SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
Chelonoidis nigra
หรือ เต่ากาลาปาโกส
สัตว์เลื้อยคลานขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง จาพวกเต่า จัดเป็นเต่าบกชนิดหนึ่งนับเป็นเต่าบกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มี
ลักษณะเด่น คือ กระดองหนา มีสีเทาเข้มจนถึงสีดา มีคอที่ยาวมากเพื่อใช้ในการหาอาหาร หัวมีขนาดเล็ก ตัวผู้มี
กระดองยาว 122 เซนติเมตร น้าหนักได้ถึง 250 กิโลกรัม ตัวเมียจะตัวเล็กกว่า กระดองยาว 91 เซนติเมตร
น้าหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 159 กิโลกรัม วางไข่ประมาณ 9-25 ฟอง
ไข่จะฟักในอุณหภูมิประมาณ 35-40 องศาเซลเซียส
แต่จะเหลือลูกเต่าไม่ถึงครึ่งที่มีชีวิตรอดจากการวางไข่
แต่ละครั้งชอบอาศัยในที่พุ่มไม้เตี้ย ในบึง และเนินทรายชายฝั่ง
และมีอายุยืนได้นานมากกว่า 100 ปี หรือเกือบ ๆ 200 ปี
จัดเป็นสิ่งมีชีวิตเฉพาะถิ่นที่พบเฉพาะบนหมู่เกาะกาลาปาโกส
กลางมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ในเขตของประเทศเอกวาดอร์เท่านั้น
และก็ได้มีชนิดย่อยแตกต่างกันออกไปตามลักษณะของกระดอง และขนาดลาตัว
ซึ่งจะอาศัยกระจายกันไปตามเกาะต่าง ๆ ในหมู่เกาะกาลาปาโกส และเกาะอื่น ๆ
ที่ใกล้เคียงกัน ทั้งนี้เป็นไปตามทฤษฎีวิวัฒนาการที่กระดองของเต่าจะปรับเปลี่ยน
ไปตามลักษณะการกินอาหารตามแต่ละภูมิประเทศที่อาศัย เช่น บ้างก็เว้าตรงคอ,
บ้างก็โค้งกลมเหมือนโดม หรือบ้างก็เหมือนอานม้า โดยสามารถแบ่งออกได้ถึง
14 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) และบางชนิดก็สูญพันธุ์ไปแล้วเช่นกัน
เต่ายักษ์กาลาปาโกส เป็นเต่าที่กินพืชเป็นอาหาร โดยสามารถกินพืชที่ขึ้น
ที่แห้งแล้งชนิดต่าง ๆ ได้อย่างหลากหลาย รวมถึงพืชที่มีหนามแหลมอย่าง
กระบองเพชรด้วย
ปัจจุบัน มีเต่ายักษ์กาลาปาโกสอาศัยอยู่ในธรรมชาติประมาณ 20,000 ตัว ซึ่งเป็นผลมาจากการอนุรักษ์
และขยายพันธุ์ จากที่เคยเหลืออยู่แค่ 3,000 ตัว เมื่อปี ค.ศ. 1974 จากการถูกรุกรานและฆ่าโดยมนุษย์ โดย
ศูนย์เพาะขยายพันธุ์ใหญ่ที่สุด คือ สถานีวิจัยชาร์ลส์ ดาร์วิน บนเกาะซานตาครูซ ของหมู่เกาะกาลาปา
โกส ซึ่งมีด้วยกันหลายจุด ครอบคลุมเต่ายักษ์กาลาปาโกสทุกเพศ ทุกวัย ตั้งแต่เกิดจนตาย เต่าวัยอ่อนอายุ
ไม่เกิน 2 ปี จะถูกดูแลเป็นอย่างดีให้พ้นจากศัตรูตามธรรมชาติที่มีอยู่มากมาย โดยบนกระดองจะมีการ
แต้มสีต่าง ๆ เป็นจุด เพื่อเรียกแทนค่าหมายเลขประจาตัว ตามชนิดย่อยที่แตกต่างกันตามไปตามเกาะที่
เป็นแหล่งต้นกาเนิด ซึ่งเต่ายักษ์กาลาปาโกสจะอาศัยอยู่ที่นี่จนอายุได้ 4-6 ปี และผ่านการวัดขนาดความ
กระดองให้ได้ประมาณ 20-25 เซนติเมตร จึงถือว่าเติบโตได้ตามปกติ และนาไปปล่อยสู่แหล่งเลี้ยงที่มี
การจัดสภาวะแวดล้อมให้ใกล้เคียงกับธรรมชาติมากที่สุด
ชื่อเสียงของหมู่เกาะนี้เริ่มต้นที่ลักษณะอันน่าแปลกของสัตว์บนเกาะต่าง ๆ นั่นเอง โดยเฉพาะเต่ายักษ์ เต่าเหล่านี้คาดว่ามี
อายุยืนที่สุดในบรรดาสัตว์โลกปัจจุบัน สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้้าแทบจะไม่มีเลย สัตว์เลื้อยคลานมีน้อย ส่วนสัตว์บกท้องถิ่นมี
สัตว์ฟันแทะเพียง 7 ชนิด และค้างคาวอีก 2 ชนิด ส่วนนกบนเกาะเหล่านี้มีเพียง 80 ชนิดและชนิดย่อย นกที่พบมากที่สุด
(ไม่นับนกน้้า) คือนกฟินช์กาลาปาโกส หรือนกฟินช์ดาร์วิน นั่นเอง
สาเหตุที่สัตว์บนหมู่เกาะกาลาปาโกสเป็นที่น่าสนใจของนักวิทยาศาสตร์ ก็เพราะ 1) มีเปอร์เซ็นต์สัตว์ท้องถิ่นสูงมาก
2) สัตว์ชนิดต่าง ๆ ได้พัฒนาเป็นชนิดย่อยของมันเองในแต่ละเกาะ 3) นกฟินช์กาลาปาโกสได้พัฒนาตนเองขึ้นหลายชนิด
จากบรรพบุรุษเดียวกัน โดยมีความแตกต่างส้าคัญที่จงอยปาก 4) มีสัตว์อื่นๆ อีกมากที่พัฒนาตัวเองโดยปรับตัวให้เข้ากับ
สภาพแวดล้อม เช่น อีกัวน่าทะเลที่ว่ายน้้าได้ จะกินพืชทะเลเป็นอาหาร นอกจากนี้ยังมีนกกาน้้าที่บินไม่ได้ 5) เต่ายักษ์ที่เคย
แพร่พันธุ์บนทวีป แต่ปัจจุบันสูญพันธุ์ไปแล้ว เหลืออยู่เพียงบนเกาะขนาดใหญ่ นอกจากนี้ยังมีสัตว์ในเขตแอนตาร์
กติก เช่นเพนกวิน และแมวน้้าขนเฟอร์ ซึ่งอาศัยอยู่บนเกาะเหล่านี้เคียงข้างกับสัตว์เขตร้อนได้
ชื่อ นายภูมิพัฒน์ ยี่สุ่นแก้ว ชั้น ม.5/3 เลขที่ 15
ชื่อ นายพลอธิป พิศภา ชั้นม.5/3 เลขที่ 15

