SlideShare a Scribd company logo
1 of 139
Download to read offline
1
108 1009
เอกสารเตรียมสอบ
ตาแหน่ง นักวิชาการพัฒนาชุมชน ปี 2557
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
2
สารบัญ
หน้า
1. ประวัติ/ยุทธศาสตร์ประเทศ/กระทรวง/กรม 3 - 11
2. การพัฒนาชุมชน/งานกรมการพัฒนาชุมชน 12 - 62
3. กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 63 – 74
4. กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 75 – 82
5. การดาเนินงานโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กขคจ.) 83 – 91
6. กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 92 - 95
7. สรุปเนื้อหาเตรียมสอบ 96 – 140
3
สรุปภาระกิจและงานกรมการพัฒนาชุมชน
ประวัติกรมการพัฒนาชุมชน
กรมการพัฒนาชุมชนเป็นหน่วยราชการระดับกรม ของ
กระทรวงมหาดไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่1ตุลาคม2505 ตามพระราชบัญญัติ
ปรับปรุงกระทรวงทบวงกรมฉบับที่10พ.ศ.2505โดยโอนกิจการ บริหารของส่วน
พัฒนาการ ท้องถิ่นกรมมหาดไทยเดิมเป็นกิจการ บริหารของกรมการพัฒนา
ชุมชน ในขณะที่กิจการบริหารของกรมมหาดไทย ได้โอนเป็นกรมการปกครอง
ในปัจจุบันตามพระราชบัญญัติโอนกิจการบริหาร ของ
กระทรวงมหาดไทย ซึ่งปรับปรุงใหม่พ.ศ.2505 และเนื่องจากกรมการพัฒนา
ชุมชนและกรมการปกครอง มีรากฐานมาจากกรมมหาดไทย เหมือนกันมีความ
สัมพันธ์กันในทางจิตใจ ในทางการงานที่ต้องปฏิบัติให้บรรลุผลตามนโยบายของ
กระทรวงร่วมกัน กระทรวงมหาดไทยจึงมี หนังสือด่วนมากที่1890/2505 ลง
วันที่12พฤศจิกายน2505สั่งการไปยังผู้ว่าราชการจังหวัด ทุกจังหวัดให้รับทราบ
คาสั่งที่1358/2505 เรื่องระเบียบว่า ด้วยความสัมพันธ์และปฏิบัติงานร่วมกัน
ของกรมการปก ครองและกรมการพัฒนาชุมชน
สรุปได้ว่า "การพัฒนาชุมชนเป็นนโยบายสาคัญของรัฐบาล ในยุคนั้นที่
จะปรับปรุงความเป็นอยู่และมาตรฐาน การครองชีพของประชาชน ในชนบทให้
ดียิ่งขึ้นในระดับอาเภอ มีนายอาเภอเป็นผู้ประสานงานระหว่าง เจ้าหน้าที่
วิชาการของกระทรวง ทบวงกรมต่างๆ กับพัฒนากร ให้ปฏิบัติงานร่วมกันตาม
หลักการ ระเบียบและวิธีการ ในระดับจังหวัด ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็น
ผู้รับผิดชอบ ในการบริหารงานพัฒนาชุมชน โดยอาศัยการประสานงาน อย่าง
ใกล้ชิด ระหว่างส่วนราชการ ต่าง ๆ ของจังหวัด กระทรวงมหาดไทยมีนโยบาย
ให้ข้าราชการของทั้งสองกรม นี้ได้มีโอกาสศึกษา ประชุม สัมมนาและร่วมกัน
ปฏิบัติงาน พัฒนาชุมชน ให้มากที่สุดเท่าที่จะทาได้ และมีหลักการสับเปลี่ยน
โอน หรือยืมตัวหมุนเวียนกันไปปฏิบัติงานได้ตามความจา เป็น และเหมาะสม
ในการสอบคัดเลือกเพื่อเลื่อนขั้นของข้าราชการของกรมการปกครอง กรมการ
พัฒนาชุมชน สานักงานเลขานุการรัฐมนตรี และสานักงานปลัดกระทรวง
มหาดไทย สามารถสอบร่วมกันได้ "
4
ความหมายของโลโก้กรมการพัฒนาชุมชน :
วงกลมภายในเป็นรูปโครงสร้างของบ้านชนบท มีตัวอักษร พช. อยู่ใต้รูปบ้าน
มีลายกนก แบบเครื่องหมาย ๖ และ ๙ บนตัวอักษร พ. และอักษร ช.
ขอบวงกลมล้อมรอบวงกลมภายในมี 4 สี 4 ช่วง
หมายถึงหลักการท างาน 4 ป.
หมายถึง ประชาชน
หมายถึง ประชาธิปไตย
หมายถึง ประสานงาน
หมายถึง ประหยัด
5
โครงสร้างกรมการพัฒนาชุมชน
การแบ่งส่วนราชการ กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2552ให้
แบ่งส่วนราชการกรมการพัฒนาชุมชน ดังต่อไปนี้
ก. ราชการบริหารส่วนกลาง
(1) สานักงานเลขานุการกรม
(2) กองการเจ้าหน้าที่
(3) กองคลัง
(4) กองแผนงาน
(5) ศูนย์สารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน
(6) สถาบันการพัฒนาชุมชน
(7) สานักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน
(8) สานักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน
(9) สานักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน
ข. ราชการบริหารส่วนภูมิภาค
(1) สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด 76 จังหวัด
(2) สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ 878 อาเภอ
หลักการทางานกับประชาชน
1. พิจารณาภาวการณ์ที่เป็นอยู่ในชุมชนเป็นหลักเริ่มงาน
2. ให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมและรู้เห็นตั้งแต่เริ่มต้น
3. โครงการและกิจกรรมพัฒนาชุมชนต้องค่อยเป็นค่อยไป ไม่เร่งรีบ รวบรัด
4. แสวงหาความต้องการที่แท้จริงของประชาชนให้พบ
5. ใช้วิธีดาเนินงานแบบประชาธิปไตย
6. การวางโครงการต้องยืดหยุ่นอ่อนตัวได้ตามสถานการณ์
7. ทาความเข้าใจในวัฒนธรรมของชุมชน
8. แสวงหาผู้นาท้องถิ่นและผู้นาชุมชนเป็นมิตรคู่งาน
9. ใช้องค์กรที่มีอยู่ในท้องถิ่นให้เป็นประโยชน์
6
10. อาศัยนักวิชาการหรือผู้ชานาญเฉพาะสาขา
11. ทางานกับสมาชิกทุกคนในสถาบันครอบครัว
12. โครงการต้องมีลักษณะกว้าง เพื่อสนองความต้องการของประชาชนได้ ครอบคลุมปัญหาด้านต่าง ด้วย
13. ทาการประเมินงานเป็นระยะๆ
14. ทางานกับคนทุกชั้นของสังคม
15. สอดคล้องเป็นแนวทางเดียวกับกรอบนโยบายของชาติ
16. อาศัยหลักการเข้าถึงชุมชน
17. ใช้ทรัพยากรท้องถิ่นให้เป็นประโยชน์
ยุทธศาสตร์ประเทศ พ.ศ. 2556 – 2561
.
7
3.1 วิสัยทัศน์ประเทศไทย
ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขัน คนไทยอยู่ดีกินดี มีความเสมอภาคและเป็นธรรม
3.2 หลักการของยุทธศาสตร์
ต่อยอดรายได้จากฐานเดิม สร้างรายได้จากโอกาสใหม่ เพื่อความสมดุล และการพัฒนาอย่างยั่งยืน
3.3 วัตถุประสงค์
3.3.1 รักษาฐานรายได้เดิม และสร้างรายได้ใหม่
3.3.2 เพิ่มประสิทธิภาพของระบบการผลิต (ต้องผลิตสินค้าได้เร็วกว่าปัจจุบัน)
3.3.3 ลดต้นทุนให้กับธุรกิจ (ด้วยการลดต้นทุนค่าขนส่งและโลจิสติกส์)
ภารกิจสาคัญของกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2555 - 2558
ภารกิจสาคัญของกระทรวงมหาดไทยมี ๑๒ ข้อ ดังนี้
1) สร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติในระดับพื้นที่ มีเป้า ประสงค์เชิงนโยบาย ดังนี้
1.๑) สังคมไทยมีความสมานฉันท์ประชาชนในชาติมีความรักสมัครสมานสามัคคีเป็น
อันหนึ่งอันเดียวกัน
๑.๒) ประชาชนมีความเชื่อมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมุข
2) ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโดยพลังแผ่นดิน มีเป้าประสงค์เชิงนโยบาย คือ ปัญหา
ยาเสพติดลดลงและไม่ส่งผลกระทบต่อความสงบสุขของสังคม
3) การบูรณาการแก้ไขปัญหาภัยธรรมชาติและการเร่งรัดช่วยเหลือ ฟื้นฟูผู้ประสบภัย
มีเป้าประสงค์เชิงนโยบาย คือ มีภูมิคุ้มกันและพร้อมรองรับผลกระทบจาก สาธารณภัย
4) สนับสนุนการนาสันติสุขและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนกลับมาสู่
พื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ มีเป้าประสงค์เชิงนโยบาย ดังนี้
๔.๑) ประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
ยาเสพติด และภาครัฐสามารถป้องกันและขจัดปัจจัยสนับสนุนการก่อความไม่สงบในพื้นที่ได้
๔.2) ประชาชนได้รับการพัฒนาศักยภาพให้สามารถพึ่งตนเอง มีรายได้พอเพียงต่อการ
ดารงชีวิต และมีการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
๔.3) ภาคประชาชนและภาคประชาสังคมมีส่วนร่วมภาครัฐในกระบวนการแก้ไขและ
พัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้อย่างเป็นรูปธรรม
4.๔) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการนโยบายและการปฏิบัติตามนโยบายมีการบูรณา
การและประสานสอดคล้องกันในทุกระดับ
5) ดาเนินการจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุอย่างมีประสิทธิภาพ มีเป้าประสงค์เชิงนโยบาย คือ สร้าง
หลักประกันรายได้ เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงสาหรับผู้สูงอายุที่สอดคล้องกับกลุ่มอายุอย่างทั่วถึง
8
6) ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุน และสนับสนุนการดาเนินโครงการพัฒนา
ศักยภาพของหมู่บ้านและชุมชน (SML) ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ มีเป้าประสงค์เชิงนโยบาย
คือ ๖.๑) ประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งทุนในชุมชนเพื่อพัฒนาอาชีพ
๖.2) หมู่บ้าน/ชุมชนบริหารจัดการงบประมาณเพื่อพัฒนาชุมชนด้วยตนเอง
7) ยกระดับสินค้าหนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) และเพิ่มช่องทางการตลาดเชิงรุก
ภายในประเทศและประเทศเพื่อนบ้าน มีเป้าประสงค์เชิงนโยบาย คือ ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานสินค้า
หนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP)
8) เพิ่มขีดความสามารถและบทบาทฝ่ายปกครองในการรักษา ความสงบเรียบร้อย ความ
มั่นคงภายใน และการอานวยความเป็นธรรมในสังคม มีเป้าประสงค์เชิงนโยบาย คือ หมู่บ้าน/ชุมชนเข้มแข็ง
สังคมมีความสงบสุข
9) เร่งออกเอกสารสิทธิที่ดินให้ครอบคลุมทั่วประเทศและสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อม
ล้าในการใช้ประโยชน์ที่ดินของรัฐ มีเป้าประสงค์เชิงนโยบาย ดังนี้
๙.1) พัฒนาระบบการบริหารจัดการข้อมูลที่ดินและแผนที่รูปแปลงที่ดินในระบบภูมิ
สารสนเทศ (GIS)
๙.2) สามารถดาเนินการเพื่อให้เกิดการกระจายการถือครองที่ดินที่เป็นธรรมและยั่งยืน
และมีการใช้ประโยชน์ที่ดินของรัฐอย่างเหมาะสม
10) เสริมสร้างระบบคุณธรรมและนาบริการที่ดีสู่ประชาชน ด้วยการปรับปรุงระบบบริการ
ประชาชนให้เป็นเชิงรุกมากขึ้น โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มีเป้าประสงค์เชิงนโยบาย คือ ระบบการบริหาร
ภาครัฐมีประสิทธิภาพ มีคุณภาพ และมี ธรรมาภิบาล ได้รับความเชื่อมั่นศรัทธาจากประชาชน
11) สนับสนุนการดาเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีระบบที่มีประสิทธิภาพ
โปร่งใส มีเป้าประสงค์เชิงนโยบาย คือ ระบบการบริหารภาครัฐมีประสิทธิภาพ มีคุณภาพ และมีธรรมาภิบาล
ได้รับความเชื่อมั่นศรัทธาจากประชาชน
12) ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารราชการแผ่นดินในทุกระดับ มีเป้าประสงค์
เชิงนโยบาย คือ ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารราชการแผ่นดินเพิ่มขึ้น
แผนยุทธศาสตร์กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๑
วิสัยทัศน์ เป็นกระทรวงหลักในการบริหารจัดการและบูรณาการทุกภาคส่วนเพื่อบาบัดทุกข์ บารุง
สุขประชาชน
พันธกิจ
1) กากับดูแล จัดระบบการบริหารการปกครองส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่และการ
ปกครองส่วนท้องถิ่น และส่งเสริม พัฒนาการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมุข
9
2) รักษาความสงบเรียบร้อย ความมั่นคงภายใน และเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีกับ
ต่างประเทศ
3) อานวยความเป็นธรรมและแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนในระดับพื้นที่
4) ส่งเสริมการพัฒนาเมือง โครงสร้างกายภาพ การใช้ประโยชน์ที่ดินทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม
5) เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน และสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ
พัฒนาและแก้ไขปัญหาตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
6) ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเชิงบูรณาการ
7) ให้บริการประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพและจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการบริหารและ
พัฒนาประเทศ
ประเด็นยุทธศาสตร์กระทรวงมหาดไทย
1) การเสริมสร้างเศรษฐกิจฐานรากชุมชนที่เข้มแข็ง
2) การพัฒนาเมือง โครงสร้างพื้นฐาน และการบริหารจัดการที่ดินเพื่อเชื่อมโอกาสสู่
ประชาคมอาเซียน
3) การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเครือข่ายอย่างยั่งยืน
ภายใต้วิถีชีวิตแบบประชาธิปไตยและปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
4) การสร้างเสริมความสงบเรียบร้อย ความมั่นคงภายใน การอานวยความเป็นธรรมและการ
