SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
Download to read offline
รหัสวิชา 1023601 วิชาการจัดการชั้นเรียนและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้
โดย
1.นางสาวธิดารัตน์ ฝ่ายเพ็ชร รหัส5741060042
2.นางสาวปัทมาภรณ์ ดวงเพ็ชรแสง รหัส5741060047
3.นางสาวศศิธร คามาทิตย์ รหัส5741060054
4.นางสาวกนกกาญจน์ ภูมิตรชัย รหัส5741060055
5.นางสาวกัลย์สุดา อาจวงษ์ รหัส5741060060
6.นางสาวผกามาศ เสาสมภพ รหัส5741060061
7.นางสาวน้้าทิพย์ ยังสันเทียะ รหัส5741060062
8.นางสาวธันยธร ทันงาม รหัส5741060064
9.นางสาวสุวนันท์ สมเพ็ชร รหัส5741060067
10.นางสาวเพชรรัตน์ พิลึกรัมย์ รหัส5741060069
11.นางสาวกัญญารัตน์ ขันติรัตน์ รหัส5741060070
กลุ่ม 3
รุ่น/กลุ่ม 57/08
คณะครุศาสตร์ เอกวิทยาศาสตร์ทั่วไป
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
การจัดการชั้นเรียนและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้
บทนา
การจัดการชั้นเรียนเฉพาะวิชา การสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนที่
ส่งเสริมการเรียนรู้
การจัดชั้นเรียนและสิ่งแวดล้อมเพื่อการ
เรียนรู้กับวิชาเอก DRU Model
การศึกษา 4.0
ไทยแลนด์ 4.0
บทนา
ความหมายของการจัดการ
ชั้นเรียน
ความสาคัญของการจัดการชั้นเรียน
เป้าหมายของการ
จัดการชั้นเรียน
หลักการบริหารการจัดการชั้นเรียน
องค์ประกอบของการจัด
การชั้นเรียน
คุณลักษณะของชั้นเรียนที่พึงประสงค์
การจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพในห้องเรียน การจัดการกับพฤติกรรมที่เป็นปัญหาของผู้เรียน การสร้างวินัยในชั้นเรียน
ตลอดจนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครู และการพัฒนาทักษะการสอนของครูให้สามารถกระตุ้นพร้อมทั้งสร้างแรงจูงใจในชั้นเรียน เพื่อให้
ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุผลตามเป้าหมายของการจัดการศึกษา
เป็นการดาเนินการต่างๆ เกี่ยวข้องกับการจัดสภาพแวดล้อมในชั้นเรียน เพื่อกระตุ้นส่งเสริมบรรยากาศในการเรียนรู้ รวมถึงการ
แก้ปัญหาพฤติกรรมของนักเรียนโดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ซึ่งครูเป็นผู้มีบทบาทสาคัญต่อความสาเร็จต่อการจัดการชั้น
เรียน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด และเด็กได้เรียนรู้อย่างมีความสุข
ความหมายของการจัดการชั้นเรียน
ความสาคัญของการจัดการชั้นเรียน
เป้าหมายของการจัดการชั้นเรียน
1.จัดระเบียบชั้นเรียนเพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ที่จะ
รักษาวินัย ควบคุมตัวเองได้มากขึ้น เช่น เวลา
ต้องการสิ่งใด จะอดทนรอได้แสดงกิริยา
โต้ตอบด้วยอารมณ์สมเหตุสมผล
2.พัฒนาพฤติกรรมที่พึงประสงค์โดยให้ผู้เรียน
เรียนรู้ที่จะเข้าใจและยอมรับผลการกระทาของ
ตัวเอง
3.ให้ผู้เรียนมีสมาธิรับผิดชอบตัวเองตามความสามารถแห่งตน
และพึ่งพาคนอื่นตามวามจาเป็นได้อย่างเหมาะสม
4.สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่ดีเพื่อให้ผู้เรียน
ได้รับการสนับสนุนและกระตุ้นความสนใจใน
การเรียนพัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
หลักการบริหารการจัดการชั้นเรียน
1.การจัดชั้นเรียนควรยืดหยุ่นได้ตามความเหมาะสม
2.การจัดชั้นเรียนควรสร้างเสริมความรู้ทุกด้าน
3.การจัดชั้นเรียนควรคานึงถึงสภาพแวดล้อมที่ดี
4.การจัดชั้นเรียนควรเสริมสร้างลักษณะนิสัยที่ดีงาม
5.การจัดชั้นเรียนควรสร้างเสริมประชาธิปไตย
