยืน อําเภอบานไผ อําเภอมัญจาคีรี อําเภอชนบท อําเภอแวงใหญ อําเภอพล อําเภอเปอยนอย อําเภอหนองสองหอง อําเภอแวงนอย อําเภอหนองนาคํา อําเภอซําสูง อําเภอพระยืน อําเภอบานแฮด อําเภอ โนนสิลา และอําเภอแวงนอย ดังภาพ องคกรปกครองสวนทองถิ่น จํานวน ๒๒๕ แหง ประกอบดวย องคการบริหารสวนจังหวัด จํานวน ๑ แหง เทศบาล จํานวน ๘๕ แหง (เทศบาลนคร จํานวน ๑ แหง เทศบาลเมือง จํานวน ๖ แหง และ เทศบาลตําบล จํานวน ๗๘ แหง) และองคการบริหารสวนตําบล จํานวน ๑๓๙ แหง (ที่มา : สํานักงานสงเสริม การปกครองสวนทองถิ่นจังหวัดขอนแกน ๒๕๕๖)
  • 46. ๔๒ ตาราง ประชากรจากการทะเบียน จําแนกตามเพศ และเขตการปกครอง จังหวัดขอนแกน พ.ศ.๒๕๕๔ – ๒๕๕๖ POPULATION FROM REGISTRATION RECORD BY SEX AND AREA, KHON KAEN PROVINCE : ๒๐๑๑-๒๐๑๓ เพศและเขตการ ปกครอง ๒๕๕๔ (๒๐๑๑) ๒๕๕๕ (๒๐๑๒) ๒๕๕๖ (๒๐๑๓) รวม ๑,๗๖๖,๐๖๖ ๑,๗๗๔,๘๑๖ ๑,๗๘๑,๖๕๕ ชาย ๘๗๕,๐๑๓ ๘๗๙,๓๖๐ ๘๘๑,๕๙๑ หญิง ๘๙๑,๐๕๓ ๘๙๕,๔๕๖ ๙๐๐,๐๖๔ ในเขตเทศบาล ๔๔๔,๑๓๔ ๔๖๒,๘๕๙ ๔๗๑,๖๑๔ ชาย ๒๑๔,๙๒๙ ๒๒๔,๒๙๓ ๒๒๗,๘๑๑ หญิง ๒๒๙,๒๐๕ ๒๓๘,๕๖๖ ๒๔๓,๘๐๓ นอกเขตเทศบาล ๑,๓๒๑,๙๓๒ ๑,๓๑๑,๙๕๗ ๑,๓๑๐,๐๔๑ ชาย ๖๖๐,๐๘๔ ๖๕๕,๐๖๗ ๖๕๓,๗๘๐ หญิง ๖๖๑,๘๔๘ ๖๕๖,๘๙๐ ๖๕๖,๒๖๑ (ที่มา : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย รวบรวมโดย สํานักสถิติพยากรณ สํานักงานสถิติแหงชาติ, ๒๕๕๗)
  • 47. ๔๓ ๒. รายงานสถานการณทางสังคมของทองถิ่น (ขอมูล อปท.) ขอมูลรายงานสถานการณทางสังคมของทองถิ่นป ๒๕๕๗ ซึ่งดําเนินการเก็บขอมูลจากองคกรปกครอง สวนทองถิ่นในจังหวัดขอนแกน ตามแบบสํารวจขอมูลการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการสังคมของทองถิ่น (อปท.๑) ซึ่งไดขอความรวมมือองคกรปกครองสวนทองถิ่น ๒๒๔ แหง ไดรับแบบสํารวจตอบกลับจํานวน ๒๑๔ แหง คิดเปนรอยละ ๙๕.๕๔ สามารถสรุปสถานการณเชิงประเด็นสังคม และสถานการณสังคมเชิง กลุมเปาหมายที่ตองไดรับการพัฒนา ดังนี้  สถานการณปญหาเชิงประเด็นสังคม ปญหาเชิงประเด็นสังคมที่พบมากที่สุด คือ ปญหาการมีงานทําและรายได รองลงมา คือ ปญหาดานที่ อยูอาศัยและสิ่งแวดลอม และอันดับที่ ๓ คือ ปญหาความไมปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ดังตาราง ตาราง สถานการณเชิงประเด็นสังคม (ที่มา : สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัดขอนแกน ขอมูลจากรายงานสถานการณทาง สังคมของทองถิ่น ป ๒๕๕๗) สถานการณ์เชิงประเด็นสังคม ดานการมีงานทําและรายได ดานที่อยูอาศัยและสิ่งแวดลอม ดานสุขภาพอนามัย ดานความไมปลอดภัยในชีวิต และทรัพยสิน ดานการศึกษา สถานการณเชิงประเด็นสังคม จํานวน (คน) รอยละ ดานการมีงานทําและรายได ๕๐,๑๔๑ ๔๓.๒๒ ดานที่อยูอาศัยและสิ่งแวดลอม๔๓ ๒๒,๓๒๙ ๒๐.๐๕ ดานความไมปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ๑๘,๖๙๗ ๑๖.๑๒ ดานสุขภาพอนามัย ๑๕,๖๑๗ ๑๓.๕๖ ดานการศึกษา ๖,๗๓๘ ๕.๘๑ ดานวัฒนธรรมและจริยธรรม ๑,๔๓๔ ๑.๒๔ รวม ๑๑๔,๙๕๖ ๑๐๐.๐๐