SlideShare a Scribd company logo
1 of 160
7
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
การศึกษา เรื่อง การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ (Online)
ด้วยโปรแกรม Wordpress เรื่อง การใช้โปรเเกรม Microsoft
Office PowerPoint 2 0 0 7 เ บื้ อ ง ต้ น
สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ผู้ศึกษาได้ศึกษาเอกสารและงานศึกษาที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้
1.
การจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
2. การสร้างแผนจัดการเรียนรู้
3. การพัฒนาบทเรียนออนไลน์
4. คู่มือการใช้งาน Weblog ด้วยโปรแกรม WordPress
5. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ Microsoft Office PowerPoint
2007
6. การจัดการเรียนการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์ (Online)
7. การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
8. การหาประสิทธิภาพของนวัตกรรม
8
9. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
9.1 งานวิจัยในประเทศ
9.2 งานวิจัยต่างประเทศ
1.
การจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเป็นกลุ่มสา
ระที่ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจมีทักษะพื้นฐานที่จาเป็
นต่อการดารงชีวิตและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงสามารถนาความรู้เ
กี่ยวกับการดารงชีวิตการอาชีพและเทคโนโลยีมาใช้ประโยชน์ในก
ารทางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์แข่งขันในสังคมไทยและสากลเ
ห็นแนวทางในการประกอบอาชีพรักการทางานและมีเจตคติที่ดีต่อก
ารทางานสามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างพอเพียงและมีความ
สุข
1.1
ความสาคัญของกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโ
นโลยี
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีมุ่งพัฒนาผู้
เรียนแบบองค์รวมเพื่อให้มีความรู้ความสามารถมีทักษะในการทางา
9
นเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและการศึกษาต่อได้อย่างมีประ
สิทธิภาพโดยมีสาระสาคัญดังนี้
1.1.1
การดารงชีวิตและครอบครัวเป็นสาระเกี่ยวกับการทางานในชีวิตปร
ะจาวัน
ช่วยเหลือตนเองครอบครัวและสังคมได้ในสภาพเศรษฐกิจที่พอเพียงไ
ม่ทาลายสิ่งแวดล้อมเน้นการปฏิบัติจริงจนเกิดความมั่นใจและภูมิใจใ
นผลสาเร็จของงานเพื่อให้ค้นพบความสามารถความถนัดความสนใจ
ของตนเอง
1.1.2
การออกแบบและเทคโนโลยีเป็นสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวกับการพัฒน
าความสามารถของมนุษย์อย่างสร้างสรรค์โดยนาความรู้มาใช้กับก
ระบวนการเทคโนโลยีสร้างสิ่งของเครื่องใช้วิธีการหรือเพิ่มประสิทธิ
ภาพในการดารงชีวิต
1.13
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นสาระเกี่ยวกับกระบวนการ
เทคโนโลยี
สารสนเทศการติดต่อสื่อสารการค้นหาข้อมูลการใช้ข้อมูลและสารส
นเทศการแก้ปัญหาหรือการสร้างงานคุณค่าและผลกระทบของเทคโ
นโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
1.1.4
การอาชีพเป็นสาระที่เกี่ยวข้องกับทักษะที่จาเป็นต่ออาชีพเห็น
ความสาคัญของ
คุณธรรมจริยธรรมและเจตคติที่ดีต่ออาชีพใช้เทคโนโลยีได้เหมาะส
มเห็นคุณค่าของอาชีพสุจริตและเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ
10
1.2 คุณภาพผู้เรียนเมื่อจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
1.2.1
เข้าใจการทางานและปรับปรุงการทางานแต่ละขั้นตอน
1.2.2
เข้าใจความหมายวิวัฒนาการของเทคโนโลยีและส่วนประกอบของ
ระบบเทคโนโลยี
1.2.3
เข้าใจหลักการแก้ปัญหาเบื้องต้นมีทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ในการ
ค้นหาข้อมูลเก็บรักษาข้อมูลสร้างภาพกราฟฟิกสร้างงานเอกสารนาเ
สนอข้อมูลและสร้างชิ้นงานอย่างมีจิตสานึกและรับผิดชอบรู้และเข้า