6.ควรจัดชั้นเรียนเพื่อสร้างความเป็นระเบียบ
7.การจัดชั้นเรียนควรเอื้อต่อหลักสูตร
การจัดการชั้นเรียนด้านองค์ประกอบทางกายภาพ ควรคานึงถึงแนวคิด การจัดห้องเรียนด้านองค์ประกอบทางการศึกษา ควรคานึงถึงแนวคิด
- ให้เหมาะสมกับยุคสมัย - การเตรียมการสอน
- ให้สอดคล้องกับหลักสูตร - การวางแผนการสอน
- ให้สนับสนุนบรรยากาศการเรียนรู้ - การสอน
- เพื่อให้กระบวนการจัดการเรียนการสอนเป็นไปอย่างราบรื่นและได้ผล - การประเมินผล
องค์ประกอบของการจัดการชั้นเรียน
1.องค์ประกอบทางกายภาพ
สภาพแวดล้อมในการเรียนการสอนของ
ผู้เรียนและผู้สอน
3.องค์ประกอบทางการศึกษา เนื้อหาใน
หลักสูตรที่โรงเรียนนามาใช้เป็นแนว
ทางการจัดการเรียนการสอน
2.องค์ประกอบทางสังคม
สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นจากที่ผู้สอน
และผู้เรียนได้อยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะของชั้นเรียนที่พึงประสงค์
1.ชั้นเรียนที่ดีควรมีสีสันที่น่าดู
สบายตา อากาศถ่ายเทได้ดี ถูก
สุขลักษณะ
2.จัดโต๊ะเก้าอี้และสิ่งที่ที่อยู่ในชั้นเรียน
ให้เอื้ออานวยต่อการเรียนการสอน
และกิจกรรมประเภทต่างๆ
3.ให้นักเรียนได้เรียนอย่างมี
ความสุข มีอิสรเสรีภาพ และมี
วินัยในการดูแลตนเอง
4.ใช้ประโยชน์ชั้นเรียนให้
คุ้มค่า
5.จัดเตรียมชั้นเรียนให้มีความ
พร้อมต่อการสอนในแต่ละครั้ง
6.สร้างบรรยากาศให้อบอุ่น ให้
ความเป็นกันเองับผู้เรียน
การจัดการชั้นเรียนเพื่อส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้
(บรรยากาศในชั้นเรียนที่จะนาไปสู่ความสาเร็จในการสอน)
1. บรรยากาศที่ท้าทาย (Challenge) เป็นบรรยากาศที่
ครูกระตุ้นให้กาลังใจนักเรียน เพื่อให้ประสบผลสาเร็จ
ในการทางาน
2. บรรยากาศที่มีอิสระ (Freedom) เป็นบรรยากาศที่นักเรียนมี
โอกาสได้คิด ได้ตัดสินใจเลือกสิ่งที่มีความหมายและมีคุณค่า
รวมถึงโอกาสที่จะทาผิดด้วย โดยปราศจากความกลัวและวิตก
กังวล
4. บรรยากาศที่มีความอบอุ่น (Warmth) เป็นบรรยากาศ
ทางด้านจิตใจ ซึ่งมีผลต่อความสาเร็จในการเรียน การที่ครูมี
ความเข้าใจนักเรียน เป็นมิตร ยอมรับให้ความช่วยเหลือ จะทา
ให้นักเรียนเกิดความอบอุ่น สบายใจ รักครู รักโรงเรียน และ
รักการมาเรียน
3. บรรยากาศที่มีการยอมรับนับถือ
(Respect) เป็นบรรยากาศที่ครูรู้สึกว่า
นักเรียนเป็นบุคคลสาคัญ มีคุณค่า และ
สามารถเรียนได้อันส่งผลให้นักเรียนเกิด
ความเชื่อมั่นในตนเองและเกิดความยอมรับ
นับถือตนเอง
5. บรรยากาศแห่งการควบคุม (Control) การควบคุม
ในที่นี้ หมายถึง การฝึกให้นักเรียนมีระเบียบวินัย
มิใช่การควบคุม ไม่ให้มีอิสระ ครูต้องมีเทคนิคใน
การปกครองชั้นเรียนและฝึกให้นักเรียนรู้จักใช้สิทธิ
หน้าที่ของตนเองอย่างมีขอบเขต
6. บรรยากาศแห่งความสาเร็จ (Success)
เป็นบรรยากาศที่ผู้เรียนเกิดความรู้สึก
ประสบความสาเร็จในงานที่ทา ซึ่งส่งผล
ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีขึ้น
การจัดการชั้นเรียนเฉพาะวิชา
ความสาคัญของการจัดการ
ชั้นเรียนเฉพาะวิชา
รูปแบบการจัดการชั้นเรียน
เฉพาะวิชา
ครูจึงให้ความสาคัญและจัดการชั้นเรียนให้ส่งผลดีดังนี้
ความสาคัญของการจัดการ
ชั้นเรียนเฉพาะวิชา
1.การทาให้ผู้เรียนสนใจ
ในเนื้อหาสาระวิชา
2.มีการจัดการชั้นเรียนที่
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม
ในการเรียนรู้
3.ออกแบบเนื้อหา บทเรียน
ที่ท้าทายและนาไปสู่
ความสาเร็จ
4.ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เกิด