พัฒนากฎหมาย/บังคับใช้กฎหมายอย่างยุติธรรมในสังคม
5) การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและพิบัติภัย (ภัยพิบัติ) โดยสร้างความพร้อม
รับการเปลี่ยนแปลงอย่างยั่งยืน
6) การพัฒนาขีดความสามารถขององค์กรในการบริหารจัดการ แบบบูรณาการโดยมี
ประชาชนเป็นศูนย์กลาง
ภารกิจและอานาจหน้าที่ของกรมการพัฒนาชุมชน
กรมการพัฒนาชุมชน มีภารกิจเกี่ยวกับการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วมของ
ประชาชน ส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนฐานรากให้มีความมั่นคงและมีเสถียรภาพ โดยสนับสนุนให้มีการ
จัดทาและใช้ประโยชน์จากข้อมูลสารสนเทศ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย จัดทายุทธศาสตร์ชุมชน ตลอดจนการ
ฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ในการพัฒนาชุมชน เพื่อให้ชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืน โดยมีอานาจ
หน้าที่ดังต่อไปนี้
๑) กาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ และแนวทางในการพัฒนาชุมชนระดับชาติเพื่อให้
หน่วยงานของรัฐ เอกชน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องด้านการพัฒนาชุมชน ได้ใช้เป็นกรอบแนวทางในการดาเนินงาน
เพื่อเสริมสร้างความสามารถและความเข้มแข็งของชุมชน
10
2) จัดทาและพัฒนาระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน เพื่อใช้เป็นเครื่องมือสาหรับประเมิน
ความก้าวหน้าและมาตรฐานการพัฒนาของชุมชน
๓) พัฒนาระบบและกลไกในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ การจัดการความรู้ การอาชีพ
การออม และการบริหารจัดการเงินทุนของชุมชน เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถของประชาชนชุมชน ผู้นา
ชุมชน องค์การชุมชน และเครือข่ายองค์การชุมชน
๔) สนับสนุนและพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศชุมชน ส่งเสริมการใช้ประโยชน์และการ
ให้บริการข้อมูลสารสนเทศชุมชน เพื่อใช้ในการวางแผนบริหารการพัฒนาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๕) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย พัฒนา และสร้างองค์ความรู้เพื่อใช้ในงานพัฒนาชุมชน และการ
จัดทายุทธศาสตร์ชุมชน
๖) ฝึกอบรมและพัฒนาข้าราชการ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ผู้นาชุมชน องค์การชุมชน และ
เครือข่ายองค์การชุมชนให้มีความรู้ ทักษะ ทัศนคติ และสมรรถนะในการทางาน รวมทั้งให้ความร่วมมือทาง
วิชาการด้านการพัฒนาชุมชนแก่หน่วยงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ
๗) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าที่ของกรม หรือตามที่กระทรวง
หรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย
1. วิสัยทัศน์กรมการพัฒนาชุมชน
กรมการพัฒนาชุมชน เป็นหน่วยงานที่ขับเคลื่อนกิจกรรมสู่ประชาชน การขับเคลื่อนภารกิจในช่วง
พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙ มีวิสัยทัศน์ คือ ชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจ ฐานรากมั่นคง
2. พันธกิจกรมการพัฒนาชุมชน
2.1 พัฒนาระบบและกลไกส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ของชุมชน
2.2 ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการบริหารจัดการชุมชน
2.3 ส่งเสริมการพัฒนาระบบกลไกและกิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนตามปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
2.4 พัฒนาสมรรถนะองค์กรในการทางานเชิงบูรณาการ
3 ยุทธศาสตร์ของกรมการพัฒนาชุมชน
๑ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างสรรค์ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข
เป้าประสงค์ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตดีมีความสุข
.๒ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน
11
เป้าประสงค์ ชุมชนมีขีดความสามารถในการบริหารจัดการแบบบูรณาการ
๓ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์
เป้าประสงค์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นยกระดับไปสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์
4 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 เสริมสร้างธรรมาภิบาลและความมั่นคงของทุนชุมชน
เป้าประสงค์ ชุมชนมีธรรมาภิบาลและความมั่นคง
5 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 เสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง
เป้าประสงค์ องค์กรมีสมรรถนะสูงเกิดประโยชน์สุขต่อประชาชน
4. ค่านิยมองค์การ
A : Appreciation ชื่นชม
B : Bravery กล้าหาญ
C : Creativity สร้างสรรค์
D : Discovery ใฝ่รู้
E : Empathy เข้าใจ
F : Facilitation เอื้ออานวย
S : Simplify ทาให้ง่าย
P : Practical ปฏิบัติได้จริง
12
การพัฒนาชุมชน
กรมการพัฒนาชุมชน เป็นหน่วยงานที่ทางานด้านการพัฒนาชุมชนร่วมกับประชาชน ตลอดระยะเวลา
51 ปี โดยมีความมุ่งมั่นที่จะเป็นหน่วยงานหลักในการส่งเสริมการบริหารจัดการชุมชนให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืน
และมีเป้าหมายสู่ชุมชนเข้มแข็ง ประชาชนพึ่งตนเองได้ คอบครัวมีคุณภาพชีวิตดี มีความสุข
บทบาทหน้าที่ของกรมการพัฒนาชุมชน
ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมการพัฒนาชุมชนกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2552 ให้กรมการ
พัฒนาชุมชน มีภารกิจเกี่ยวกับการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ แลการมีส่วนร่วมของประชาชน ส่งเสริมและ
พัฒนาเศรษฐกิจชุมชนฐานรากให้มีความมั่นคงและมีเสถียรภาพโดยสนับสนุนให้มีการจัดทาและใช้ประโยชน์
จากข้อมูลสารสนเทศ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย จัดทายุทธศาสตร์ชุมชนตลอดจนการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากร
ที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาชุมชน เพื่อให้เป็นชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืนโดยมีอานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
1. กาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ และแนวทางในการพัฒนาชุมชนระดับชาติเพื่อให้
หน่วยงานของรัฐ เอกชน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องด้านการพัฒนาชุมชน ได้ใช้เป็นกรอบแนวทางในการดาเนินงาน
เพื่อเสริมสร้างความสามารถและความเข้มแข็งของชุมชน
2. จัดทาและพัฒนาระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน เพื่อใช้เป็นเครื่องมือสาหรับประเมิน
ความก้าวหน้าและมาตรฐานการพัฒนาของชุมชน
3. พัฒนาระบบและกลไกในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ การจัดการความรู้ การอาชีพ การออม
และการบริหารจัดการเงินทุนของชุมชน เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถของประชาชน ชุมชน ผู้นาชุมชน
องค์การชุมชน และเครือข่ายองค์การชุมชน
4. สนับสนุนและพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศชุมชน ส่งเสริมการใช้ประโยชน์และการให้บริการ
ข้อมูลสารสนเทศชุมชน เพื่อใช้ในการวางแผนบริหารการพัฒนาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย พัฒนา และสร้างองค์ความรู้เพื่อใช้ในงานพัฒนาชุมชน และการจัดทา
ยุทธศาสตร์ชุมชน
6. ฝึกอบรมและพัฒนาข้าราชการ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ผู้นาชุมชน องค์การชุมชน และเครือข่าย
องค์การชุมชนให้มีความรู้ ทักษะ ทัศนคติ และสมรรถนะในการทางาน รวมทั้งให้ความร่วมมือทางวิชาการ
ด้านการพัฒนาชุมชนแก่หน่วยงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ
7. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าที่ของกรม หรือตามที่กระทรวง
หรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย
1.การพัฒนาชุมชนโดยให้ประชาชนมีส่วนร่วม
1.1 แนวคิดการพัฒนาชุมชน
13
1.1.1 ความหมายการพัฒนาชุมชน การพัฒนาชุมชน ประกอบด้วย 2 คา คือ การพัฒนา และชุมชน
การพัฒนา หมายถึง ทาให้เจริญ การเปลี่ยนแปลง เปลี่ยนสภาพ ปรับปรุงให้ต่างจากเดิม
ชุมชน หมายถึง การรวมตัวของบุคคล กลุ่ม/องค์กรชุมชน เครือข่ายองค์กรชุมชน และ
ประชาชนที่อาศัยอยู่ในขอบเขตพื้นที่หนึ่ง ๆ ซึ่งมีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ระดับพื้นฐานที่สุด คือหมู่บ้าน หรือ
ชุมชนในรูปแบบอื่น ๆ ที่มีมารวมตัวกันเพื่อแก้ไขปัญหาเดียวกัน เช่น ชุมชนลุ่มน้า ชุมชนวัฒนธรรม เป็นต้น
การพัฒนาชุมชน (Community Development) ตามหลักการพื้นฐานเป็นกระบวนกให้
การศึกษา (educational process) แก่ประชาชนเพื่อให้สามารถพึ่งตนเองได้ (self – reliance) หรือช่วย
ตนเองได้ (self – help) ในการคิด ตัดสินใจ และดาเนินการแก้ปัญหา ตลอดจนตอบสนองความต้องการของ
ตนเอง และส่วนรวม
1.1.2 ปรัชญาการพัฒนาชุมชน
ปรัชญาพื้นฐานเบื้องต้นของนักพัฒนาชุมชน คือ ความเชื่อมั่นและศรัทธาในมนุษยชาติว่า
มนุษย์ทุกชีวิต มีคุณค่า มีความหมาย มีศักดิ์ศรี มีศักยภาพ และ สามารถพัฒนาได้ถ้ามีโอกาส
1.1.3 หลักการพัฒนาชุมชน คือ หลักประชาชน กล่าวคือ
1. เริ่มต้นที่ประชาชน ยืนจุดเดียวกับประชาชน มองโลก มองชีวิต มองปัญหา จากทัศนะของ
ประชาชน เพื่อให้เข้าใจปัญหา ความต้องการของประชาชน เพื่อให้เข้าถึงชีวิต จิตใจ ของประชาชน
2. ทางานร่วมกับประชาชน (ไม่ใช่ทางานให้แก่ประชาชน เพราะจะทาให้เกิดความคิดมาทวง
บุญทวงคุณจากประชาชนในภายหลัง) การที่จะทาให้ประชาชนเข้าใจปัญหาของตนเอง และมีกาลังใจลุกขึ้น
ต่อสู้กับปัญหา ช่วยกันคิด ช่วยกันแก้ไขปัญหา นั้น ย่อมมีหนทางที่จะกระทาได้โดยไม่ยากหากเข้าใจปัญหา
และเข้าถึงจิตใจประชาชน
3. ยึดประชาชนเป็นพระเอก ประชาชนต้องเป็นผู้กระทาการพัฒนาด้วยตนเอง ไม่ใช่ เป็น
ผู้ถูกกระทา หรือฝ่ายรองรับข้างเดียว เพราะผลของการกระทาการพัฒนานั้น ตกอยู่ที่ประชาชนโดยตรง
ประชาชน เป็นผู้รับโชค หรือ เคราะห์จากการพัฒนา นั้น
1.1.4 วิธีการพัฒนาชุมชน เป็นวิธีการพื้นฐานของการพัฒนาชุมชน คือ
1. การรวมกลุ่ม หรือ จัดตั้งองค์กรประชาชน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชน ซึ่งเป็น
สมาชิก มีบทบาท และ มีส่วนร่วม ในกิจกรรมของกลุ่ม/องค์กร ซึ่งจะส่งผลกระทบไปถึงส่วนรวมด้วย
2. การส่งเสริม/สร้างสรรค์ผู้นาและอาสาสมัคร เพื่อเปิดโอกาสและสนับสนุนให้ประชาชน มี
ความพร้อมจะ เป็นผู้นา และ เป็นผู้เสียสละ ได้อุทิศตน ได้แสดงบทบาท มีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนา
ชุมชน โดยส่วนรวม
1.1.5 กระบวนการพัฒนาชุมชน การปฏิบัติงานพัฒนาชุมชนเป็นงานที่ต้องทาอย่างต่อเนื่องเป็น
กระบวนการ และต้องอาศัยหลักการมีส่วนร่วมในการพัฒนาซึ่งเป็นหัวใจสาคัญของการพัฒนาในทุกระดับเป็น
การเปิดโอกาสให้ประชาชนร่วมคิด วิเคราะห์ ตัดสินใจ การวางแผน การปฏิบัติตามแผน การติดตาม
ประเมินผลในกิจกรรม/โครงการของชุมชน เป็นการสร้าง/ปลูกฝังจิตสานึกในความเป็นเจ้าของกิจกรรม/
14
โครงการ นั้น โดยกระบวนการพัฒนาชุมชนที่ประชาชนมีส่วนร่วมทุกขั้นตอนมีดังนี้
1. การศึกษาชุมชน เป็นการเสาะแสวงหาข้อมูลต่าง ๆ ในชุมชน เช่น ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ สังคม
การเมือง การปกครอง และสภาพความเป็นอยู่ของคนในชุมชน เพื่อทราบปัญหาและความต้องการของชุมชนที่
แท้จริง วิธีการในการศึกษาชุมชนอาจต้องใช้หลายวิธีประกอบกันทั้งการสัมภาษณ์ การสังเกต การสารวจ และ
การศึกษาข้อมูลจากเอกสารต่าง ๆ ที่มีอยู่ในชุมชนด้วย เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ตรงกับความเป็นจริงมากที่สุด กลวิธีที่
สาคัญที่นักพัฒนาต้องใช้ในขั้นตอนนี้ คือ การสร้างความสัมพันธ์กับคนในชุมชน เพราะถ้าหากปราศจาก
สัมพันธภาพที่ดีระหว่างพัฒนากรกับชาวบ้าน แล้วเป็นการยากที่จะได้รู้ และเข้าใจปัญหาความต้องการจริง ๆ