More Related Content

More from ACR

5565
55655565
5565ACR
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4ACR
 
ใบที่4
ใบที่4ใบที่4
ใบที่4ACR
 
เต่ากาลาปากอส
เต่ากาลาปากอสเต่ากาลาปากอส
เต่ากาลาปากอสACR
 
Black hole
Black holeBlack hole
Black holeACR
 
Black hole
Black holeBlack hole
Black holeACR
 

More from ACR (6)

5565
55655565
5565
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4
 
ใบที่4
ใบที่4ใบที่4
ใบที่4
 
เต่ากาลาปากอส
เต่ากาลาปากอสเต่ากาลาปากอส
เต่ากาลาปากอส
 
Black hole
Black holeBlack hole
Black hole
 
Black hole
Black holeBlack hole
Black hole
 

เต่ากาลาปากอส

  • 2. สัตว์เลื้อยคลานขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง จาพวกเต่า จัดเป็นเต่าบกชนิดหนึ่งนับเป็นเต่าบกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มี ลักษณะเด่น คือ กระดองหนา มีสีเทาเข้มจนถึงสีดา มีคอที่ยาวมากเพื่อใช้ในการหาอาหาร หัวมีขนาดเล็ก ตัวผู้มี กระดองยาว 122 เซนติเมตร น้าหนักได้ถึง 250 กิโลกรัม ตัวเมียจะตัวเล็กกว่า กระดองยาว 91 เซนติเมตร น้าหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 159 กิโลกรัม วางไข่ประมาณ 9-25 ฟอง ไข่จะฟักในอุณหภูมิประมาณ 35-40 องศาเซลเซียส แต่จะเหลือลูกเต่าไม่ถึงครึ่งที่มีชีวิตรอดจากการวางไข่ แต่ละครั้งชอบอาศัยในที่พุ่มไม้เตี้ย ในบึง และเนินทรายชายฝั่ง และมีอายุยืนได้นานมากกว่า 100 ปี หรือเกือบ ๆ 200 ปี
  • 3. จัดเป็นสิ่งมีชีวิตเฉพาะถิ่นที่พบเฉพาะบนหมู่เกาะกาลาปาโกส กลางมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ในเขตของประเทศเอกวาดอร์เท่านั้น และก็ได้มีชนิดย่อยแตกต่างกันออกไปตามลักษณะของกระดอง และขนาดลาตัว ซึ่งจะอาศัยกระจายกันไปตามเกาะต่าง ๆ ในหมู่เกาะกาลาปาโกส และเกาะอื่น ๆ ที่ใกล้เคียงกัน ทั้งนี้เป็นไปตามทฤษฎีวิวัฒนาการที่กระดองของเต่าจะปรับเปลี่ยน ไปตามลักษณะการกินอาหารตามแต่ละภูมิประเทศที่อาศัย เช่น บ้างก็เว้าตรงคอ, บ้างก็โค้งกลมเหมือนโดม หรือบ้างก็เหมือนอานม้า โดยสามารถแบ่งออกได้ถึง 14 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) และบางชนิดก็สูญพันธุ์ไปแล้วเช่นกัน เต่ายักษ์กาลาปาโกส เป็นเต่าที่กินพืชเป็นอาหาร โดยสามารถกินพืชที่ขึ้น ที่แห้งแล้งชนิดต่าง ๆ ได้อย่างหลากหลาย รวมถึงพืชที่มีหนามแหลมอย่าง กระบองเพชรด้วย