การเรียนรู้ด้วยตัวเอง
5.กระตุ้นความสนใจ ใฝ่รู้
ของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง
สม่าเสมอ
รูปแบบการจัดการชั้นเรียน
เฉพาะวิชา
1.รูปแบบการจัดการ
ชั้นเรียนแบบ
พฤติกรรม
2.รูปแบบการจัดการชั้น
เรียนแบบจิตวิทยา
3.รูปแบบการจัดการ
ชั้นเรียนแบบกลุ่ม
การสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนที่ส่งเสริมการเรียนรู้
องค์ประกอบสาคัญที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้
การสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
ความสาคัญของการสร้างบรรยากาศที่ดีเพื่อ
การเรียนรู้
การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้อย่างมีความสุขการจัดการชั้นเรียนเพื่อส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้
องค์ประกอบสาคัญที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้
1.แรงขับ 2.สิ่งเร้า 3.การตอบสนอง 4.การเสริมแรง
การจัดสภาพแวดล้อมในชั้นเรียนให้เอื้ออานวยต่อการเรียนการสอน เพื่อช่วยส่งเสริมให้กระบวนการเรียนการสอนดาเนินไป
อย่างมีประสิทธิภาพ และช่วยสร้างความสนใจใฝ่รู้ ใฝ่ศึกษา ตลอดจนช่วยสร้างเสริมความมีระเบียบวินัยให้แก่ผู้เรียน
การสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
ความสาคัญของการสร้างบรรยากาศที่ดีเพื่อการเรียนรู้
1. ช่วยส่งเสริมให้การเรียน
การสอนดาเนินไปอย่าง
ราบรื่น
2. ช่วยสร้างเสริมลักษณะ
นิสัยที่ดีงามและความมี
ระเบียบวินัยให้แก่ผู้เรียน
3. ช่วยส่งเสริมสุขภาพที่ดี
ให้แก่ผู้เรียน
4. ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ และ
สร้างความสนใจในบทเรียน
มากยิ่งขึ้น
5. ช่วยส่งเสริมการเป็น
สมาชิกที่ดีของสังคม เช่น การ
ฝึกให้มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีต่อ
กัน การฝึกให้มีอัธยาศัยไมตรี
ในการอยู่ร่วมกัน ฯลฯ
6. ช่วยสร้างเจตคติที่ดีต่อการเรียน
และการมาโรงเรียน เพราะในชั้น
เรียนมีครูที่เข้าใจนักเรียน ให้ความ
เมตตาเอื้ออารีต่อนักเรียน และ
นักเรียนมีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน
การจัดการชั้นเรียนเพื่อส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้
(บรรยากาศในชั้นเรียนที่จะนาไปสู่ความสาเร็จในการสอน)
1. บรรยากาศที่ท้าทาย (Challenge) เป็นบรรยากาศที่
ครูกระตุ้นให้กาลังใจนักเรียน เพื่อให้ประสบผลสาเร็จ
ในการทางาน
2. บรรยากาศที่มีอิสระ (Freedom) เป็นบรรยากาศที่นักเรียนมี
โอกาสได้คิด ได้ตัดสินใจเลือกสิ่งที่มีความหมายและมีคุณค่า
รวมถึงโอกาสที่จะทาผิดด้วย โดยปราศจากความกลัวและวิตก
กังวล
4. บรรยากาศที่มีความอบอุ่น (Warmth) เป็นบรรยากาศ
ทางด้านจิตใจ ซึ่งมีผลต่อความสาเร็จในการเรียน การที่ครูมี
ความเข้าใจนักเรียน เป็นมิตร ยอมรับให้ความช่วยเหลือ จะทา
ให้นักเรียนเกิดความอบอุ่น สบายใจ รักครู รักโรงเรียน และ
รักการมาเรียน
3. บรรยากาศที่มีการยอมรับนับถือ
(Respect) เป็นบรรยากาศที่ครูรู้สึกว่า
นักเรียนเป็นบุคคลสาคัญ มีคุณค่า และ
สามารถเรียนได้อันส่งผลให้นักเรียนเกิด
ความเชื่อมั่นในตนเองและเกิดความยอมรับ
นับถือตนเอง 5. บรรยากาศแห่งการควบคุม (Control) การควบคุม
ในที่นี้ หมายถึง การฝึกให้นักเรียนมีระเบียบวินัย
มิใช่การควบคุม ไม่ให้มีอิสระ ครูต้องมีเทคนิคใน
การปกครองชั้นเรียนและฝึกให้นักเรียนรู้จักใช้สิทธิ
หน้าที่ของตนเองอย่างมีขอบเขต