ของชาวบ้าน ความสัมพันธ์อันดี จนถึงขั้นความสนิทสนม รักใคร่ ศรัทธา จึงเป็นสิ่งที่จาเป็นที่จะต้องปลูกฝังให้
เกิดขึ้นกับคนในชุมชน
2. การให้การศึกษาแก่ชุมชน เป็นการสนทนา วิเคราะห์ปัญหาร่วมกับประชาชนเป็นการนา
ข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้จากขั้นตอนการศึกษาชุมชน มาวิเคราะห์ถึงปัญหาความต้องการและสภาพที่เป็นจริง
ผลกระทบ ความรุนแรง และความเสียหายต่อชุมชน กลวิธีที่สาคัญในขั้นตอนนี้ คือ การกระตุ้นให้ประชาชนได้
รู้เข้าใจ และตระหนักในปัญหาของชุมชน ซึ่งในปัจจุบันก็คือ การจัดเวทีประชาคม เพื่อค้นหาปัญหาร่วมกันของชุมชน
3.การวางแผน / โครงการ เป็นขั้นตอนให้ประชาชนร่วมตัดสินใจ และกาหนดโครงการ เป็นการ
นาเอา
ปัญหาที่ประชาชนตระหนัก และยอมรับว่าเป็นปัญหาของชุมชนมาร่วมกันหาสาเหตุ แนวทางแก้ไข และจัดลาดับ
ความสาคัญของปัญหา และให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจที่จะแก้ไขภายใต้ขีดความสามารถของประชาชน และการ
แสวงหาความช่วยเหลือจากภายนอก กลวิธีที่สาคัญในขั้นตอนนี้ คือ การให้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการแก้ไข
ปัญหา วิธีการวางแผน การเขียนโครงการ โดยใช้เทคนิคการวางแผนแบบให้ประชาชนมีส่วนร่วม
4.การดาเนินงานตามแผนและโครงการ โดยมีผู้รับผิดชอบในการดาเนินการตามแผนและ
โครงการที่ได้ตกลงกันไว้ กลวิธีที่สาคัญในขั้นตอนนี้ คือ การเป็นผู้ช่วยเหลือสนับสนุนใน 2 ลักษณะ คือ
4.1เป็นผู้ปฏิบัติงานทางวิชาการ เช่น แนะนาการปฏิบัติงาน ให้คาปรึกษาหารือในการ
แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน
4.2 เป็นผู้ส่งเสริมให้ชาวบ้านเข้ามามีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน
5. การติดตามประเมินผล เป็นการติดตามความก้าวหน้าของงานที่ดาเนินการตามโครงการ
เพื่อการปรับปรุงแก้ไขปัญหา อุปสรรคที่พบได้อย่างทันท่วงที กลวิธีที่สาคัญในขั้นตอนนี้ คือ การติดตามดูแล
การทางานที่ประชาชนทา เพื่อทราบผลความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรค แล้วนาผลการปฏิบัติงานตาม
โครงการ หรือกิจกรรมไปเผยแพร่เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องได้ทราบ
1.2 การพัฒนาแบบมีส่วนร่วม
กระบวนการมีส่วนร่วม นับเป็นหัวใจสาคัญของการพัฒนาในทุกระดับเป็นการเปิดโอกาสให้
ประชาชนร่วมคิด วิเคราะห์ ตัดสินใจ การวางแผน การปฏิบัติตามแผน การติดตามประเมินผลในกิจกรรม/
15
โครงการของชุมชน เป็นการสร้าง/ปลูกฝังจิตสานึกในความเป็นเจ้าของกิจกรรม/โครงการ นั้น
ปัจจุบัน แนวคิดการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานพัฒนา (People Paticipation for
Development) ได้รับการยอมรับและใช้เป็นแนวทางปฏิบัติในงานพัฒนาทุกภาคส่วนหรือในลักษณะเบญจ
ภาคี ได้แก่ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน นักวิชาการ และประชาชน รวมพลังกันแก้ไข
ปัญหาที่เกิดขึ้น
ขั้นตอนการมีส่วนร่วม มี 5 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 การมีส่วนร่วมในขั้นการริเริ่มการพัฒนา เป็นขั้นตอนที่ประชาชนเข้ามามีส่วน
ร่วมในการค้นหาปัญหา/สาเหตุของปัญหาภายในชุมชน ตลอดจนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจกาหนดความ
ต้องการของชุมชน และจัดลาดับความสาคัญของความต้องการของชุมชน
ขั้นตอนที่ 2 การมีส่วนร่วมในขั้นการวางแผนในการพัฒนาซึ่งเป็นขั้นตอนของการกาหนด
นโยบาย วัตถุประสงค์ของโครงการ วิธีการตลอดจนแนวทางการดาเนินงานและทรัพยากรที่จะใช้
ขั้นตอนที่ 3 การมีส่วนร่วมในขั้นตอนการดาเนินการพัฒนา เป็นส่วนที่ประชาชนมีส่วนร่วม
ในการสร้างประโยชน์ให้กับชุมชน โดยได้รับการสนับสนุนด้านงบประมาณ เทคโนโลยี ฯลฯ จากองค์กรภาคีพัฒนา
ขั้นตอนที่ 4 การมีส่วนร่วมในขั้นตอนรับผลประโยชน์จากการพัฒนา ซึ่งเป็นทั้งการได้รับ
ผลประโยชน์ทางด้านวัตถุและทางด้านจิตใจ
ขั้นตอนที่ 5 การมีส่วนร่วมในขั้นประเมินผลการพัฒนา เป็นการประเมินว่า การที่ประชาชนเข้าร่วม
พัฒนา ได้ดาเนินการสาเร็จตามวัตถุประสงค์เพียงใด การประเมินอาจประเมินแบบย่อย(Formative
Evaluation) เป็นการประเมินผลความก้าวหน้าเป็นระยะๆ หรืออาจประเมินผลรวม (Summative
Evaluation) ซึ่งเป็นการประเมินผลสรุปรวมยอด
1.2.1 ปัจจัยส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน
การที่จะให้ประชาชนมีส่วนร่วม นอกจากการปลูกฝังจิตสานึกแล้วจะต้องมีการส่งเสริมและกระตุ้นให้เกิดการมี
ส่วนร่วมอย่างกว้างขวางซึ่งควรพิจารณาถึงปัจจัยต่างๆ ดังนี้
1. ปัจจัยเกี่ยวกับกลไกของภาครัฐ ทั้งในระดับนโยบายมาตรการ และการปฏิบัติที่
เอื้ออานวย รวมทั้งการสร้างช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชน จาเป็นที่จะต้องทาให้การพัฒนาเป็นระบบ
เปิดมีความเป็นประชาธิปไตย มีความโปร่งใส รับฟังความคิดเห็นของประชาชน และมีการตรวจสอบได้
2. ปัจจัยด้านประชาชน ที่มีสานึกต่อปัญหาและประโยชน์ร่วมมีสานึกต่อความสามารถและ
ภูมิปัญญาในการจัดการปัญหาซึ่งเกิดจากประสบการณ์และการเรียนรู้ ซึ่งรวมถึงการสร้างพลังเชื่อมโยงในรูป
กลุ่มองค์กร เครือข่ายและประชาสังคม
3.ปัจจัยด้านนักพัฒนาและองค์กรพัฒนา ซึ่งเป็นผู้ที่มีบทบาทในการส่งเสริมกระตุ้น สร้าง
จิตสานึก เอื้ออานวยกระบวนการพัฒนาสนับสนุนข้อมูลข่าวสารและทรัพยากรและร่วมเรียนรู้กับสมาชิกชุมชน
1.2.2 ปัญหาอุปสรรคที่มีต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน
1. อุปสรรคด้านการเมือง เกิดจากการไม่ได้กระจายอานาจหน้าที่ความรับผิดชอบให้แก่
16
ประชาชน โครงสร้างอานาจทางการเมือง การปกครอง การบริหาร เศรษฐกิจ ถูกควบคุมโดยคนกลุ่มน้อย
ทหาร นายทุน และข้าราชการ ขาดกลไกที่มีประสิทธิภาพในการแจกแจงทรัพยากร
2. อุปสรรคด้านเศรษฐกิจ เกิดจากการขาดความสามารถในการพี่งตนเอง อานาจการต่อรองมี
น้อย กระบวนการผลิต ปัจจัยการผลิตอยู่ภายใต้ระบบอุปถัมภ์ ความแตกต่างในสังคม ด้านรายได้ อานาจ และ
ฐานะทางเศรษฐกิจ
3. อุปสรรคด้านวัฒนธรรม ขนบประเพณีในแต่ละพื้นที่ที่ทาให้ประชาชนไม่สามารถเข้ามามี
ส่วนร่วมได้เนื่องจากขัดต่อขนบธรรมเนียงประเพณีของชุมชน/เผ่า
1.3 การดาเนินการโครงการกิจกรรมของกรมการพัฒนาชุมชน
โครงการหรือกิจกรรมการพัฒนาชุมชน หมายถึง การกระทาใดๆ ก็ตามที่เกิดจากความคิดริเริ่มของ
ประชาชน จากปัญหา/ความต้องการของประชาชน โดยการช่วยกันคิด ร่วมกันตัดสินใจ ช่วยกันวางแผน และ
ร่วมกันดาเนินการของประชาชน เพื่อแก้ปัญหาและสนองความต้องการของประชาชนทั้งชุมชน หรือของ
ประชาชนส่วนหนึ่งหรือกลุ่มหนึ่ง โดยมีพัฒนากรเป็นผู้เอื้ออานวยให้ประชาชนเป็นผู้ริเริ่มหรือเป็นเจ้าของ
โครงการโดยมีตัวอย่างโครงการกิจกรรมที่กรมการพัฒนาชุมชนดาเนินการ ดังนี้
1.3.1 การพัฒนาผู้นาชุมชนและอาสาสมัคร
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ประชาชนมีโอกาสเสียสละอุทิศตนเพื่อส่วนรวม มีบทบาทและส่วนร่วมใน
การแก้ปัญหาและการดาเนินกิจกรรมพัฒนาของชุมชน มุ่งเน้นให้เกิดความต่อเนื่องในการรวมกลุ่ม การพัฒนา
ศักยภาพ และการดาเนินกิจกรรมให้เกิดผลงานอย่างเป็นรูปธรรม
1.3.2 พัฒนากลุ่ม/องค์กร/เครือข่าย
วัตถุประสงค์ เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนรวมตัวกันทากิจกรรมร่วมกันในลักษณะกลุ่ม/
องค์กรชุมชน เช่น คณะกรรมการพัฒนาสตรี กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต กลุ่มอาชีพ ฯลฯ รวมทั้งสนับสนุนให้
กลุ่ม/องค์กรชุมชน รวมตัวกันในลักษณะเครือข่ายต่างๆ เช่น สมาพันธ์องค์การพัฒนาชุมชนแห่งประเทศไทย
สมาคมผู้นาอาสาพัฒนาชุมชนไทย สมาคมผู้นาสตรีพัฒนาชุมชนไทย สมาคมผู้นาอาชีพก้าวหน้า (สิงห์ทอง)
4 ภาค ศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน (ศอช.)
1.3.3 การพัฒนาแผนชุมชน
วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของชุมชน ให้คนในชุมชนช่วยกันคิด ร่วมกัน
ตัดสินใจ ช่วยกันวางแผน ร่วมกันดาเนินการเพื่อแก้ปัญหาและสนองความต้องการของประชาชนทั้งชุมชน ซึ่ง
จะทาให้ชุมชนได้ทาความรู้จักและประเมินศักยภาพของชุมชน และกาหนดอนาคตทิศทางของชุมชน ทาให้
ชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้และสร้างชุมชนให้เข้มแข็งได้
1.3.4 ส่งเสริมการออมทรัพย์เพื่อการผลิต
วัตถุประสงค์ เพื่อกระตุ้นและส่งเสริมให้ประชาชนรวมตัวกันระดมเงินออมเพื่อเป็นทุนของ
ชุมชน สนับสนุนการพัฒนาด้านการบริหารและจัดการเงินทุนในเชิงธุรกิจ เพื่อพัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิต
โดยยึดหลักคุณธรรมและการพึ่งตนเองเป็นฐานไปสู่สถาบันนิติบุคคล
17
1.3.5 ส่งเสริมการจัดตั้งสถาบันจัดการเงินทุนชุมชน โดยการบูรณาการ เชื่อมโยงกลุ่มองค์กร
กองทุน
การเงินต่าง ๆ รวมกันบริหารจัดการเงินทุนในชุมชน เพื่อให้เกิดการใช้เงินทุนในชุมชนอย่างคุ้มค่า เกิด
ประโยชน์สูงสุด
วัตถุประสงค์ เพื่อให้การจัดการเงินทุนชุมชนเป็นระบบมีความเป็นเอกภาพสามารถแก้ไข
ปัญหาพัฒนาเศรษฐกิจและพัฒนาสังคมให้ชุมชน เพื่อเป็นแหล่งเงินออม แหล่งทุน สวัสดิการของชุมชน และ
เพื่อเป็นศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของชุมชน
1.3.6 ศูนย์เรียนรู้ชุมชน
วัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมองค์ความรู้ที่กระจัดกระจายอยู่ในชุมชนให้เป็นระบบ
สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ของคนในชุมชน และคนภายนอกชุมชน ในการพัฒนาความคิด พัฒนาอาชีพ และ
รายได้ รวมทั้งแก้ไขปัญหาอื่น ๆ ของคนในชุมชน
2.การพัฒนาของภาครัฐร่วมกับองค์กรพัฒนาเอกชน และภาคประชาสังคม
"ประชาสังคม" มาจากภาษาอังกฤษว่า Civil Society และมีผู้ใช้คาภาษาไทยเทียบเคียงกันหลายคา
อาทิ "สังคมประชาธรรม" (ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม) "สังคมราษฎร์" (เสน่ห์ จามริก) "วีถีประชา"(ชัยอนันต์ สมุท
วณิช ใช้คานี้โดยมีนัยยะของคาว่า Civic movement) "อารยสังคม" (อเนก เหล่าธรรมทัศน์) และ"สังคม
เข้มแข็ง"(ธีรยุทธ บุญมี) เป็นต้น ทั้งนี้ นักคิดสาคัญ ๆ ของสังคมไทยได้อธิบายขยายความคาว่า "ประชาสังคม"
หรือ Civil Society นี้ในบริบทเงื่อนไขและการให้น้าหนักที่แตกต่างกัน ดังนี้
ศ.ดร.ชัยอนันต์ สมุทวณิช มองว่า "ประชาสังคม" หมายถึง ทุก ๆ ส่วนของสังคมโดยรวมถึงภาครัฐ
ภาค
ประชาชนด้วย ถือว่าทั้งหมด เป็น Civil Society ซึ่งแตกต่างจากความหมายแบบตะวันตกที่แยกออกมาจาก
ภาครัฐ หรือนอกภาครัฐ แต่หมายถึงทุกฝ่ายเข้ามาเป็น partnership กัน (ชัยอนันต์ สมุทวณิช 2539) โดยนัย
ยะ
นี้ ศ.ดร.ชัยอนันต์ สมุทวณิช ให้ความสาคัญกับ Civic movement หรือ "วิถีประชา" ที่เป็นการดาเนินกิจกรรม
ของกลุ่มองค์กรต่าง ๆ โดยเอาตัวกิจกรรมเป็นศูนย์กลางปราศจากการจัดตั้ง ดังข้อเสนอที่สาคัญในเชิง
ยุทธศาสต์การพัฒนา ในช่วงของการจัดทาแผน พัฒนาฯ ฉบับที่ 8 คือ Area-Function-Participation - AFP
กล่าวคือจะต้องเน้นที่กระบวนการมีส่วนร่วม ในการดาเนินกิจกรรมการพัฒนาของ ทุกฝ่ายร่วมกันในระดับ
พื้นที่ (ย่อย ๆ) ซึ่งในที่นี้ อาจเป็นพื้นที่จังหวัด อาเภอ ตาบล หมู่บ้าน หรือพื้นที่ในเชิงเศรษฐกิจ เช่น เขตพื้นที่
ชายฝั่งทะเล ภาคตะวันออก เป็นต้น (ชัยอนันต์ สมุทวณิช 2539)
ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม ได้ให้ความหมายของ "ประชาสังคม" ว่าหมายถึง "สังคมที่ประชาชนทั่วไป ต่างมี
บทบาทสาคัญในการจัดการเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับวิถีชีวิต ของประชาชน โดยอาศัยองค์กร กลไก กระบวนการ
และกิจกรรมอันหลากหลาย ที่ประชาชนจัดขึ้น" โดยนัยยะของความหลากหลาย ขององค์กรนี้ไม่ว่า จะเป็น
18
กลุ่ม องค์กร ชมรม สมาคม ซึ่งล้วนแต่มีบทบาทสาคัญต่อการผลักดันการเปลี่ยนแปลงทางสังคมทั้งสิ้น จึงเป็น
เสมือน "สังคม" ของ "ประชา" หรือ Society ของ Civil นั่นเอง อย่างไรก็ดี คุณไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม ยังเสนอ