ใจเกี่ยวกับอาชีพรวมทั้งมีความรู้ความสามารถและคุณธรรมที่สัมพั
นธ์กับอาชีพ
1.3
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพแล
ะเทคโนโลยี
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ของกลุ่มสาระกา
รเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีตามหลักสูตรแกนกลางการศึก
ษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 มีรายละเอียดดังตาราง 1
ต า ร า ง 1
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพแล
ะเทคโนโลยี
สาระ มาตราฐานการเรียนรู้
11
สาระที่
1
การดาร
งชีวิตแ
ละครอ
บครัว
มาตรฐานง 1.1 เข้าใจการทางานมีความคิดสร้างสรรค์
มีทักษะกระบวนการทางานทักษะการจัดการ
ทักษะการแก้ปัญหาทักษะการทางานร่วมกันและทักษะ
การแสวงหาความรู้มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการ
ทางานมีจิตสานึกในการใช้พลังงานทรัพยากรและสิ่งแว
ดล้อม
เพื่อการดารงชีวิตและครอบครัว
สาระที่
2
การออ
กแบบแ
ละเทคโ
นโลยี
มาตรฐานง 2.1
เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยีออกแบบแ
ละสร้างสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการตามกระบวนการเทค
โนโลยีอย่างมีความคิดสร้างสรรค์เลือกใช้เทคโนโลยีใน
ทางสร้างสรรค์ต่อชีวิตสังคมสิ่งแวดล้อมและมีส่วนร่วมใน
การจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืน
สาระที่
3
เทคโนโ
ลยีสาร
สนเทศ
และการ
สื่อสาร
มาตรฐานง 3.1
เข้าใจเห็นคุณค่าและใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเ
ทศในการสืบค้นข้อมูลการเรียนรู้
การสื่อสารการแก้ปัญหาการทางานและอาชีพอย่างมีปร
ะสิทธิภาพและมีคุณธรรม
สาระที่
4
การอา
ชีพ
มาตรฐานง 4.1 เข้าใจมีทักษะที่จาเป็นมีประสบการณ์
เห็นแนวทางในงานอาชีพใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชี
พ
มีคุณธรรมและมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ
12
จ า ก ต า ร า ง 1
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพแล
ะเทคโนโลยีสรุปได้ว่ากลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโน
โลยีเป็นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจมีทักษ
ะพื้นฐานที่จาเป็นต่อการดารงชีวิตและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงสาม
ารถนาความรู้เกี่ยวกับการดารงชีวิตการอาชีพและเทคโนโลยีมาใช้
ประโยชน์ในการทางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์รักการทางานแล
ะมีเจตคติที่ดีต่อการทางานสามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างพ
อเพียงและมีความสุข
1.4 ส า ร ะ ม า ต ร ฐ า น ก า ร เรี ย น รู้ แ ล ะ ตั ว ชี้ วั ด
ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กาหนดไว้ของกลุ่มสาระกา
รเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีระดับชั้นประถมศึกษาปีที่4ตา
มหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
มีรายละเอียด ดังตาราง 2
ต า ร า ง 2
สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นประถมศึกษาปีที่5
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงาน อาชีพและเทคโนโลยี
สาระ /มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
สาระที่ 1
การดารงชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน ง1.1 เข้าใจการทางาน
1.
อธิบายเหตุผลในการทางานให้บ
รรลุเป้าหมาย
13
มีความคิดสร้างสรรค์
มีทักษะกระบวนการทางานทักษะ
การจัดการ
ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา
ทักษะการทางานร่วมกัน
และทักษะการแสวงหาความรู้มีคุ
ณธรรมและลักษณะนิสัยในการ
ทางาน
มีจิตสานึกในการใช้พลังงาน
ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม
เพื่อการดารงชีวิตและครอบครัว
2.
ทางานบรรลุเป้าหมายที่วางไว้อย่
างเป็นขั้นตอนด้วยความขยันอด
ทนรับผิดชอบ และซื่อสัตย์
3.
ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการ
ทางาน
4. ใช้พลังงานและทรัพยากร
ในการทางานอย่างประหยัด
และคุ้มค่า
สาระที่ 2
การออกแบบและเทคโนโลยี
มาตรฐาน ง 2.1
เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการ
เทคโนโลยี
ออกแบบและสร้างสิ่งของเครื่องใ
ช้ หรือวิธีการ
ตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่าง
มีความคิดสร้างสรรค์
เลือกใช้เทคโนโลยีในทางสร้างส
รรค์ต่อชีวิต
สังคมสิ่งแวดล้อมและมีส่วนร่วมใน
การจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืน
สาระ /มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
สาระที่ 3
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อ
สารมาตรฐาน ง 3.1เข้าใจ
เห็นคุณค่า
1. บอกชื่อและหน้าที่ของอุปกรณ์
เทคโนโลยีสารสนเทศ
2. บอกหลักการทางานเบื้องต้น
ของคอมพิวเตอร์
14
และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสาร
สนเทศในการสืบค้นข้อมูล
การเรียนรู้ การสื่อสาร
การแก้ปัญหา
การทางานและอาชีพอย่างมีประสิ
ทธิภาพ ประสิทธิผล
และมีคุณธรรม
3.
บอกประโยชน์และโทษจากการใ
ช้งานคอมพิวเตอร์
4.
ใช้ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
เพื่อการทางาน
5.
สร้างภาพหรือชิ้นงานจากจินตน
าการโดยใช้โปรแกรมกราฟิกด้ว
ยความรับผิดชอบ
สาระที่ 4 การอาชีพ
มาตรฐาน ง4.1
เข้าใจมีทักษะที่จาเป็นมีประสบกา
รณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ
ใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพ
มีคุณธรรม
และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ
1.
อธิบายความหมายและความสาคั
ญของอาชีพ
จ า ก ต า ร า ง 2
สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นประถมศึกษาปีที่4
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีสรุปได้ว่ากลุ่มสา
ระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีมุ่งพัฒนานักเรียนให้มีค
วามรู้ความสามารถในการทางานมีแนวทางในการเข้าสู่อาชีพและก
ารศึกษาต่อได้
15
1.5
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยการเรียนรู้สาระการเรียนรู้
และจานวนชั่วโมงวิชาคอมพิวเตอร์ชั้นประถมศึกษาปีที่4
ผู้ศึกษาได้ออกแบบหน่วยการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ชั้นประ
ถมศึกษาปีที่4โดยได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยการเรียนรู้สา
ระการเรียนรู้และจานวนชั่วโมง ดังตาราง 3
ต า ร า ง 3
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยการเรียนรู้สาระการเรียนรู้
และจานวนชั่วโมงวิชา คอมพิวเตอร์ชั้นประถมศึกษาปีที่4
หน่วยการเรียน สาระการเรียนรู้
เว
ลา
1. รู้ จั ก กั บ โ ป ร แ ก ร ม
Microsoft Office
PowerPoint
1. ก า ร เรี ย ก ใ ช้ โ ป ร แ ก ร ม
Microsoft Office PowerPoint
2007
2.
ส่วนประกอบและหน้าที่ของส่วนป
ร ะ ก อ บ ห น้ า ต่ า ง โ ป ร แ ก ร ม
Microsoft Office PowerPoint
2007
2
16
3. การสร้างงานจากสไลด์เปล่า
4.
การจัดเก็บเอกสารและการเปิดไฟ
ล์เอกสาร
หน่วยการเรียน สาระการเรียนรู้
เว
ลา
2. เริ่มต้นสร้างงานนาเสนอ
(Microsoft Office
PowerPoint 2007)
1.การเปิดไฟล์งานนาเสนอ(Micr
osoft Office PowerPoint
2007)
2.การสร้างสไลด์จากชุดรูปแบบ
3.เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์
4.การสร้างสไลด์เคลื่อนไหว
2
3.การตกแต่งงานนาเสนอด้
วยภาพ
1. การแท รกรูปภาพ รูปร่าง
และข้อความศิลป์
2.