6. บรรยากาศแห่งความสาเร็จ (Success)
เป็นบรรยากาศที่ผู้เรียนเกิดความรู้สึก
ประสบความสาเร็จในงานที่ทา ซึ่งส่งผล
ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีขึ้น
ด้วยหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานฉบับปัจจุบัน มุ่งหวังให้ผู้เรียนเป็นคนดี คนเก่ง มีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์ ทั้งด้านร่างกาย
และจิตใจ ทางานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขครูจึงเป็นบุคคลที่สาคัญอย่างยิ่งที่จะต้องสร้างบรรยากาศให้ผู้เรียนได้เกิดการ
เรียนรู้อย่างมีความสุข
บรรยากาศการเรียนรู้อย่างมีความสุข คือ การจัดสภาพการเรียนการสอนให้มีบรรยากาศที่ผ่อนคลาย นักเรียนรู้สึกเป็นอิสระ ได้
เรียนรู้โดยวิธีการต่างๆ อย่างหลากหลาย ครูยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคลและเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองอย่างเต็ม
ศักยภาพ ความสาคัญของการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้อย่างมีความสุข
การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้อย่างมีความสุข
ประเภทของการเรียนรู้อย่างมีความสุข ท่านพระธรรมปิฎก ได้จัดแบบของการเรียนรู้อย่างมีความสุขไว้ 2 แบบคือ
1. ความสุขที่อาศัยปัจจัยภายนอก
• เป็นความสุขที่เกิดจากสภาพแวดล้อมคือมี
กัลยาณมิตร เช่นครู อาจารย์เป็นผู้สร้าง
บรรยากาศแห่งความรัก ความเมตตา และช่วย
ให้สนุก ซึ่งต้องระวังเพราะถ้าควบคุมไม่ดี
ความสุขแบบนี้จะทาให้นักเรียนอ่อนแอลงยิ่ง
ถ้ากลายเป็นการเอาใจหรือตามใจ จะยิ่งอ่อนแอ
ลงไปทาให้เกิดลักษณะพึ่งพา
2. ความสุขที่เกิดจากปัจจัยภายใน
• เป็นความสุขที่เกิดจากภายในตัวผู้เรียนเอง ซึ่ง
เป็นอิสระ ไม่ต้องพึ่งผู้อื่น กล่าวคือ ผู้เรียนเกิด
นิสัยใฝ่รู้ ใฝ่เรียน ใฝ่สร้างสรรค์และมีความสุข
จากการสนองความใฝ่รู้ ความสุขแบบนี้ทาให้
คนเข้มแข็ง เขาจะมีความสุขเมื่อได้เรียนรู้ เมื่อ
ยิ่งทาก็ยิ่งมีความสุข และยิ่งมีความเข้มแข็ง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ได้แก่ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์กายภาพ ( Science Lab ) ห้องปฏิบัติการเคมี
( Chemistry Lab ) ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์ ( Physical Lab ) ห้องปฏิบัติการชีววิทยา ( Biological Lab )
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่เน้นการเชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการ มีทักษะ
สาคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้และการแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมี
ส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน มีการทากิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติจริงอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชั้น โดยได้กาหนด
สาระสาคัญไว้ดังนี้
การจัดชั้นเรียนและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้กับวิชาเอก
หลักการ องค์ประกอบและวิธีการจัดการชั้นเรียนตามวิชาเอก
สิ่งมีชีวิตกับการดารงชีวิต สิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต
และกระบวนการดารงชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การถ่ายทอดทางพันธุกรรม การทางานของระบบต่างๆ ของ
สิ่งมีชีวิต วิวัฒนาการและความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตและเทคโนโลยีชีวภาพ
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตที่หลากหลายรอบตัว ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ของ
สิ่งมีชีวิตต่างๆในระบบนิเวศ ความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติการใช้และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในระดับ
ท้องถิ่น ประเทศและโลก ปัจจัยที่มีผลต่อการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตในสภาพแวดล้อมต่างๆ
สารและสมบัติของสาร สมบัติของวัสดุและสารแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค การเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลายและ
การเกิดปฏิกิริยาเคมีของสาร สมการเคมีและการแยกสาร
แรงและการเคลื่อนที่ ธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง แรงนิวเคลียร์การออกแรงกระทาต่อวัตถุ การ
เคลื่อนที่ของวัตถุ แรงเสียดทาน โมเมนต์การเคลื่อนที่แบบต่างๆในชีวิตประจาวัน
พลังงาน พลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนแปลงรูปพลังงาน สมบัติและปรากฏการณ์ของแสง เสียงและ
วงจรไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กัมมันตภาพรังสีและปฏิกิริยานิวเคลียร์ ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสารและพลังงานการ
อนุรักษ์พลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม
กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก โครงสร้างและองค์ประกอบของโลก ทรัพยากรทางธรณี สมบัติทางกายภาพของดิน
หิน น้า อากาศ สมบัติของผิวโลกและบรรยากาศ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก ปรากฏการณ์ทางธรณี
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ
การจัดการชั้นเรียนกลุ่มสาระวิทยาสาสตร์ เน้นกระบวนการที่นักเรียนเป็นผู้คิดลงมือปฏิบัติศึกษาค้นคว้าอย่างมีระบบ
ด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย ทั้งทากิจกรรมภาคสนาม การสังเกต สารวจ ตรวจสอบ การทดลองในห้องปฏิบัติการ การสืบค้นข้อมูลจาก
แหล่งข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ การทาโครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น โดยคานึงถึงวุฒิ
ภาวะ ประสบการณ์เดิม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมต่างกันที่นักเรียนได้รับรู้มาแล้วก่อนเข้าสู่ห้องเรียน การเรียนรู้ของนักเรียนจะ
เกิดขึ้นระหว่างที่นักเรียนมีส่วนร่วมโดยตรงในการทากิจกรรมการเรียนเหล่านั้น จึงจะมีความสามารถในการสบเสาะหาความรู้มี
ดาราศาสตร์และอวกาศ วิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี เอกภาพ ปฏิสัมพันธ์และผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก
ความสัมพันธ์ของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์และโลก ความสาคัญของเทคโนโลยีอวกาศ
ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหาและจิตวิทยา
ศาสตร์
ความสามารถในการแก้ปัญหาด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์ ได้พัฒนากระบวนการคิดขั้นสูงและคาดหวังว่า กระบวนการเรียนรู้ดังกล่าวจะ
ทาให้นักเรียนได้รับการพัฒนาเจตคติทางวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม ในการใช้วิทยาสาสตร์ และเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์
มีเจตคติและค่านิยมที่เหมาะสมต่อวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทั้งสามารถสื่อสารและทางานกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ
ในการจัดการเรียนการสอนครูผู้สอนต้องศึกษาเป้าหมายและปรัชญาของการจัดการเรียนรู้ให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ทาความข้าใจเกี่ยวกับ
หลักการ ทฤษฎีและการเรียนรู้ต่าง ๆ ตลอดจนกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นกระบวนการและผู้เรียนมีความสาคัญมากที่สุด แล้ว
พิจารราเลือกนาไปใช้ออกแบบกิจกรรมที่หลากหลายให้เหมาะสมกับเนื้อหาสาระ เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของโรงเรียน แหล่ง
ความรู้ของท้องถิ่น และที่สาคัญคือศักยภาพของผู้เรียนด้วย ทั้งนี้ในการจัดการห้องเรียนรู้กลุ่มกระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มีทั้ง
ห้องปฏิบัติการ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา วิทยาศาสตร์กายภาพ
Planning
ใช้คาถามกระตุ้น
ความคิดในการ
กาหนด
จุดมุ่งหมาย
Diagnosis
of needs
ผู้เรียนสามารถ
กากับติดตามได้
อย่างกระจ่างชัด
และถูกต้งแม่นยา
Design
Learning
ผู้เรียนมีการ
กากับติดตาม
ตนเองเพื่อให้
ได้ความรู้
Assessment
Evaluation
DRU Model
Planning
ใช้คำถำม
กระตุ้นควำมคิด
ในกำรกำหนด
จุดมุ่งหมำย
Diagosis
of needs
ผู้เรียนสำมำรถ
กำกับติดตำมได้
อย่ำงกระจ่ำงชัด
และถูกต้อง
แม่นยำ
D : ( Diagnosis of needs ) การวินิจฉัยความต้องการของผู้เรียน
ใช้คำถำม
กระตุ้น
ควำมคิดในกำร
กำหนด
จุดมุ่งหมำย
Design
Learning
ผู้เรียนมีกำร
กำกับติดตำม
ตนเองเพื่อให้
ได้วำมรู้
R : ( Research into identifying effective learning environments ) ขั้นการวิจัย เพื่อกาหนดสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้
ผู้เรียนสำมำรถ
กำกับติดตำมได้
อย่ำงกระจ่ำงชัด
และถูกต้อง
แม่นยำ
ผูเรียนมีกำร
กำกับติดตำม
ตนเองเพื่อให้
ได้ควำมรู้
Assessment
Evaluation
U : ( Universal Design for Learning and Assessment ) การตรวจสอบทบทวนโดยใช้แนวคิด UDL เพื่อการประเมินการพัฒนาการเรียนรู้
การประยุกต์ใช้ UDL ในการจัดการเรียนรู้
Universal Design for Learning (UDL)
ระดับที่ 1 การนาเสนอ ระดับที่ 2 การสื่อสาร ระดับที่ 3 การีส่วนร่วม
- การใช้รูปแบบข้อมูลหลากหลาย
รูปแบบ เช่น ข้อมูลภาพ ข้อมูล
เสียง ข้อมูลที่สัมผัสได้
- การใช้ภาษาและสัญลักษณ์ที่หาก
หลาย
- การสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้
ทบทวนความรู้ ความเข้าใจจาก
การเรียน
- การใช้ร่างกาย
- การพูด
- การใช้การทางานของสมอง
ระดับสูง
- การพยายามชักจูงความสนใจ
โดยให้อิสระในการเลือก
- สนับสนุนให้ใช้ความพยายาม
ในการทางาน
- เสริมสร้างทักษะการกากับ
ตนเอง
การศึกษา 4.0
อ้างอิง
ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. (2559). ปฏิรูปการศึกษารับไทยแลนด์4.0 "ดาว์พงษ์"ผนึกหอการค้าปั้นอาชีวะป้อนแรงงาน. ค้นเมื่อ 2 พฤศจิกายน 2559.
จาก http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1471703930.
พงษ์พัชรินทร์ พุธวัฒนะ (2558). เอกสารประการการสอนรายวิชาการจัดการชั้นเรียนและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้. ค้นเมื่อ 2 พฤศจิกายน 2559.
จาก it.dru.ac.th/e-profiles/uploads/learns/learn322.pdf.
อาเภอภูสิงห์. (2559). ประเทศไทย 4.0 คืออะไร. ค้นเมื่อ 2 พฤศจิกายน 2559.
จาก http://www.phusing.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=850.