ต่อ
อีกด้วยว่า "ประชาสังคม" นั้นเป็นส่วนของสังคม ที่ไม่ใช่ภาครัฐ ซึ่ง ดาเนินงานโดยอาศัยอานาจตามกฎหมาย
และก็ไม่ใช่ภาคธุรกิจ ซึ่งดาเนินงานโดยมุ่งหวังผลกาไรเป็นสาคัญ
สาหรับปัจจุบัน ได้มีการพัฒนาภาคประชาสังคมให้เข้มแข็ง ผ่านการพัฒนา ผู้นา กลุ่ม องค์กร
เครือข่าย ต่าง ๆ รวมทั้งรูปแบบการประชาคม ที่มุ่งเน้นให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการ
แก้ไขปํญหา หรือกาหนดทิศทางการพัฒนาชุมชนของตนเอง
การสร้างมาตรฐานของการชี้วัดผลการพัฒนา
3.1 แนวคิดตัวชี้วัดการพัฒนาชุมชน
การกาหนดตัวชี้วัดการพัฒนาประเทศเริ่มใช้ตั้งแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 1 พ.ศ.2504
เป็นต้นมา โดยใช้เป็นเครื่องมือติดตามผลการพัฒนา และได้มีการพัฒนาต่อมาเรื่อย ๆ โดยหน่วยงานที่มีหน้าที่
ดูแลรับผิดชอบผลของการพัฒนาแต่ละด้านมักเป็นผู้สร้างเครื่องมือเอง โดยมีตัวอย่างเครื่องชี้วัดการพัฒนา
ประเทศ ดังนี้
1. เครื่องชี้วัดทางเศรษฐกิจ เช่น การวัดอัตราการเจริญหรือการขยายตัวทางเศรษฐกิจ การวัดขีด
ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ การกระจายรายได้ เส้นความยากจน (proverty line) การวัดรายได้
ค่าใช้จ่ายและหนี้สินของครัวเรือน เป็นต้น
2. เครื่องชี้วัดทางสังคม เช่น เครื่องชี้วัดความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ) เครื่องชี้ภาวะสังคม ดัชนี
ทางการศึกษา ตัวชี้วัดสุขภาพดีถ้วนหน้า ดัชนีความอยู่ดีมีสุขของคนไทย เป็นต้น
3. เครื่องชี้วัดทางสิ่งแวดล้อม เช่น ดัชนีชี้วัดคุณภาพสิ่งแวดล้อม เป็นต้น
3.2 เครื่องชี้วัดความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ)
เครื่องชี้วัดความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ) ของครัวเรือน ถือได้ว่าเป็นเครื่องชี้วัดที่มีการพัฒนาอย่าง
ต่อเนื่องและนาไปใช้ประโยชน์เป็นอย่างมาก โดยเริ่มใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2528 ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติฉบับที่ 5 มีการปรับปรุงมาเป็นระยะจนปัจจุบันเป็นการจัดเก็บข้อมูลความจาเป็นพื้นฐาน ช่วง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (ปี 2555-2559)
1. ความหมายของข้อมูลความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) เป็นข้อมูลที่แสดงถึงลักษณะของสังคมไทยที่พึง
ประสงค์ ตามเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่าของเครื่องชี้วัดว่า อย่างน้อยคนไทยควรจะมีระดับความเป็นอยู่ไม่ต่ากว่า
ระดับไหน ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ๆ และทาให้ประชาชนสามารถทราบได้ด้วยตนเองว่า ในขณะนี้คุณภาพชีวิต
ของตนเอง ครอบครัว รวมไปถึงหมู่บ้านอยู่ในระดับใด มีปัญหาที่จะต้องแก้ไขในเรื่องใดบ้าง เป็นการส่งเสริมให้
ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว และสังคม อันเป็นนโยบายสาคัญในการพัฒนา
ชนบทของประเทศข้อมูลความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) คือ ข้อมูลในระดับครัวเรือนที่แสดงถึงสภาพความจาเป็น
พื้นฐานของคนในครัวเรือนในด้านต่าง ๆ เกี่ยวกับคุณภาพชีวิตที่ได้กาหนดมาตรฐานขั้นต่าเอาไว้ว่า คนควรจะ
19
มีคุณภาพชีวิตในแต่ละเรื่องอย่างไรในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ๆ
2. หลักการของข้อมูลความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ได้แก่
2.1 ใช้เครื่องชี้วัดความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) เป็นเครื่องมือของกระบวนการเรียนรู้ของประชาชนใน
หมู่บ้าน/ชุมชน เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชน ทราบถึงสภาพความเป็นอยู่ของตนเองและชุมชนว่า บรรลุ
ตามเกณฑ์ความจาเป็นพื้นฐานแล้วหรือไม่
2.2 ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาโดยผ่านกระบวนการ จปฐ. นับตั้งแต่การกาหนด
ปัญหาความต้องการที่แท้จริงของชุมชน ตลอดจนค้นหาและหาแนวทางแก้ไขปัญหา โดยใช้ข้อมูล จปฐ. ที่มีอยู่
ตลอดจนการประเมินผลการดาเนินงานที่ผ่านมา
2.3 ใช้ข้อมูล จปฐ. เป็นแนวทางในการคัดเลือกโครงการต่าง ๆ ของรัฐให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา
ที่แท้จริงของชุมชน สามารถใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีการ
ประสานระหว่างสาขาในด้านการปฏิบัติมากขึ้น
3. วัตถุประสงค์ เพื่อให้ประชาชนสามารถพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของตนเอง และครอบครัวให้มี
คุณภาพชีวิตที่ดีอย่างน้อยผ่านเกณฑ์ความจาเป็นพื้นฐาน โดยมีเครื่องชี้วัด จปฐ. เป็นเครื่องมือ
4. การกาหนดเครื่องชี้วัดความจาเป็นพื้นฐาน
กาหนดขึ้นเพื่อใช้ในการชี้วัดว่าคนในแต่ละครัวเรือน ควรมีคุณภาพชีวิตขั้นต่า ในเรื่องนั้น ๆ ในช่วง
ระยะเวลาหนึ่ง ๆ (ปกติจะกาหนด 5 ปี ตามระยะเวลาของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ) ตามเกณฑ์
ที่กาหนด จึงจะถือว่า “มีคุณภาพชีวิตตามเกณฑ์ความจาเป็นพื้นฐาน”
5. หัวใจของข้อมูลพื้นฐาน คืออะไร
หัวใจของการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานแท้จริงแล้วอยู่ที่ “ประชาชน” ที่สามารถทราบปัญหาของ
“ตนเอง” เวลาที่จัดเก็บข้อมูล ประชาชนจะทราบทันทีว่า “เขามีคุณภาพชีวิต เป็นอย่างไร ขาดข้อใด”
โดย จปฐ. เป็นเสมือนวัฎจักรที่สามารถช่วยในการปรับปรุงตนเอง คาว่า “ตนเอง” ในที่นี้ยังหมายรวมถึง
“ชุมชน/หมู่บ้าน ตาบล อาเภอ และจังหวัด” อีกด้วย เพราะการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล จะมีการนา
ข้อมูล
มาสรุปภาพรวมในแต่ละระดับ ตั้งแต่ชุมชน/หมู่บ้านเรื่อยไปจนถึงระดับจังหวัด และประเทศ
6. ประโยชน์ของข้อมูลพื้นฐาน
6.1 ประชาชนสามารถทราบว่า ตนเองมีคุณภาพชีวิตเป็นอย่างไรบ้าง ผ่านเกณฑ์หรือไม่ผ่านเกณฑ์
ใดบ้าง ทั้งนี้ไม่จาเป็นเสมอไปว่าคนรวยหรือคนที่อยู่ในเมืองใหญ่ จะมีคุณภาพชีวิตที่ดี เพราะคุณภาพชีวิต
ที่ดีนั้นมิได้วัดที่รายได้เพียงอย่างเดียว
6.2 ภาคราชการ หรือภาครัฐ สามารถทราบถึงปัญหาที่แท้จริงของประชาชนว่าครอบครัว
ครัวเรือน หมู่บ้าน ตาบล จังหวัดใด มีปัญหาในเรื่องอะไร เพื่อสามารถวางแผนการพัฒนาในด้านต่าง ๆ
ได้ตรงกับปัญหาที่ชาวบ้านต้องการ
6.3 ภาคเอกชน สามารถนาข้อมูลมาใช้ในการตัดสินใจและวางแผนในการบริหารจัดการเพื่อลงทุน
ทางธุรกิจ
20
7. เครื่องชี้วัดข้อมูลพื้นฐาน ช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ( พ.ศ. 2555 - 2559)
เครื่องชี้วัดข้อมูลความจาเป็นพื้นฐาน ที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 11 ( พ.ศ. 2555 - 2559) มี 5 หมวด 30 ตัวชี้วัด ดังนี้
หมวดที่ 1 สุขภาพดี มี 7 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 2 มีบ้านอาศัย มี 8 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 3 ฝักใฝ่การศึกษา มี 5 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 4 รายได้ก้าวหน้า มี 4 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 5 ปลูกฝังค่านิยมไทย มี 6 ตัวชี้วัด
3.3 เครื่องชี้วัดการพัฒนาแบบบูรณาการที่มีชุมชนเป็นศูนย์กลาง (ระบบมาตรฐานงานชุมชน)
ระบบการพัฒนาประเทศที่ผ่านมาได้มีความพยายามของหน่วยงานภาครัฐในการวัด ประเมินผลของ
การพัฒนา ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการวัดผลเพื่อบอกถึงผลสัมฤทธิ์ของหน่วยงาน หรือเป็นการวัดประเมินผลใน
ภาพรวมของประเทศ โดยหน่วยงานเป็นผู้กาหนดตัวชี้วัด แต่ยังไม่มีการจัดทาระบบการวัดและประเมินที่
ชุมชน
เป็นผู้กาหนดและนาไปสู่กระบวนการเรียนรู้และพัฒนาตนเองโดยชุมชนได้อย่างแท้จริง กรมการพัฒนาชุมชน
จึงได้จัดทา “เครื่องชี้วัดการพัฒนาแบบบูรณาการที่มีชุมชนเป็นศูนย์กลาง” คือ “ระบบมาตรฐานงาน
ชุมชน หรือเรียกชื่อย่อว่า “มชช.”
3.3.1 ความหมาย
ระบบมาตรฐานงานชุมชน หมายถึง เครื่องมือในการสร้างกระบวนการเรียนรู้และพัฒนา
ตนเองของผู้นาชุมชน, กลุ่ม/องค์กรชุมชน,เครือข่ายองค์กรชุมชน และชุมชน ไปสู่ข้อกาหนดและตัวชี้วัดที่
ก่อให้เกิดการพัฒนาอันพึงปรารถนาร่วมกันกับภาคีที่เกี่ยวข้อง บนพื้นฐานของความสมัครใจ
3.3.2 หลักการของระบบมาตรฐานงานชุมชน
1. การประสานความร่วมมือจากภาคีการพัฒนา ทั้งภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชน
2. การมีส่วนร่วมของชุมชน ชุมชนเป็นเจ้าของ ประชาชนเป็นผู้ได้รับประโยชน์
3. ยืดหยุ่น สอดคล้องเหมาะสมกับชุมชน
4. เป็นที่ยอมรับของทุกภาคส่วน
5. ความสมัครใจของชุมชน ในการเข้าสู่ระบบมาตรฐานชุมชน
6. กระบวนการเรียนรู้ในการพัฒนาตนเอง
3.3.3 วัตถุประสงค์ของระบบมาตรฐานงานชุมชน
1. เพื่อให้ผู้นาชุมชน กลุ่ม/องค์กร เครือข่าย และชุมชน ใช้เป็นเครื่องมือและแนวทางสร้าง
กระบวนการเรียนรู้ ในการประเมินและพัฒนาตนเองไปสู่ความเข้มแข็งที่ได้รับการยอมรับ
21
2. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้กลุ่มเป้าหมาย เกิดกระบวนการเรียนรู้ในการพัฒนาตนเองไปสู่
คุณภาพ และความสาเร็จที่ได้รับการยอมรับร่วมกันระหว่างชุมชนและภาคีที่เกี่ยวข้อง
3. เพื่อ บูรณาการการทางานระหว่างภาคีการพัฒนาและชุมชนให้มีเป้าหมายและทิศทางการ
ทางานที่ชัดเจนร่วมกัน ลดความซ้าซ้อน เพิ่มประสิทธิภาพ และความคุ้มค่าในการพัฒนาไป สู่ความเข้มเข็งของ
ชุมช
3.3.5 ประเภทมาตรฐานงานชุมชน มี 4 ประเภท
ประเภทที่ 1 มาตรฐานผู้นาชุมชน ประกอบด้วยภาวะผู้นา 3 ด้าน 15 องค์ประกอบ
ประเภทที่ 2 มาตรฐานกลุ่ม/องค์กรชุมชน ประกอบด้วยลักษณะความเข้มแข็ง 4 ด้าน 14
องค์ประกอบ
ประเภทที่ 3 มาตรฐานเครือข่ายองค์กรชุมชน ประกอบด้วยลักษณะความเข้มแข็ง 4 ด้าน 17
องค์ประกอบ
ประเภทที่ 4 มาตรฐานชุมชน ประกอบด้วย ลักษณะความเข้มแข็ง 7 ด้าน 21 องค์ประกอบ
ผลกระทบการพัฒนาประเทศที่ผ่านมาและปัญหาอุปสรรค
ผลการสัมมนาทางวิชาการเหลียวหลังแลหน้ายี่สิบปีเศรษฐกิจสังคมไทยซึ่งจัดโดยสถาบันวิจัยเพื่อการ
พัฒนาประเทศไทย (TDRI) สรุปได้ ดังนี้
การเปลี่ยนแปลงของคนไทย
1. ด้านโครงสร้างประชากร อัตราการเกิดการตายของทารกลดลง อายุขัยเฉลี่ยของ
ประชากรเพิ่มขึ้น ประชากรวัยทางานอายุ 23 – 45 ปี มากขั้น อีก 6 ปี ข้างหน้าสัดส่วนประชากรวัยทางาน
เพิ่มขึ้นหลังจากนั้นจะลดลงประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ปัญหาแรงงานต่างด้าวจะส่งผลต่อสภาพความ
เป็นอยู่ของคนไทย
2. ด้านสุขภาพ ประชาชนเข้าถึงบริการมากขึ้นแต่ยังมีความเหลื่อมล้าระหว่างคนในเมืองกับ
ชนบทแต่ปัญหาสุขภาพจิตและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพมีมากขึ้น มีความพยายามในการปฏิรูประบบสุขภาพ
เน้นการป้องกันมากกว่ารักษา แนวโน้มในอนาคตสุขภาวะคนไทยจะดีขึ้น ประเทศไทยจะเป็นศูนย์กลาง
ทางด้านสุขภาพแต่ก็ต้องเผชิญกับปัญหาการป้องกันโรคที่มาจากการท่องเที่ยว เช่น โรค SARS ไข้หวัดนก
3. ด้านศีลธรรมและจิตใจ สังคมไทยเข้าสู่ลัทธิบริโภคนิยมเต็มขั้น วัตถุนิยม ละเลยด้าน
ศีลธรรม ขาดจิตสานึกสาธารณะ บทบาทสถาบันสงฆ์อ่อนแอ และมีข้อจากัดในการพัฒนา ศีลธรรม แนวโน้ม
ในอนาคต ระบบคุณค่าจริยธรรม ศีลธรรมจะไม่ดีขึ้น คุณค่าด้านวัตถุนิยม บริโภคนิยมยังไมชัดเจนว่าจะ
เปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น
4. ด้านการศึกษา จานวนปีการศึกษาของคนไทย เฉลี่ยเพิ่มขึ้นเป็น 7 – 8 ปี จานวนนักเรียน
สายอาชีวะลดลงจะทาให้ขาดแคลนแรงงานระดับกลางคุณภาพการศึกษาด้อยลงความรู้ทางคณิต-วิทย์ และ
ภาษาอังกฤษและ IT อยู่ในระดับต่า คนไทยเลือกเรียนสายสังคมมากกว่าสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แนวโน้มในอนาคต จานวนปีการศึกษาจะเพิ่มขึ้นคุณภาพการศึกษาจะดีขึ้น การศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีมีแนวโน้มสูงขึ้นโอกาสการเรียนรู้ดีขึ้น แต่จะมีความเหลื่อมล้าจากการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57