การทารูปภาพและรูปร่างเคลื่อนไ
หว
3. การกาหนดรูปแบบของภาพ
4. การเปลี่ยนโหมดสีของรูปภาพ
2
4.การแทรกมัลติมีเดียและก
ารเชื่อมโยงหลายมิติ
1. การแทรกเสียง
2. การแทรกวิดีโอ
3. การเชื่อมโยงหลายมิติ
2
17
1.6
ความสัมพันธ์ระหว่างสาระมาตรฐานการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้สา
ระการเรียนรู้และผลการเรียนที่คาดหวังของบทเรียนออนไลน์
(Online) ด้วยโปรแกรม Wordpressเรื่อง การใช้โปรเเกรม
Microsoft Office PowerPoint 2 0 0 7 เ บื้ อ ง ต้ น
สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ผู้ศึกษาได้วิเคราะห์ผลการเรียนที่คาดหวังของบทเรียนออนไลน์(O
nline)ด้วยโปรแกรม Wordpress เรื่อง การใช้โปรเเกรม Microsoft
Office PowerPoint 2 0 0 7 เ บื้ อ ง ต้ น
ส า ห รั บ นั ก เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4
โดยศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยการเรียนรู้สาระการเรียนรู้แล
ะผลการเรียนที่คาดหวังดังตาราง 4
ต า ร า ง 4
ความสัมพันธ์ระหว่างสาระ/มาตรฐานการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้สา
ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ แ ล ะ
ผลการเรียนที่คาดหวังของบทเรียนออนไลน์(Online)ด้วยโปรแกรม
Wordpressเรื่อง การใช้โปรเเกรม Microsoft Office PowerPoint
2007 เบื้องต้น สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
สาระ/
มาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
18
มาตรฐาน ง 3.1
เข้าใจ
เห็นคุณค่าและใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล
การเรียนรู้ การสื่อสาร
การแก้ปัญหาการทางานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพประสิทธิผลและมีคุณธ
รรม
ตารางที่ 4 (ต่อ)
สาระ/
มาตรฐ
านการเ
รียนรู้
หน่วย
การเรี
ยนรู้
สาระการเรี
ยนรู้
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ส่วนประกอ
บหน้าต่างโ
ปรแกรม
Microsoft
Office
PowerPoi
nt 2007
1.นักเรียนสามารถอธิบายเกี่ยวกับส่
วนประกอบและหน้าที่ของส่วนประ
กอบหน้าต่างโปรแกรม Microsoft
Office PowerPoint 2007 ได้
19
การสร้างงา
นจากสไลด์
เปล่า
1.นักเรียนเข้าใจและสามารถอธิบา
ยเกี่ยวกับเมนูมุมมองและสามารถนา
เสนอภาพนิ่งได้
การบันทึกไ
ฟล์
1.นักเรียนสามารถบันทึกงานที่นักเ
รียนทาขึ้นได้
การเปิดไฟ
ล์งานนาเส
นอ
1.นักเรียนเข้าใจและสามารถเปิดไ
ฟล์นาเสนอ Microsoft Office
PowerPoint 2007 ได้
การสร้างสไ
ลด์จากชุดรู
ปแบบ
1.นักเรียนเข้าใจและสามารถสร้างส
ไลด์จากชุดรูปแบบได้
เปลี่ยนพื้นห
ลังสไลด์
1.นักเรียนเข้าใจและสามารถเปลี่ย
นพื้นหลังสไลด์ได้
ตาราง 4 (ต่อ)
สาระ/
มาตรฐา
นการเรี
ยนรู้
หน่วย
การเรี
ยนรู้
สาระการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
การสร้างสไลด์เ
คลื่อนไหว
1.นักเรียนเข้าใจและสามาร
ถสร้างสไลด์เคลื่อนไหวได้
การแทรกรูปภา 1.นักเรียนเข้าใจและสามาร
20
พ รูปร่าง
และข้อความศิล
ป์
ถแทรกรูปภาพ รูปร่าง
และข้อความศิลป์ได้
การทารูปภาพแ
ละรูปร่างเคลื่อน
ไหว
1.นักเรียนเข้าใจและสามาร
ถทารูปภาพและรูปร่างเคลื่อ
นไหวได้
การกาหนดรูปแ
บบของภาพ
1.นักเรียนเข้าใจและสามาร
ถกาหนดรูปแบบของภาพได้
การเปลี่ยนโหมด
สีของรูปภาพ
1.นักเรียนเข้าใจและสามาร
ถเปลี่ยนโหมดสีของภาพได้
ได้
การแทรกเสียง 1.นักเรียนสามารถแทรกเสีย
งได้
การแทรกวีดีโอ 1.นักเรียนสามารถแทรกวิดี
โอได้
การสร้างปุ่มในก
ารเชื่อมโยงแบบ
ต่างๆ
1.นักเรียนสามารถสร้างปุ่มใ
นการเชื่อมโยงแบบต่างๆ ได้
วัดผลสัมฤทธิ์ทา
งการเรียน
1.