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (15)

Smart Products presentation (1)
Smart Products presentation (1)Smart Products presentation (1)
Smart Products presentation (1)
 
Chuplygin_Wantbook_MCF
Chuplygin_Wantbook_MCFChuplygin_Wantbook_MCF
Chuplygin_Wantbook_MCF
 
Riesgos fisicos en higiene y seguridad industrial
Riesgos fisicos en higiene y seguridad industrialRiesgos fisicos en higiene y seguridad industrial
Riesgos fisicos en higiene y seguridad industrial
 
abhishek c.v
abhishek c.vabhishek c.v
abhishek c.v
 
PAFR 2015_Web
PAFR 2015_WebPAFR 2015_Web
PAFR 2015_Web
 
PAFR 2014_Web
PAFR 2014_WebPAFR 2014_Web
PAFR 2014_Web
 
Population
 Population Population
Population
 
Tecnología celular 8
Tecnología celular 8Tecnología celular 8
Tecnología celular 8
 
AREIS_Guide
AREIS_GuideAREIS_Guide
AREIS_Guide
 
Short story
Short storyShort story
Short story
 
Bisnis properti di jogja
Bisnis properti di jogjaBisnis properti di jogja
Bisnis properti di jogja
 
Side effects of smoking
Side effects of smokingSide effects of smoking
Side effects of smoking
 
Maha Mahmoud Fawzy Resume
Maha Mahmoud Fawzy ResumeMaha Mahmoud Fawzy Resume
Maha Mahmoud Fawzy Resume
 
Research paper career selection
Research paper career selectionResearch paper career selection
Research paper career selection
 
Exposicion
ExposicionExposicion
Exposicion
 

Eeeeeeee