More Related Content

Similar to เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57

4. development plane
4. development plane4. development plane
4. development planechanok
 
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015Silpakorn University
 
นโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันตินโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันติsuthat22
 
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯสรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯPannatut Pakphichai
 
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563KppPrimaryEducationa
 
ยุทธศาสตรืศส่งเสริมและสนับสนุน
ยุทธศาสตรืศส่งเสริมและสนับสนุนยุทธศาสตรืศส่งเสริมและสนับสนุน
ยุทธศาสตรืศส่งเสริมและสนับสนุนKopkit Sitthithanakarn
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาบ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาสอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54auy48
 
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29Kamolkan Thippaboon
 
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29Kamolkan Thippaboon
 

Similar to เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57 (20)

Digital economy plan
Digital economy plan Digital economy plan
Digital economy plan
 
Digital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of ThailandDigital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of Thailand
 
20160530 Digital Thailand Master Plan
20160530 Digital Thailand Master Plan20160530 Digital Thailand Master Plan
20160530 Digital Thailand Master Plan
 
4. development plane
4. development plane4. development plane
4. development plane
 
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
 
ต่าย
ต่ายต่าย
ต่าย
 
นโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันตินโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันติ
 
140127164820 อพช ประชุม อุบล
140127164820 อพช ประชุม อุบล140127164820 อพช ประชุม อุบล
140127164820 อพช ประชุม อุบล
 
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯสรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ
 
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
 
ยุทธศาสตรืศส่งเสริมและสนับสนุน
ยุทธศาสตรืศส่งเสริมและสนับสนุนยุทธศาสตรืศส่งเสริมและสนับสนุน
ยุทธศาสตรืศส่งเสริมและสนับสนุน
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
 
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาบ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
 
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
 
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
 
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
 
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
 
6 การพัฒนาพื้นที่ ภาค และเมืองสู่อนาคตประเทศ
6 การพัฒนาพื้นที่ ภาค และเมืองสู่อนาคตประเทศ6 การพัฒนาพื้นที่ ภาค และเมืองสู่อนาคตประเทศ
6 การพัฒนาพื้นที่ ภาค และเมืองสู่อนาคตประเทศ
 
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
 
Orchid export strategy
Orchid export strategyOrchid export strategy
Orchid export strategy
 

เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57

  • 1. 1 108 1009 เอกสารเตรียมสอบ ตาแหน่ง นักวิชาการพัฒนาชุมชน ปี 2557 กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
  • 2. 2 สารบัญ หน้า 1. ประวัติ/ยุทธศาสตร์ประเทศ/กระทรวง/กรม 3 - 11 2. การพัฒนาชุมชน/งานกรมการพัฒนาชุมชน 12 - 62 3. กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 63 – 74 4. กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 75 – 82 5. การดาเนินงานโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กขคจ.) 83 – 91 6. กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 92 - 95 7. สรุปเนื้อหาเตรียมสอบ 96 – 140
  • 3. 3 สรุปภาระกิจและงานกรมการพัฒนาชุมชน ประวัติกรมการพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชนเป็นหน่วยราชการระดับกรม ของ กระทรวงมหาดไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่1ตุลาคม2505 ตามพระราชบัญญัติ ปรับปรุงกระทรวงทบวงกรมฉบับที่10พ.ศ.2505โดยโอนกิจการ บริหารของส่วน พัฒนาการ ท้องถิ่นกรมมหาดไทยเดิมเป็นกิจการ บริหารของกรมการพัฒนา ชุมชน ในขณะที่กิจการบริหารของกรมมหาดไทย ได้โอนเป็นกรมการปกครอง ในปัจจุบันตามพระราชบัญญัติโอนกิจการบริหาร ของ กระทรวงมหาดไทย ซึ่งปรับปรุงใหม่พ.ศ.2505 และเนื่องจากกรมการพัฒนา ชุมชนและกรมการปกครอง มีรากฐานมาจากกรมมหาดไทย เหมือนกันมีความ สัมพันธ์กันในทางจิตใจ ในทางการงานที่ต้องปฏิบัติให้บรรลุผลตามนโยบายของ กระทรวงร่วมกัน กระทรวงมหาดไทยจึงมี หนังสือด่วนมากที่1890/2505 ลง วันที่12พฤศจิกายน2505สั่งการไปยังผู้ว่าราชการจังหวัด ทุกจังหวัดให้รับทราบ คาสั่งที่1358/2505 เรื่องระเบียบว่า ด้วยความสัมพันธ์และปฏิบัติงานร่วมกัน ของกรมการปก ครองและกรมการพัฒนาชุมชน สรุปได้ว่า "การพัฒนาชุมชนเป็นนโยบายสาคัญของรัฐบาล ในยุคนั้นที่ จะปรับปรุงความเป็นอยู่และมาตรฐาน การครองชีพของประชาชน ในชนบทให้ ดียิ่งขึ้นในระดับอาเภอ มีนายอาเภอเป็นผู้ประสานงานระหว่าง เจ้าหน้าที่ วิชาการของกระทรวง ทบวงกรมต่างๆ กับพัฒนากร ให้ปฏิบัติงานร่วมกันตาม หลักการ ระเบียบและวิธีการ ในระดับจังหวัด ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็น ผู้รับผิดชอบ ในการบริหารงานพัฒนาชุมชน โดยอาศัยการประสานงาน อย่าง ใกล้ชิด ระหว่างส่วนราชการ ต่าง ๆ ของจังหวัด กระทรวงมหาดไทยมีนโยบาย ให้ข้าราชการของทั้งสองกรม นี้ได้มีโอกาสศึกษา ประชุม สัมมนาและร่วมกัน ปฏิบัติงาน พัฒนาชุมชน ให้มากที่สุดเท่าที่จะทาได้ และมีหลักการสับเปลี่ยน โอน หรือยืมตัวหมุนเวียนกันไปปฏิบัติงานได้ตามความจา เป็น และเหมาะสม ในการสอบคัดเลือกเพื่อเลื่อนขั้นของข้าราชการของกรมการปกครอง กรมการ พัฒนาชุมชน สานักงานเลขานุการรัฐมนตรี และสานักงานปลัดกระทรวง มหาดไทย สามารถสอบร่วมกันได้ "
  • 4. 4 ความหมายของโลโก้กรมการพัฒนาชุมชน : วงกลมภายในเป็นรูปโครงสร้างของบ้านชนบท มีตัวอักษร พช. อยู่ใต้รูปบ้าน มีลายกนก แบบเครื่องหมาย ๖ และ ๙ บนตัวอักษร พ. และอักษร ช. ขอบวงกลมล้อมรอบวงกลมภายในมี 4 สี 4 ช่วง หมายถึงหลักการท างาน 4 ป. หมายถึง ประชาชน หมายถึง ประชาธิปไตย หมายถึง ประสานงาน หมายถึง ประหยัด
  • 5. 5 โครงสร้างกรมการพัฒนาชุมชน การแบ่งส่วนราชการ กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2552ให้ แบ่งส่วนราชการกรมการพัฒนาชุมชน ดังต่อไปนี้ ก. ราชการบริหารส่วนกลาง (1) สานักงานเลขานุการกรม (2) กองการเจ้าหน้าที่ (3) กองคลัง (4) กองแผนงาน (5) ศูนย์สารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน (6) สถาบันการพัฒนาชุมชน (7) สานักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน (8) สานักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน (9) สานักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน ข. ราชการบริหารส่วนภูมิภาค (1) สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด 76 จังหวัด (2) สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ 878 อาเภอ หลักการทางานกับประชาชน 1. พิจารณาภาวการณ์ที่เป็นอยู่ในชุมชนเป็นหลักเริ่มงาน 2. ให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมและรู้เห็นตั้งแต่เริ่มต้น 3. โครงการและกิจกรรมพัฒนาชุมชนต้องค่อยเป็นค่อยไป ไม่เร่งรีบ รวบรัด 4. แสวงหาความต้องการที่แท้จริงของประชาชนให้พบ 5. ใช้วิธีดาเนินงานแบบประชาธิปไตย 6. การวางโครงการต้องยืดหยุ่นอ่อนตัวได้ตามสถานการณ์ 7. ทาความเข้าใจในวัฒนธรรมของชุมชน 8. แสวงหาผู้นาท้องถิ่นและผู้นาชุมชนเป็นมิตรคู่งาน 9. ใช้องค์กรที่มีอยู่ในท้องถิ่นให้เป็นประโยชน์
  • 6. 6 10. อาศัยนักวิชาการหรือผู้ชานาญเฉพาะสาขา 11. ทางานกับสมาชิกทุกคนในสถาบันครอบครัว 12. โครงการต้องมีลักษณะกว้าง เพื่อสนองความต้องการของประชาชนได้ ครอบคลุมปัญหาด้านต่าง ด้วย 13. ทาการประเมินงานเป็นระยะๆ 14. ทางานกับคนทุกชั้นของสังคม 15. สอดคล้องเป็นแนวทางเดียวกับกรอบนโยบายของชาติ 16. อาศัยหลักการเข้าถึงชุมชน 17. ใช้ทรัพยากรท้องถิ่นให้เป็นประโยชน์ ยุทธศาสตร์ประเทศ พ.ศ. 2556 – 2561 .
  • 7. 7 3.1 วิสัยทัศน์ประเทศไทย ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขัน คนไทยอยู่ดีกินดี มีความเสมอภาคและเป็นธรรม 3.2 หลักการของยุทธศาสตร์ ต่อยอดรายได้จากฐานเดิม สร้างรายได้จากโอกาสใหม่ เพื่อความสมดุล และการพัฒนาอย่างยั่งยืน 3.3 วัตถุประสงค์ 3.3.1 รักษาฐานรายได้เดิม และสร้างรายได้ใหม่ 3.3.2 เพิ่มประสิทธิภาพของระบบการผลิต (ต้องผลิตสินค้าได้เร็วกว่าปัจจุบัน) 3.3.3 ลดต้นทุนให้กับธุรกิจ (ด้วยการลดต้นทุนค่าขนส่งและโลจิสติกส์) ภารกิจสาคัญของกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2555 - 2558 ภารกิจสาคัญของกระทรวงมหาดไทยมี ๑๒ ข้อ ดังนี้ 1) สร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติในระดับพื้นที่ มีเป้า ประสงค์เชิงนโยบาย ดังนี้ 1.๑) สังคมไทยมีความสมานฉันท์ประชาชนในชาติมีความรักสมัครสมานสามัคคีเป็น อันหนึ่งอันเดียวกัน ๑.๒) ประชาชนมีความเชื่อมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข 2) ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโดยพลังแผ่นดิน มีเป้าประสงค์เชิงนโยบาย คือ ปัญหา ยาเสพติดลดลงและไม่ส่งผลกระทบต่อความสงบสุขของสังคม 3) การบูรณาการแก้ไขปัญหาภัยธรรมชาติและการเร่งรัดช่วยเหลือ ฟื้นฟูผู้ประสบภัย มีเป้าประสงค์เชิงนโยบาย คือ มีภูมิคุ้มกันและพร้อมรองรับผลกระทบจาก สาธารณภัย 4) สนับสนุนการนาสันติสุขและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนกลับมาสู่ พื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ มีเป้าประสงค์เชิงนโยบาย ดังนี้ ๔.๑) ประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ยาเสพติด และภาครัฐสามารถป้องกันและขจัดปัจจัยสนับสนุนการก่อความไม่สงบในพื้นที่ได้ ๔.2) ประชาชนได้รับการพัฒนาศักยภาพให้สามารถพึ่งตนเอง มีรายได้พอเพียงต่อการ ดารงชีวิต และมีการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ๔.3) ภาคประชาชนและภาคประชาสังคมมีส่วนร่วมภาครัฐในกระบวนการแก้ไขและ พัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้อย่างเป็นรูปธรรม 4.๔) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการนโยบายและการปฏิบัติตามนโยบายมีการบูรณา การและประสานสอดคล้องกันในทุกระดับ 5) ดาเนินการจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุอย่างมีประสิทธิภาพ มีเป้าประสงค์เชิงนโยบาย คือ สร้าง หลักประกันรายได้ เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงสาหรับผู้สูงอายุที่สอดคล้องกับกลุ่มอายุอย่างทั่วถึง
  • 8. 8 6) ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุน และสนับสนุนการดาเนินโครงการพัฒนา ศักยภาพของหมู่บ้านและชุมชน (SML) ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ มีเป้าประสงค์เชิงนโยบาย คือ ๖.๑) ประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งทุนในชุมชนเพื่อพัฒนาอาชีพ ๖.2) หมู่บ้าน/ชุมชนบริหารจัดการงบประมาณเพื่อพัฒนาชุมชนด้วยตนเอง 7) ยกระดับสินค้าหนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) และเพิ่มช่องทางการตลาดเชิงรุก ภายในประเทศและประเทศเพื่อนบ้าน มีเป้าประสงค์เชิงนโยบาย คือ ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานสินค้า หนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) 8) เพิ่มขีดความสามารถและบทบาทฝ่ายปกครองในการรักษา ความสงบเรียบร้อย ความ มั่นคงภายใน และการอานวยความเป็นธรรมในสังคม มีเป้าประสงค์เชิงนโยบาย คือ หมู่บ้าน/ชุมชนเข้มแข็ง สังคมมีความสงบสุข 9) เร่งออกเอกสารสิทธิที่ดินให้ครอบคลุมทั่วประเทศและสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อม ล้าในการใช้ประโยชน์ที่ดินของรัฐ มีเป้าประสงค์เชิงนโยบาย ดังนี้ ๙.1) พัฒนาระบบการบริหารจัดการข้อมูลที่ดินและแผนที่รูปแปลงที่ดินในระบบภูมิ สารสนเทศ (GIS) ๙.2) สามารถดาเนินการเพื่อให้เกิดการกระจายการถือครองที่ดินที่เป็นธรรมและยั่งยืน และมีการใช้ประโยชน์ที่ดินของรัฐอย่างเหมาะสม 10) เสริมสร้างระบบคุณธรรมและนาบริการที่ดีสู่ประชาชน ด้วยการปรับปรุงระบบบริการ ประชาชนให้เป็นเชิงรุกมากขึ้น โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มีเป้าประสงค์เชิงนโยบาย คือ ระบบการบริหาร ภาครัฐมีประสิทธิภาพ มีคุณภาพ และมี ธรรมาภิบาล ได้รับความเชื่อมั่นศรัทธาจากประชาชน 11) สนับสนุนการดาเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีระบบที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส มีเป้าประสงค์เชิงนโยบาย คือ ระบบการบริหารภาครัฐมีประสิทธิภาพ มีคุณภาพ และมีธรรมาภิบาล ได้รับความเชื่อมั่นศรัทธาจากประชาชน 12) ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารราชการแผ่นดินในทุกระดับ มีเป้าประสงค์ เชิงนโยบาย คือ ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารราชการแผ่นดินเพิ่มขึ้น แผนยุทธศาสตร์กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๑ วิสัยทัศน์ เป็นกระทรวงหลักในการบริหารจัดการและบูรณาการทุกภาคส่วนเพื่อบาบัดทุกข์ บารุง สุขประชาชน พันธกิจ 1) กากับดูแล จัดระบบการบริหารการปกครองส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่และการ ปกครองส่วนท้องถิ่น และส่งเสริม พัฒนาการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข
  • 9. 9 2) รักษาความสงบเรียบร้อย ความมั่นคงภายใน และเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีกับ ต่างประเทศ 3) อานวยความเป็นธรรมและแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนในระดับพื้นที่ 4) ส่งเสริมการพัฒนาเมือง โครงสร้างกายภาพ การใช้ประโยชน์ที่ดินทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม 5) เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน และสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ พัฒนาและแก้ไขปัญหาตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 6) ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเชิงบูรณาการ 7) ให้บริการประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพและจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการบริหารและ พัฒนาประเทศ ประเด็นยุทธศาสตร์กระทรวงมหาดไทย 1) การเสริมสร้างเศรษฐกิจฐานรากชุมชนที่เข้มแข็ง 2) การพัฒนาเมือง โครงสร้างพื้นฐาน และการบริหารจัดการที่ดินเพื่อเชื่อมโอกาสสู่ ประชาคมอาเซียน 3) การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเครือข่ายอย่างยั่งยืน ภายใต้วิถีชีวิตแบบประชาธิปไตยและปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 4) การสร้างเสริมความสงบเรียบร้อย ความมั่นคงภายใน การอานวยความเป็นธรรมและการ พัฒนากฎหมาย/บังคับใช้กฎหมายอย่างยุติธรรมในสังคม 5) การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและพิบัติภัย (ภัยพิบัติ) โดยสร้างความพร้อม รับการเปลี่ยนแปลงอย่างยั่งยืน 6) การพัฒนาขีดความสามารถขององค์กรในการบริหารจัดการ แบบบูรณาการโดยมี ประชาชนเป็นศูนย์กลาง ภารกิจและอานาจหน้าที่ของกรมการพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน มีภารกิจเกี่ยวกับการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วมของ ประชาชน ส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนฐานรากให้มีความมั่นคงและมีเสถียรภาพ โดยสนับสนุนให้มีการ จัดทาและใช้ประโยชน์จากข้อมูลสารสนเทศ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย จัดทายุทธศาสตร์ชุมชน ตลอดจนการ ฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ในการพัฒนาชุมชน เพื่อให้ชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืน โดยมีอานาจ หน้าที่ดังต่อไปนี้ ๑) กาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ และแนวทางในการพัฒนาชุมชนระดับชาติเพื่อให้ หน่วยงานของรัฐ เอกชน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องด้านการพัฒนาชุมชน ได้ใช้เป็นกรอบแนวทางในการดาเนินงาน เพื่อเสริมสร้างความสามารถและความเข้มแข็งของชุมชน
  • 10. 10 2) จัดทาและพัฒนาระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน เพื่อใช้เป็นเครื่องมือสาหรับประเมิน ความก้าวหน้าและมาตรฐานการพัฒนาของชุมชน ๓) พัฒนาระบบและกลไกในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ การจัดการความรู้ การอาชีพ การออม และการบริหารจัดการเงินทุนของชุมชน เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถของประชาชนชุมชน ผู้นา ชุมชน องค์การชุมชน และเครือข่ายองค์การชุมชน ๔) สนับสนุนและพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศชุมชน ส่งเสริมการใช้ประโยชน์และการ ให้บริการข้อมูลสารสนเทศชุมชน เพื่อใช้ในการวางแผนบริหารการพัฒนาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๕) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย พัฒนา และสร้างองค์ความรู้เพื่อใช้ในงานพัฒนาชุมชน และการ จัดทายุทธศาสตร์ชุมชน ๖) ฝึกอบรมและพัฒนาข้าราชการ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ผู้นาชุมชน องค์การชุมชน และ เครือข่ายองค์การชุมชนให้มีความรู้ ทักษะ ทัศนคติ และสมรรถนะในการทางาน รวมทั้งให้ความร่วมมือทาง วิชาการด้านการพัฒนาชุมชนแก่หน่วยงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ ๗) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าที่ของกรม หรือตามที่กระทรวง หรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย 1. วิสัยทัศน์กรมการพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน เป็นหน่วยงานที่ขับเคลื่อนกิจกรรมสู่ประชาชน การขับเคลื่อนภารกิจในช่วง พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙ มีวิสัยทัศน์ คือ ชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจ ฐานรากมั่นคง 2. พันธกิจกรมการพัฒนาชุมชน 2.1 พัฒนาระบบและกลไกส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ของชุมชน 2.2 ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการบริหารจัดการชุมชน 2.3 ส่งเสริมการพัฒนาระบบกลไกและกิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 2.4 พัฒนาสมรรถนะองค์กรในการทางานเชิงบูรณาการ 3 ยุทธศาสตร์ของกรมการพัฒนาชุมชน ๑ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างสรรค์ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข เป้าประสงค์ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตดีมีความสุข .๒ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน
  • 11. 11 เป้าประสงค์ ชุมชนมีขีดความสามารถในการบริหารจัดการแบบบูรณาการ ๓ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เป้าประสงค์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นยกระดับไปสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 เสริมสร้างธรรมาภิบาลและความมั่นคงของทุนชุมชน เป้าประสงค์ ชุมชนมีธรรมาภิบาลและความมั่นคง 5 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 เสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง เป้าประสงค์ องค์กรมีสมรรถนะสูงเกิดประโยชน์สุขต่อประชาชน 4. ค่านิยมองค์การ A : Appreciation ชื่นชม B : Bravery กล้าหาญ C : Creativity สร้างสรรค์ D : Discovery ใฝ่รู้ E : Empathy เข้าใจ F : Facilitation เอื้ออานวย S : Simplify ทาให้ง่าย P : Practical ปฏิบัติได้จริง
  • 12. 12 การพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน เป็นหน่วยงานที่ทางานด้านการพัฒนาชุมชนร่วมกับประชาชน ตลอดระยะเวลา 51 ปี โดยมีความมุ่งมั่นที่จะเป็นหน่วยงานหลักในการส่งเสริมการบริหารจัดการชุมชนให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืน และมีเป้าหมายสู่ชุมชนเข้มแข็ง ประชาชนพึ่งตนเองได้ คอบครัวมีคุณภาพชีวิตดี มีความสุข บทบาทหน้าที่ของกรมการพัฒนาชุมชน ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมการพัฒนาชุมชนกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2552 ให้กรมการ พัฒนาชุมชน มีภารกิจเกี่ยวกับการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ แลการมีส่วนร่วมของประชาชน ส่งเสริมและ พัฒนาเศรษฐกิจชุมชนฐานรากให้มีความมั่นคงและมีเสถียรภาพโดยสนับสนุนให้มีการจัดทาและใช้ประโยชน์ จากข้อมูลสารสนเทศ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย จัดทายุทธศาสตร์ชุมชนตลอดจนการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากร ที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาชุมชน เพื่อให้เป็นชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืนโดยมีอานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ 1. กาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ และแนวทางในการพัฒนาชุมชนระดับชาติเพื่อให้ หน่วยงานของรัฐ เอกชน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องด้านการพัฒนาชุมชน ได้ใช้เป็นกรอบแนวทางในการดาเนินงาน เพื่อเสริมสร้างความสามารถและความเข้มแข็งของชุมชน 2. จัดทาและพัฒนาระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน เพื่อใช้เป็นเครื่องมือสาหรับประเมิน ความก้าวหน้าและมาตรฐานการพัฒนาของชุมชน 3. พัฒนาระบบและกลไกในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ การจัดการความรู้ การอาชีพ การออม และการบริหารจัดการเงินทุนของชุมชน เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถของประชาชน ชุมชน ผู้นาชุมชน องค์การชุมชน และเครือข่ายองค์การชุมชน 4. สนับสนุนและพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศชุมชน ส่งเสริมการใช้ประโยชน์และการให้บริการ ข้อมูลสารสนเทศชุมชน เพื่อใช้ในการวางแผนบริหารการพัฒนาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย พัฒนา และสร้างองค์ความรู้เพื่อใช้ในงานพัฒนาชุมชน และการจัดทา ยุทธศาสตร์ชุมชน 6. ฝึกอบรมและพัฒนาข้าราชการ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ผู้นาชุมชน องค์การชุมชน และเครือข่าย องค์การชุมชนให้มีความรู้ ทักษะ ทัศนคติ และสมรรถนะในการทางาน รวมทั้งให้ความร่วมมือทางวิชาการ ด้านการพัฒนาชุมชนแก่หน่วยงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ 7. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าที่ของกรม หรือตามที่กระทรวง หรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย 1.การพัฒนาชุมชนโดยให้ประชาชนมีส่วนร่วม 1.1 แนวคิดการพัฒนาชุมชน
  • 13. 13 1.1.1 ความหมายการพัฒนาชุมชน การพัฒนาชุมชน ประกอบด้วย 2 คา คือ การพัฒนา และชุมชน การพัฒนา หมายถึง ทาให้เจริญ การเปลี่ยนแปลง เปลี่ยนสภาพ ปรับปรุงให้ต่างจากเดิม ชุมชน หมายถึง การรวมตัวของบุคคล กลุ่ม/องค์กรชุมชน เครือข่ายองค์กรชุมชน และ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในขอบเขตพื้นที่หนึ่ง ๆ ซึ่งมีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ระดับพื้นฐานที่สุด คือหมู่บ้าน หรือ ชุมชนในรูปแบบอื่น ๆ ที่มีมารวมตัวกันเพื่อแก้ไขปัญหาเดียวกัน เช่น ชุมชนลุ่มน้า ชุมชนวัฒนธรรม เป็นต้น การพัฒนาชุมชน (Community Development) ตามหลักการพื้นฐานเป็นกระบวนกให้ การศึกษา (educational process) แก่ประชาชนเพื่อให้สามารถพึ่งตนเองได้ (self – reliance) หรือช่วย ตนเองได้ (self – help) ในการคิด ตัดสินใจ และดาเนินการแก้ปัญหา ตลอดจนตอบสนองความต้องการของ ตนเอง และส่วนรวม 1.1.2 ปรัชญาการพัฒนาชุมชน ปรัชญาพื้นฐานเบื้องต้นของนักพัฒนาชุมชน คือ ความเชื่อมั่นและศรัทธาในมนุษยชาติว่า มนุษย์ทุกชีวิต มีคุณค่า มีความหมาย มีศักดิ์ศรี มีศักยภาพ และ สามารถพัฒนาได้ถ้ามีโอกาส 1.1.3 หลักการพัฒนาชุมชน คือ หลักประชาชน กล่าวคือ 1. เริ่มต้นที่ประชาชน ยืนจุดเดียวกับประชาชน มองโลก มองชีวิต มองปัญหา จากทัศนะของ ประชาชน เพื่อให้เข้าใจปัญหา ความต้องการของประชาชน เพื่อให้เข้าถึงชีวิต จิตใจ ของประชาชน 2. ทางานร่วมกับประชาชน (ไม่ใช่ทางานให้แก่ประชาชน เพราะจะทาให้เกิดความคิดมาทวง บุญทวงคุณจากประชาชนในภายหลัง) การที่จะทาให้ประชาชนเข้าใจปัญหาของตนเอง และมีกาลังใจลุกขึ้น ต่อสู้กับปัญหา ช่วยกันคิด ช่วยกันแก้ไขปัญหา นั้น ย่อมมีหนทางที่จะกระทาได้โดยไม่ยากหากเข้าใจปัญหา และเข้าถึงจิตใจประชาชน 3. ยึดประชาชนเป็นพระเอก ประชาชนต้องเป็นผู้กระทาการพัฒนาด้วยตนเอง ไม่ใช่ เป็น ผู้ถูกกระทา หรือฝ่ายรองรับข้างเดียว เพราะผลของการกระทาการพัฒนานั้น ตกอยู่ที่ประชาชนโดยตรง ประชาชน เป็นผู้รับโชค หรือ เคราะห์จากการพัฒนา นั้น 1.1.4 วิธีการพัฒนาชุมชน เป็นวิธีการพื้นฐานของการพัฒนาชุมชน คือ 1. การรวมกลุ่ม หรือ จัดตั้งองค์กรประชาชน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชน ซึ่งเป็น สมาชิก มีบทบาท และ มีส่วนร่วม ในกิจกรรมของกลุ่ม/องค์กร ซึ่งจะส่งผลกระทบไปถึงส่วนรวมด้วย 2. การส่งเสริม/สร้างสรรค์ผู้นาและอาสาสมัคร เพื่อเปิดโอกาสและสนับสนุนให้ประชาชน มี ความพร้อมจะ เป็นผู้นา และ เป็นผู้เสียสละ ได้อุทิศตน ได้แสดงบทบาท มีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนา ชุมชน โดยส่วนรวม 1.1.5 กระบวนการพัฒนาชุมชน การปฏิบัติงานพัฒนาชุมชนเป็นงานที่ต้องทาอย่างต่อเนื่องเป็น กระบวนการ และต้องอาศัยหลักการมีส่วนร่วมในการพัฒนาซึ่งเป็นหัวใจสาคัญของการพัฒนาในทุกระดับเป็น การเปิดโอกาสให้ประชาชนร่วมคิด วิเคราะห์ ตัดสินใจ การวางแผน การปฏิบัติตามแผน การติดตาม ประเมินผลในกิจกรรม/โครงการของชุมชน เป็นการสร้าง/ปลูกฝังจิตสานึกในความเป็นเจ้าของกิจกรรม/
  • 14. 14 โครงการ นั้น โดยกระบวนการพัฒนาชุมชนที่ประชาชนมีส่วนร่วมทุกขั้นตอนมีดังนี้ 1. การศึกษาชุมชน เป็นการเสาะแสวงหาข้อมูลต่าง ๆ ในชุมชน เช่น ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง และสภาพความเป็นอยู่ของคนในชุมชน เพื่อทราบปัญหาและความต้องการของชุมชนที่ แท้จริง วิธีการในการศึกษาชุมชนอาจต้องใช้หลายวิธีประกอบกันทั้งการสัมภาษณ์ การสังเกต การสารวจ และ การศึกษาข้อมูลจากเอกสารต่าง ๆ ที่มีอยู่ในชุมชนด้วย เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ตรงกับความเป็นจริงมากที่สุด กลวิธีที่ สาคัญที่นักพัฒนาต้องใช้ในขั้นตอนนี้ คือ การสร้างความสัมพันธ์กับคนในชุมชน เพราะถ้าหากปราศจาก สัมพันธภาพที่ดีระหว่างพัฒนากรกับชาวบ้าน แล้วเป็นการยากที่จะได้รู้ และเข้าใจปัญหาความต้องการจริง ๆ ของชาวบ้าน ความสัมพันธ์อันดี จนถึงขั้นความสนิทสนม รักใคร่ ศรัทธา จึงเป็นสิ่งที่จาเป็นที่จะต้องปลูกฝังให้ เกิดขึ้นกับคนในชุมชน 2. การให้การศึกษาแก่ชุมชน เป็นการสนทนา วิเคราะห์ปัญหาร่วมกับประชาชนเป็นการนา ข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้จากขั้นตอนการศึกษาชุมชน มาวิเคราะห์ถึงปัญหาความต้องการและสภาพที่เป็นจริง ผลกระทบ ความรุนแรง และความเสียหายต่อชุมชน กลวิธีที่สาคัญในขั้นตอนนี้ คือ การกระตุ้นให้ประชาชนได้ รู้เข้าใจ และตระหนักในปัญหาของชุมชน ซึ่งในปัจจุบันก็คือ การจัดเวทีประชาคม เพื่อค้นหาปัญหาร่วมกันของชุมชน 3.การวางแผน / โครงการ เป็นขั้นตอนให้ประชาชนร่วมตัดสินใจ และกาหนดโครงการ เป็นการ นาเอา ปัญหาที่ประชาชนตระหนัก และยอมรับว่าเป็นปัญหาของชุมชนมาร่วมกันหาสาเหตุ แนวทางแก้ไข และจัดลาดับ ความสาคัญของปัญหา และให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจที่จะแก้ไขภายใต้ขีดความสามารถของประชาชน และการ แสวงหาความช่วยเหลือจากภายนอก กลวิธีที่สาคัญในขั้นตอนนี้ คือ การให้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการแก้ไข ปัญหา วิธีการวางแผน การเขียนโครงการ โดยใช้เทคนิคการวางแผนแบบให้ประชาชนมีส่วนร่วม 4.การดาเนินงานตามแผนและโครงการ โดยมีผู้รับผิดชอบในการดาเนินการตามแผนและ โครงการที่ได้ตกลงกันไว้ กลวิธีที่สาคัญในขั้นตอนนี้ คือ การเป็นผู้ช่วยเหลือสนับสนุนใน 2 ลักษณะ คือ 4.1เป็นผู้ปฏิบัติงานทางวิชาการ เช่น แนะนาการปฏิบัติงาน ให้คาปรึกษาหารือในการ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน 4.2 เป็นผู้ส่งเสริมให้ชาวบ้านเข้ามามีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน 5. การติดตามประเมินผล เป็นการติดตามความก้าวหน้าของงานที่ดาเนินการตามโครงการ เพื่อการปรับปรุงแก้ไขปัญหา อุปสรรคที่พบได้อย่างทันท่วงที กลวิธีที่สาคัญในขั้นตอนนี้ คือ การติดตามดูแล การทางานที่ประชาชนทา เพื่อทราบผลความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรค แล้วนาผลการปฏิบัติงานตาม โครงการ หรือกิจกรรมไปเผยแพร่เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องได้ทราบ 1.2 การพัฒนาแบบมีส่วนร่วม กระบวนการมีส่วนร่วม นับเป็นหัวใจสาคัญของการพัฒนาในทุกระดับเป็นการเปิดโอกาสให้ ประชาชนร่วมคิด วิเคราะห์ ตัดสินใจ การวางแผน การปฏิบัติตามแผน การติดตามประเมินผลในกิจกรรม/
  • 15. 15 โครงการของชุมชน เป็นการสร้าง/ปลูกฝังจิตสานึกในความเป็นเจ้าของกิจกรรม/โครงการ นั้น ปัจจุบัน แนวคิดการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานพัฒนา (People Paticipation for Development) ได้รับการยอมรับและใช้เป็นแนวทางปฏิบัติในงานพัฒนาทุกภาคส่วนหรือในลักษณะเบญจ ภาคี ได้แก่ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน นักวิชาการ และประชาชน รวมพลังกันแก้ไข ปัญหาที่เกิดขึ้น ขั้นตอนการมีส่วนร่วม มี 5 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การมีส่วนร่วมในขั้นการริเริ่มการพัฒนา เป็นขั้นตอนที่ประชาชนเข้ามามีส่วน ร่วมในการค้นหาปัญหา/สาเหตุของปัญหาภายในชุมชน ตลอดจนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจกาหนดความ ต้องการของชุมชน และจัดลาดับความสาคัญของความต้องการของชุมชน ขั้นตอนที่ 2 การมีส่วนร่วมในขั้นการวางแผนในการพัฒนาซึ่งเป็นขั้นตอนของการกาหนด นโยบาย วัตถุประสงค์ของโครงการ วิธีการตลอดจนแนวทางการดาเนินงานและทรัพยากรที่จะใช้ ขั้นตอนที่ 3 การมีส่วนร่วมในขั้นตอนการดาเนินการพัฒนา เป็นส่วนที่ประชาชนมีส่วนร่วม ในการสร้างประโยชน์ให้กับชุมชน โดยได้รับการสนับสนุนด้านงบประมาณ เทคโนโลยี ฯลฯ จากองค์กรภาคีพัฒนา ขั้นตอนที่ 4 การมีส่วนร่วมในขั้นตอนรับผลประโยชน์จากการพัฒนา ซึ่งเป็นทั้งการได้รับ ผลประโยชน์ทางด้านวัตถุและทางด้านจิตใจ ขั้นตอนที่ 5 การมีส่วนร่วมในขั้นประเมินผลการพัฒนา เป็นการประเมินว่า การที่ประชาชนเข้าร่วม พัฒนา ได้ดาเนินการสาเร็จตามวัตถุประสงค์เพียงใด การประเมินอาจประเมินแบบย่อย(Formative Evaluation) เป็นการประเมินผลความก้าวหน้าเป็นระยะๆ หรืออาจประเมินผลรวม (Summative Evaluation) ซึ่งเป็นการประเมินผลสรุปรวมยอด 1.2.1 ปัจจัยส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน การที่จะให้ประชาชนมีส่วนร่วม นอกจากการปลูกฝังจิตสานึกแล้วจะต้องมีการส่งเสริมและกระตุ้นให้เกิดการมี ส่วนร่วมอย่างกว้างขวางซึ่งควรพิจารณาถึงปัจจัยต่างๆ ดังนี้ 1. ปัจจัยเกี่ยวกับกลไกของภาครัฐ ทั้งในระดับนโยบายมาตรการ และการปฏิบัติที่ เอื้ออานวย รวมทั้งการสร้างช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชน จาเป็นที่จะต้องทาให้การพัฒนาเป็นระบบ เปิดมีความเป็นประชาธิปไตย มีความโปร่งใส รับฟังความคิดเห็นของประชาชน และมีการตรวจสอบได้ 2. ปัจจัยด้านประชาชน ที่มีสานึกต่อปัญหาและประโยชน์ร่วมมีสานึกต่อความสามารถและ ภูมิปัญญาในการจัดการปัญหาซึ่งเกิดจากประสบการณ์และการเรียนรู้ ซึ่งรวมถึงการสร้างพลังเชื่อมโยงในรูป กลุ่มองค์กร เครือข่ายและประชาสังคม 3.ปัจจัยด้านนักพัฒนาและองค์กรพัฒนา ซึ่งเป็นผู้ที่มีบทบาทในการส่งเสริมกระตุ้น สร้าง จิตสานึก เอื้ออานวยกระบวนการพัฒนาสนับสนุนข้อมูลข่าวสารและทรัพยากรและร่วมเรียนรู้กับสมาชิกชุมชน 1.2.2 ปัญหาอุปสรรคที่มีต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน 1. อุปสรรคด้านการเมือง เกิดจากการไม่ได้กระจายอานาจหน้าที่ความรับผิดชอบให้แก่
  • 16. 16 ประชาชน โครงสร้างอานาจทางการเมือง การปกครอง การบริหาร เศรษฐกิจ ถูกควบคุมโดยคนกลุ่มน้อย ทหาร นายทุน และข้าราชการ ขาดกลไกที่มีประสิทธิภาพในการแจกแจงทรัพยากร 2. อุปสรรคด้านเศรษฐกิจ เกิดจากการขาดความสามารถในการพี่งตนเอง อานาจการต่อรองมี น้อย กระบวนการผลิต ปัจจัยการผลิตอยู่ภายใต้ระบบอุปถัมภ์ ความแตกต่างในสังคม ด้านรายได้ อานาจ และ ฐานะทางเศรษฐกิจ 3. อุปสรรคด้านวัฒนธรรม ขนบประเพณีในแต่ละพื้นที่ที่ทาให้ประชาชนไม่สามารถเข้ามามี ส่วนร่วมได้เนื่องจากขัดต่อขนบธรรมเนียงประเพณีของชุมชน/เผ่า 1.3 การดาเนินการโครงการกิจกรรมของกรมการพัฒนาชุมชน โครงการหรือกิจกรรมการพัฒนาชุมชน หมายถึง การกระทาใดๆ ก็ตามที่เกิดจากความคิดริเริ่มของ ประชาชน จากปัญหา/ความต้องการของประชาชน โดยการช่วยกันคิด ร่วมกันตัดสินใจ ช่วยกันวางแผน และ ร่วมกันดาเนินการของประชาชน เพื่อแก้ปัญหาและสนองความต้องการของประชาชนทั้งชุมชน หรือของ ประชาชนส่วนหนึ่งหรือกลุ่มหนึ่ง โดยมีพัฒนากรเป็นผู้เอื้ออานวยให้ประชาชนเป็นผู้ริเริ่มหรือเป็นเจ้าของ โครงการโดยมีตัวอย่างโครงการกิจกรรมที่กรมการพัฒนาชุมชนดาเนินการ ดังนี้ 1.3.1 การพัฒนาผู้นาชุมชนและอาสาสมัคร วัตถุประสงค์ เพื่อให้ประชาชนมีโอกาสเสียสละอุทิศตนเพื่อส่วนรวม มีบทบาทและส่วนร่วมใน การแก้ปัญหาและการดาเนินกิจกรรมพัฒนาของชุมชน มุ่งเน้นให้เกิดความต่อเนื่องในการรวมกลุ่ม การพัฒนา ศักยภาพ และการดาเนินกิจกรรมให้เกิดผลงานอย่างเป็นรูปธรรม 1.3.2 พัฒนากลุ่ม/องค์กร/เครือข่าย วัตถุประสงค์ เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนรวมตัวกันทากิจกรรมร่วมกันในลักษณะกลุ่ม/ องค์กรชุมชน เช่น คณะกรรมการพัฒนาสตรี กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต กลุ่มอาชีพ ฯลฯ รวมทั้งสนับสนุนให้ กลุ่ม/องค์กรชุมชน รวมตัวกันในลักษณะเครือข่ายต่างๆ เช่น สมาพันธ์องค์การพัฒนาชุมชนแห่งประเทศไทย สมาคมผู้นาอาสาพัฒนาชุมชนไทย สมาคมผู้นาสตรีพัฒนาชุมชนไทย สมาคมผู้นาอาชีพก้าวหน้า (สิงห์ทอง) 4 ภาค ศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน (ศอช.) 1.3.3 การพัฒนาแผนชุมชน วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของชุมชน ให้คนในชุมชนช่วยกันคิด ร่วมกัน ตัดสินใจ ช่วยกันวางแผน ร่วมกันดาเนินการเพื่อแก้ปัญหาและสนองความต้องการของประชาชนทั้งชุมชน ซึ่ง จะทาให้ชุมชนได้ทาความรู้จักและประเมินศักยภาพของชุมชน และกาหนดอนาคตทิศทางของชุมชน ทาให้ ชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้และสร้างชุมชนให้เข้มแข็งได้ 1.3.4 ส่งเสริมการออมทรัพย์เพื่อการผลิต วัตถุประสงค์ เพื่อกระตุ้นและส่งเสริมให้ประชาชนรวมตัวกันระดมเงินออมเพื่อเป็นทุนของ ชุมชน สนับสนุนการพัฒนาด้านการบริหารและจัดการเงินทุนในเชิงธุรกิจ เพื่อพัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิต โดยยึดหลักคุณธรรมและการพึ่งตนเองเป็นฐานไปสู่สถาบันนิติบุคคล