นักเรียนสามารถทาแบบทด
สอบหลังเรียนผ่านเกณฑ์ขั้น
ต่าได้
1.7
ความสัมพันธ์ระหว่างแผนการจัดการเรียนรู้ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
จุดประสงค์และจานวนชั่วโมงของบทเรียนออนไลน์(Online)ด้วยโป
21
รแกรม Wordpress เรื่อง การใช้โปรเเกรม Microsoft Office
PowerPoint 2007 เบื้องต้น สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ผู้ศึกษาได้วิเคราะห์จุดประสงค์การเรียนรู้ของบทเรียนออนไลน์
(Online) ด้วยโปรแกรม Wordpressเรื่อง การใช้โปรเเกรม
Microsoft Office PowerPoint 2 0 0 7 เ บื้ อ ง ต้ น
ส า ห รั บ นั ก เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4
โดยศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแผนการจัดการเรียนรู้ผลการเรียนรู้
ที่คาดหวังจุดประสงค์และจานวนชั่วโมง ดังตาราง 5
ต า ร า ง 5
ความสัมพันธ์ระหว่างแผนการจัดการเรียนรู้ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
จุดประสงค์และจานวนชั่วโมงของบทเรียนออนไลน์(Online)ด้วยโป
รแกรม Wordpressเรื่อง การใช้โปรเเกรม Microsoft Office
PowerPoint 2007 เบื้องต้น สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
แผนการจัด
การเรียนรู้
ที่/เรื่อง
ผลการเรียนรู้ที่คาดห
วัง
จุดประสงค์การเรียนรู้
จา
น
ว
น
ชั่
ว
โ
ม
ง
22
1.
ปฐมนิเทศ
/ทดสอบก่อ
นเรียนรู้จัก
กับโปรแกร
ม
Microsoft
OfficePow
erPoint
2007
1.
นักเรียนมีความรู้ควา
มเข้าใจในการเรียน
ด้วยบทเรียนออนไล
น์
(Online)ด้วยโปรแก
รม Wordpressเรื่อง
การใช้โปรเเกรม
Microsoft Office
PowerPoint 2007
เบื้องต้น
สาหรับนักเรียนชั้นป
ระถมศึกษาปีที่ 4
2.
นักเรียนมีความรู้พื้น
ฐานเกี่ยวกับโปรแกร
ม Microsoft Office
PowerPoint 2007
1.
บอกแนวปฏิบัติการเรียนบ
ทเรียนออนไลน์ (Online)
ด้วยโปรแกรม
Wordpressเรื่อง
การใช้โปรเเกรม
Microsoft Office
PowerPoint 2007
เบื้องต้น
สาหรับนักเรียนชั้นประถม
ศึกษาปีที่ 4
2.