  • 4. ปัจจุบัน มีเต่ายักษ์กาลาปาโกสอาศัยอยู่ในธรรมชาติประมาณ 20,000 ตัว ซึ่งเป็นผลมาจากการอนุรักษ์ และขยายพันธุ์ จากที่เคยเหลืออยู่แค่ 3,000 ตัว เมื่อปี ค.ศ. 1974 จากการถูกรุกรานและฆ่าโดยมนุษย์ โดย ศูนย์เพาะขยายพันธุ์ใหญ่ที่สุด คือ สถานีวิจัยชาร์ลส์ ดาร์วิน บนเกาะซานตาครูซ ของหมู่เกาะกาลาปา โกส ซึ่งมีด้วยกันหลายจุด ครอบคลุมเต่ายักษ์กาลาปาโกสทุกเพศ ทุกวัย ตั้งแต่เกิดจนตาย เต่าวัยอ่อนอายุ ไม่เกิน 2 ปี จะถูกดูแลเป็นอย่างดีให้พ้นจากศัตรูตามธรรมชาติที่มีอยู่มากมาย โดยบนกระดองจะมีการ แต้มสีต่าง ๆ เป็นจุด เพื่อเรียกแทนค่าหมายเลขประจาตัว ตามชนิดย่อยที่แตกต่างกันตามไปตามเกาะที่ เป็นแหล่งต้นกาเนิด ซึ่งเต่ายักษ์กาลาปาโกสจะอาศัยอยู่ที่นี่จนอายุได้ 4-6 ปี และผ่านการวัดขนาดความ กระดองให้ได้ประมาณ 20-25 เซนติเมตร จึงถือว่าเติบโตได้ตามปกติ และนาไปปล่อยสู่แหล่งเลี้ยงที่มี การจัดสภาวะแวดล้อมให้ใกล้เคียงกับธรรมชาติมากที่สุด
  • 5. ชื่อเสียงของหมู่เกาะนี้เริ่มต้นที่ลักษณะอันน่าแปลกของสัตว์บนเกาะต่าง ๆ นั่นเอง โดยเฉพาะเต่ายักษ์ เต่าเหล่านี้คาดว่ามี อายุยืนที่สุดในบรรดาสัตว์โลกปัจจุบัน สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้้าแทบจะไม่มีเลย สัตว์เลื้อยคลานมีน้อย ส่วนสัตว์บกท้องถิ่นมี สัตว์ฟันแทะเพียง 7 ชนิด และค้างคาวอีก 2 ชนิด ส่วนนกบนเกาะเหล่านี้มีเพียง 80 ชนิดและชนิดย่อย นกที่พบมากที่สุด (ไม่นับนกน้้า) คือนกฟินช์กาลาปาโกส หรือนกฟินช์ดาร์วิน นั่นเอง สาเหตุที่สัตว์บนหมู่เกาะกาลาปาโกสเป็นที่น่าสนใจของนักวิทยาศาสตร์ ก็เพราะ 1) มีเปอร์เซ็นต์สัตว์ท้องถิ่นสูงมาก 2) สัตว์ชนิดต่าง ๆ ได้พัฒนาเป็นชนิดย่อยของมันเองในแต่ละเกาะ 3) นกฟินช์กาลาปาโกสได้พัฒนาตนเองขึ้นหลายชนิด จากบรรพบุรุษเดียวกัน โดยมีความแตกต่างส้าคัญที่จงอยปาก 4) มีสัตว์อื่นๆ อีกมากที่พัฒนาตัวเองโดยปรับตัวให้เข้ากับ สภาพแวดล้อม เช่น อีกัวน่าทะเลที่ว่ายน้้าได้ จะกินพืชทะเลเป็นอาหาร นอกจากนี้ยังมีนกกาน้้าที่บินไม่ได้ 5) เต่ายักษ์ที่เคย แพร่พันธุ์บนทวีป แต่ปัจจุบันสูญพันธุ์ไปแล้ว เหลืออยู่เพียงบนเกาะขนาดใหญ่ นอกจากนี้ยังมีสัตว์ในเขตแอนตาร์ กติก เช่นเพนกวิน และแมวน้้าขนเฟอร์ ซึ่งอาศัยอยู่บนเกาะเหล่านี้เคียงข้างกับสัตว์เขตร้อนได้
  • 6. ชื่อ นายภูมิพัฒน์ ยี่สุ่นแก้ว ชั้น ม.5/3 เลขที่ 15 ชื่อ นายพลอธิป พิศภา ชั้นม.5/3 เลขที่ 15