  • 17. 17 1.3.5 ส่งเสริมการจัดตั้งสถาบันจัดการเงินทุนชุมชน โดยการบูรณาการ เชื่อมโยงกลุ่มองค์กร กองทุน การเงินต่าง ๆ รวมกันบริหารจัดการเงินทุนในชุมชน เพื่อให้เกิดการใช้เงินทุนในชุมชนอย่างคุ้มค่า เกิด ประโยชน์สูงสุด วัตถุประสงค์ เพื่อให้การจัดการเงินทุนชุมชนเป็นระบบมีความเป็นเอกภาพสามารถแก้ไข ปัญหาพัฒนาเศรษฐกิจและพัฒนาสังคมให้ชุมชน เพื่อเป็นแหล่งเงินออม แหล่งทุน สวัสดิการของชุมชน และ เพื่อเป็นศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของชุมชน 1.3.6 ศูนย์เรียนรู้ชุมชน วัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมองค์ความรู้ที่กระจัดกระจายอยู่ในชุมชนให้เป็นระบบ สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ของคนในชุมชน และคนภายนอกชุมชน ในการพัฒนาความคิด พัฒนาอาชีพ และ รายได้ รวมทั้งแก้ไขปัญหาอื่น ๆ ของคนในชุมชน 2.การพัฒนาของภาครัฐร่วมกับองค์กรพัฒนาเอกชน และภาคประชาสังคม "ประชาสังคม" มาจากภาษาอังกฤษว่า Civil Society และมีผู้ใช้คาภาษาไทยเทียบเคียงกันหลายคา อาทิ "สังคมประชาธรรม" (ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม) "สังคมราษฎร์" (เสน่ห์ จามริก) "วีถีประชา"(ชัยอนันต์ สมุท วณิช ใช้คานี้โดยมีนัยยะของคาว่า Civic movement) "อารยสังคม" (อเนก เหล่าธรรมทัศน์) และ"สังคม เข้มแข็ง"(ธีรยุทธ บุญมี) เป็นต้น ทั้งนี้ นักคิดสาคัญ ๆ ของสังคมไทยได้อธิบายขยายความคาว่า "ประชาสังคม" หรือ Civil Society นี้ในบริบทเงื่อนไขและการให้น้าหนักที่แตกต่างกัน ดังนี้ ศ.ดร.ชัยอนันต์ สมุทวณิช มองว่า "ประชาสังคม" หมายถึง ทุก ๆ ส่วนของสังคมโดยรวมถึงภาครัฐ ภาค ประชาชนด้วย ถือว่าทั้งหมด เป็น Civil Society ซึ่งแตกต่างจากความหมายแบบตะวันตกที่แยกออกมาจาก ภาครัฐ หรือนอกภาครัฐ แต่หมายถึงทุกฝ่ายเข้ามาเป็น partnership กัน (ชัยอนันต์ สมุทวณิช 2539) โดยนัย ยะ นี้ ศ.ดร.ชัยอนันต์ สมุทวณิช ให้ความสาคัญกับ Civic movement หรือ "วิถีประชา" ที่เป็นการดาเนินกิจกรรม ของกลุ่มองค์กรต่าง ๆ โดยเอาตัวกิจกรรมเป็นศูนย์กลางปราศจากการจัดตั้ง ดังข้อเสนอที่สาคัญในเชิง ยุทธศาสต์การพัฒนา ในช่วงของการจัดทาแผน พัฒนาฯ ฉบับที่ 8 คือ Area-Function-Participation - AFP กล่าวคือจะต้องเน้นที่กระบวนการมีส่วนร่วม ในการดาเนินกิจกรรมการพัฒนาของ ทุกฝ่ายร่วมกันในระดับ พื้นที่ (ย่อย ๆ) ซึ่งในที่นี้ อาจเป็นพื้นที่จังหวัด อาเภอ ตาบล หมู่บ้าน หรือพื้นที่ในเชิงเศรษฐกิจ เช่น เขตพื้นที่ ชายฝั่งทะเล ภาคตะวันออก เป็นต้น (ชัยอนันต์ สมุทวณิช 2539) ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม ได้ให้ความหมายของ "ประชาสังคม" ว่าหมายถึง "สังคมที่ประชาชนทั่วไป ต่างมี บทบาทสาคัญในการจัดการเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับวิถีชีวิต ของประชาชน โดยอาศัยองค์กร กลไก กระบวนการ และกิจกรรมอันหลากหลาย ที่ประชาชนจัดขึ้น" โดยนัยยะของความหลากหลาย ขององค์กรนี้ไม่ว่า จะเป็น
  • 18. 18 กลุ่ม องค์กร ชมรม สมาคม ซึ่งล้วนแต่มีบทบาทสาคัญต่อการผลักดันการเปลี่ยนแปลงทางสังคมทั้งสิ้น จึงเป็น เสมือน "สังคม" ของ "ประชา" หรือ Society ของ Civil นั่นเอง อย่างไรก็ดี คุณไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม ยังเสนอ ต่อ อีกด้วยว่า "ประชาสังคม" นั้นเป็นส่วนของสังคม ที่ไม่ใช่ภาครัฐ ซึ่ง ดาเนินงานโดยอาศัยอานาจตามกฎหมาย และก็ไม่ใช่ภาคธุรกิจ ซึ่งดาเนินงานโดยมุ่งหวังผลกาไรเป็นสาคัญ สาหรับปัจจุบัน ได้มีการพัฒนาภาคประชาสังคมให้เข้มแข็ง ผ่านการพัฒนา ผู้นา กลุ่ม องค์กร เครือข่าย ต่าง ๆ รวมทั้งรูปแบบการประชาคม ที่มุ่งเน้นให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการ แก้ไขปํญหา หรือกาหนดทิศทางการพัฒนาชุมชนของตนเอง การสร้างมาตรฐานของการชี้วัดผลการพัฒนา 3.1 แนวคิดตัวชี้วัดการพัฒนาชุมชน การกาหนดตัวชี้วัดการพัฒนาประเทศเริ่มใช้ตั้งแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 1 พ.ศ.2504 เป็นต้นมา โดยใช้เป็นเครื่องมือติดตามผลการพัฒนา และได้มีการพัฒนาต่อมาเรื่อย ๆ โดยหน่วยงานที่มีหน้าที่ ดูแลรับผิดชอบผลของการพัฒนาแต่ละด้านมักเป็นผู้สร้างเครื่องมือเอง โดยมีตัวอย่างเครื่องชี้วัดการพัฒนา ประเทศ ดังนี้ 1. เครื่องชี้วัดทางเศรษฐกิจ เช่น การวัดอัตราการเจริญหรือการขยายตัวทางเศรษฐกิจ การวัดขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ การกระจายรายได้ เส้นความยากจน (proverty line) การวัดรายได้ ค่าใช้จ่ายและหนี้สินของครัวเรือน เป็นต้น 2. เครื่องชี้วัดทางสังคม เช่น เครื่องชี้วัดความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ) เครื่องชี้ภาวะสังคม ดัชนี ทางการศึกษา ตัวชี้วัดสุขภาพดีถ้วนหน้า ดัชนีความอยู่ดีมีสุขของคนไทย เป็นต้น 3. เครื่องชี้วัดทางสิ่งแวดล้อม เช่น ดัชนีชี้วัดคุณภาพสิ่งแวดล้อม เป็นต้น 3.2 เครื่องชี้วัดความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ) เครื่องชี้วัดความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ) ของครัวเรือน ถือได้ว่าเป็นเครื่องชี้วัดที่มีการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่องและนาไปใช้ประโยชน์เป็นอย่างมาก โดยเริ่มใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2528 ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติฉบับที่ 5 มีการปรับปรุงมาเป็นระยะจนปัจจุบันเป็นการจัดเก็บข้อมูลความจาเป็นพื้นฐาน ช่วง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (ปี 2555-2559) 1. ความหมายของข้อมูลความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) เป็นข้อมูลที่แสดงถึงลักษณะของสังคมไทยที่พึง ประสงค์ ตามเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่าของเครื่องชี้วัดว่า อย่างน้อยคนไทยควรจะมีระดับความเป็นอยู่ไม่ต่ากว่า ระดับไหน ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ๆ และทาให้ประชาชนสามารถทราบได้ด้วยตนเองว่า ในขณะนี้คุณภาพชีวิต ของตนเอง ครอบครัว รวมไปถึงหมู่บ้านอยู่ในระดับใด มีปัญหาที่จะต้องแก้ไขในเรื่องใดบ้าง เป็นการส่งเสริมให้ ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว และสังคม อันเป็นนโยบายสาคัญในการพัฒนา ชนบทของประเทศข้อมูลความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) คือ ข้อมูลในระดับครัวเรือนที่แสดงถึงสภาพความจาเป็น พื้นฐานของคนในครัวเรือนในด้านต่าง ๆ เกี่ยวกับคุณภาพชีวิตที่ได้กาหนดมาตรฐานขั้นต่าเอาไว้ว่า คนควรจะ
  • 19. 19 มีคุณภาพชีวิตในแต่ละเรื่องอย่างไรในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ๆ 2. หลักการของข้อมูลความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ได้แก่ 2.1 ใช้เครื่องชี้วัดความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) เป็นเครื่องมือของกระบวนการเรียนรู้ของประชาชนใน หมู่บ้าน/ชุมชน เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชน ทราบถึงสภาพความเป็นอยู่ของตนเองและชุมชนว่า บรรลุ ตามเกณฑ์ความจาเป็นพื้นฐานแล้วหรือไม่ 2.2 ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาโดยผ่านกระบวนการ จปฐ. นับตั้งแต่การกาหนด ปัญหาความต้องการที่แท้จริงของชุมชน ตลอดจนค้นหาและหาแนวทางแก้ไขปัญหา โดยใช้ข้อมูล จปฐ. ที่มีอยู่ ตลอดจนการประเมินผลการดาเนินงานที่ผ่านมา 2.3 ใช้ข้อมูล จปฐ. เป็นแนวทางในการคัดเลือกโครงการต่าง ๆ ของรัฐให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ที่แท้จริงของชุมชน สามารถใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีการ ประสานระหว่างสาขาในด้านการปฏิบัติมากขึ้น 3. วัตถุประสงค์ เพื่อให้ประชาชนสามารถพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของตนเอง และครอบครัวให้มี คุณภาพชีวิตที่ดีอย่างน้อยผ่านเกณฑ์ความจาเป็นพื้นฐาน โดยมีเครื่องชี้วัด จปฐ. เป็นเครื่องมือ 4. การกาหนดเครื่องชี้วัดความจาเป็นพื้นฐาน กาหนดขึ้นเพื่อใช้ในการชี้วัดว่าคนในแต่ละครัวเรือน ควรมีคุณภาพชีวิตขั้นต่า ในเรื่องนั้น ๆ ในช่วง ระยะเวลาหนึ่ง ๆ (ปกติจะกาหนด 5 ปี ตามระยะเวลาของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ) ตามเกณฑ์ ที่กาหนด จึงจะถือว่า “มีคุณภาพชีวิตตามเกณฑ์ความจาเป็นพื้นฐาน” 5. หัวใจของข้อมูลพื้นฐาน คืออะไร หัวใจของการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานแท้จริงแล้วอยู่ที่ “ประชาชน” ที่สามารถทราบปัญหาของ “ตนเอง” เวลาที่จัดเก็บข้อมูล ประชาชนจะทราบทันทีว่า “เขามีคุณภาพชีวิต เป็นอย่างไร ขาดข้อใด” โดย จปฐ. เป็นเสมือนวัฎจักรที่สามารถช่วยในการปรับปรุงตนเอง คาว่า “ตนเอง” ในที่นี้ยังหมายรวมถึง “ชุมชน/หมู่บ้าน ตาบล อาเภอ และจังหวัด” อีกด้วย เพราะการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล จะมีการนา ข้อมูล มาสรุปภาพรวมในแต่ละระดับ ตั้งแต่ชุมชน/หมู่บ้านเรื่อยไปจนถึงระดับจังหวัด และประเทศ 6. ประโยชน์ของข้อมูลพื้นฐาน 6.1 ประชาชนสามารถทราบว่า ตนเองมีคุณภาพชีวิตเป็นอย่างไรบ้าง ผ่านเกณฑ์หรือไม่ผ่านเกณฑ์ ใดบ้าง ทั้งนี้ไม่จาเป็นเสมอไปว่าคนรวยหรือคนที่อยู่ในเมืองใหญ่ จะมีคุณภาพชีวิตที่ดี เพราะคุณภาพชีวิต ที่ดีนั้นมิได้วัดที่รายได้เพียงอย่างเดียว 6.2 ภาคราชการ หรือภาครัฐ สามารถทราบถึงปัญหาที่แท้จริงของประชาชนว่าครอบครัว ครัวเรือน หมู่บ้าน ตาบล จังหวัดใด มีปัญหาในเรื่องอะไร เพื่อสามารถวางแผนการพัฒนาในด้านต่าง ๆ ได้ตรงกับปัญหาที่ชาวบ้านต้องการ 6.3 ภาคเอกชน สามารถนาข้อมูลมาใช้ในการตัดสินใจและวางแผนในการบริหารจัดการเพื่อลงทุน ทางธุรกิจ
  • 20. 20 7. เครื่องชี้วัดข้อมูลพื้นฐาน ช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ( พ.ศ. 2555 - 2559) เครื่องชี้วัดข้อมูลความจาเป็นพื้นฐาน ที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 11 ( พ.ศ. 2555 - 2559) มี 5 หมวด 30 ตัวชี้วัด ดังนี้ หมวดที่ 1 สุขภาพดี มี 7 ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 มีบ้านอาศัย มี 8 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 ฝักใฝ่การศึกษา มี 5 ตัวชี้วัด หมวดที่ 4 รายได้ก้าวหน้า มี 4 ตัวชี้วัด หมวดที่ 5 ปลูกฝังค่านิยมไทย มี 6 ตัวชี้วัด 3.3 เครื่องชี้วัดการพัฒนาแบบบูรณาการที่มีชุมชนเป็นศูนย์กลาง (ระบบมาตรฐานงานชุมชน) ระบบการพัฒนาประเทศที่ผ่านมาได้มีความพยายามของหน่วยงานภาครัฐในการวัด ประเมินผลของ การพัฒนา ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการวัดผลเพื่อบอกถึงผลสัมฤทธิ์ของหน่วยงาน หรือเป็นการวัดประเมินผลใน ภาพรวมของประเทศ โดยหน่วยงานเป็นผู้กาหนดตัวชี้วัด แต่ยังไม่มีการจัดทาระบบการวัดและประเมินที่ ชุมชน เป็นผู้กาหนดและนาไปสู่กระบวนการเรียนรู้และพัฒนาตนเองโดยชุมชนได้อย่างแท้จริง กรมการพัฒนาชุมชน จึงได้จัดทา “เครื่องชี้วัดการพัฒนาแบบบูรณาการที่มีชุมชนเป็นศูนย์กลาง” คือ “ระบบมาตรฐานงาน ชุมชน หรือเรียกชื่อย่อว่า “มชช.” 3.3.1 ความหมาย ระบบมาตรฐานงานชุมชน หมายถึง เครื่องมือในการสร้างกระบวนการเรียนรู้และพัฒนา ตนเองของผู้นาชุมชน, กลุ่ม/องค์กรชุมชน,เครือข่ายองค์กรชุมชน และชุมชน ไปสู่ข้อกาหนดและตัวชี้วัดที่ ก่อให้เกิดการพัฒนาอันพึงปรารถนาร่วมกันกับภาคีที่เกี่ยวข้อง บนพื้นฐานของความสมัครใจ 3.3.2 หลักการของระบบมาตรฐานงานชุมชน 1. การประสานความร่วมมือจากภาคีการพัฒนา ทั้งภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชน 2. การมีส่วนร่วมของชุมชน ชุมชนเป็นเจ้าของ ประชาชนเป็นผู้ได้รับประโยชน์ 3. ยืดหยุ่น สอดคล้องเหมาะสมกับชุมชน 4. เป็นที่ยอมรับของทุกภาคส่วน 5. ความสมัครใจของชุมชน ในการเข้าสู่ระบบมาตรฐานชุมชน 6. กระบวนการเรียนรู้ในการพัฒนาตนเอง 3.3.3 วัตถุประสงค์ของระบบมาตรฐานงานชุมชน 1. เพื่อให้ผู้นาชุมชน กลุ่ม/องค์กร เครือข่าย และชุมชน ใช้เป็นเครื่องมือและแนวทางสร้าง กระบวนการเรียนรู้ ในการประเมินและพัฒนาตนเองไปสู่ความเข้มแข็งที่ได้รับการยอมรับ
  • 21. 21 2. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้กลุ่มเป้าหมาย เกิดกระบวนการเรียนรู้ในการพัฒนาตนเองไปสู่ คุณภาพ และความสาเร็จที่ได้รับการยอมรับร่วมกันระหว่างชุมชนและภาคีที่เกี่ยวข้อง 3. เพื่อ บูรณาการการทางานระหว่างภาคีการพัฒนาและชุมชนให้มีเป้าหมายและทิศทางการ ทางานที่ชัดเจนร่วมกัน ลดความซ้าซ้อน เพิ่มประสิทธิภาพ และความคุ้มค่าในการพัฒนาไป สู่ความเข้มเข็งของ ชุมช 3.3.5 ประเภทมาตรฐานงานชุมชน มี 4 ประเภท ประเภทที่ 1 มาตรฐานผู้นาชุมชน ประกอบด้วยภาวะผู้นา 3 ด้าน 15 องค์ประกอบ ประเภทที่ 2 มาตรฐานกลุ่ม/องค์กรชุมชน ประกอบด้วยลักษณะความเข้มแข็ง 4 ด้าน 14 องค์ประกอบ ประเภทที่ 3 มาตรฐานเครือข่ายองค์กรชุมชน ประกอบด้วยลักษณะความเข้มแข็ง 4 ด้าน 17 องค์ประกอบ ประเภทที่ 4 มาตรฐานชุมชน ประกอบด้วย ลักษณะความเข้มแข็ง 7 ด้าน 21 องค์ประกอบ ผลกระทบการพัฒนาประเทศที่ผ่านมาและปัญหาอุปสรรค ผลการสัมมนาทางวิชาการเหลียวหลังแลหน้ายี่สิบปีเศรษฐกิจสังคมไทยซึ่งจัดโดยสถาบันวิจัยเพื่อการ พัฒนาประเทศไทย (TDRI) สรุปได้ ดังนี้ การเปลี่ยนแปลงของคนไทย 1. ด้านโครงสร้างประชากร อัตราการเกิดการตายของทารกลดลง อายุขัยเฉลี่ยของ ประชากรเพิ่มขึ้น ประชากรวัยทางานอายุ 23 – 45 ปี มากขั้น อีก 6 ปี ข้างหน้าสัดส่วนประชากรวัยทางาน เพิ่มขึ้นหลังจากนั้นจะลดลงประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ปัญหาแรงงานต่างด้าวจะส่งผลต่อสภาพความ เป็นอยู่ของคนไทย 2. ด้านสุขภาพ ประชาชนเข้าถึงบริการมากขึ้นแต่ยังมีความเหลื่อมล้าระหว่างคนในเมืองกับ ชนบทแต่ปัญหาสุขภาพจิตและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพมีมากขึ้น มีความพยายามในการปฏิรูประบบสุขภาพ เน้นการป้องกันมากกว่ารักษา แนวโน้มในอนาคตสุขภาวะคนไทยจะดีขึ้น ประเทศไทยจะเป็นศูนย์กลาง ทางด้านสุขภาพแต่ก็ต้องเผชิญกับปัญหาการป้องกันโรคที่มาจากการท่องเที่ยว เช่น โรค SARS ไข้หวัดนก 3. ด้านศีลธรรมและจิตใจ สังคมไทยเข้าสู่ลัทธิบริโภคนิยมเต็มขั้น วัตถุนิยม ละเลยด้าน ศีลธรรม ขาดจิตสานึกสาธารณะ บทบาทสถาบันสงฆ์อ่อนแอ และมีข้อจากัดในการพัฒนา ศีลธรรม แนวโน้ม ในอนาคต ระบบคุณค่าจริยธรรม ศีลธรรมจะไม่ดีขึ้น คุณค่าด้านวัตถุนิยม บริโภคนิยมยังไมชัดเจนว่าจะ เปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น 4. ด้านการศึกษา จานวนปีการศึกษาของคนไทย เฉลี่ยเพิ่มขึ้นเป็น 7 – 8 ปี จานวนนักเรียน สายอาชีวะลดลงจะทาให้ขาดแคลนแรงงานระดับกลางคุณภาพการศึกษาด้อยลงความรู้ทางคณิต-วิทย์ และ ภาษาอังกฤษและ IT อยู่ในระดับต่า คนไทยเลือกเรียนสายสังคมมากกว่าสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แนวโน้มในอนาคต จานวนปีการศึกษาจะเพิ่มขึ้นคุณภาพการศึกษาจะดีขึ้น การศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีมีแนวโน้มสูงขึ้นโอกาสการเรียนรู้ดีขึ้น แต่จะมีความเหลื่อมล้าจากการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้