บอกผลการเรียนรู้ที่คาดห
วังและจุดประสงค์ในการเ
รียนด้วยบทเรียนออนไลน์
(Online)ด้วยโปรแกรม
Wordpressเรื่อง
การใช้โปรเเกรม
Microsoft Office
PowerPoint 2007
เบื้องต้น
สาหรับนักเรียนชั้นประถม
ศึกษาปีที่ 4
2
23
ตารางที่ 5 (ต่อ)
แผนการจัด
การเรียนรู้ที่/เ
รื่อง
ผลการเรียนรู้
ที่คาดหวัง
จุดประสงค์การเรียนรู้
จา
น
ว
น
ชั่
วโ
มง
3.
ทราบความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกา
รใช้โปรแกรม Microsoft
Office
PowerPoint 2007 เบื้องต้น
4.นักเรียนสามารถเปิด-
ปิดโปรแกรม Microsoft
Office PowerPoint 2007
ได้
5.
นักเรียนสามารถอธิบายเกี่ยวกั
บส่วนประกอบและหน้าที่
6.
นักเรียนเข้าใจและสามารถอธิ
บายเกี่ยวกับเมนูมุมมองและสา
24
มารถนาเสนอภาพนิ่งได้
7.
นักเรียนสามารถบันทึกงานที่นั
กเรียนทาขึ้นได้
2.เริ่มต้นสร้า
งงานนาเสนอ
(Microsoft
OfficePowe
rPoint
2007)
1.
นักเรียนสามา
รถเริ่มต้นสร้าง
งานนาเสนอ
(Microsoft
Office
PowerPoint
2007)
1.
นักเรียนเข้าใจและสามารถเปิ
ดไฟล์นาเสนอ Microsoft
Office PowerPoint 2007 ได้
2.
นักเรียนเข้าใจและสามารถสร้
างสไลด์จากชุดรูปแบบได้
3.
นักเรียนเข้าใจและสามารถเปลี่
ยนพื้นหลังสไลด์ได้
4.
นักเรียนเข้าใจและสามารถสร้
างสไลด์เคลื่อนไหวได้
2
ตารางที่ 5 (ต่อ)
แผนการจัด
การเรียนรู้ที่/เรื่อง
ผลการเรียนรู้ที่คาด
หวัง
จุดประสงค์การเรียน
รู้
จา
น
ว
25
น
ชั่
ว
โ
ม
ง
3.
การตกแต่งงานนา
เสนอด้วยภาพ
1.
นักเรียนเข้าใจและส
ามารถตกแต่งงาน
นาเสนอ (Microsoft
Office
PowerPoint 2007)
1.
นักเรียนเข้าใจและส
ามารถแทรกรูปภาพ
รูปร่าง
และข้อความศิลป์ได้
2.
นักเรียนเข้าใจและส
ามารถทารูปภาพแล
ะรูปร่างเคลื่อนไหวไ
ด้
3.
นักเรียนเข้าใจและส
ามารถกาหนดรูปแบ
บของภาพได้
4.
นักเรียนเข้าใจและส
ามารถเปลี่ยนโหมด
สีของภาพได้ได้
2
4.การแทรกมัลติมีเ
ดีย
และการเชื่อมโยง
หลายมิติและวัดผล
1.
นักเรียนสามารถการ
แทรกมัลติมีเดียและ
การ
1.นักเรียนสามารถแ
ทรกเสียงได้
2.
นักเรียนสามารถแท
2
26
สัมฤทธิ์ทางการเรี
ยน
เชื่อมโยงหลายมิติ
2.
นักเรียนสามารถทา
แบบทดสอบหลังเรีย
นผ่านเกณฑ์ขั้นต่าไ
ด้
รกวิดีโอได้
3.นักเรียนสามารถส
ร้างปุ่มในการเชื่อมโ
ยงแบบต่างๆ ได้
4.
นักเรียนสามารถทา
แบบทดสอบหลังเรีย
นได้ผ่านเกณฑ์ทุกค
น
รวมจานวนชั่วโมง 8
2. การสร้างแผนจัดการเรียนรู้
แ ผ น ก า ร ส อ น คื อ
ก า ร น า วิ ช า ห รื อ ก ลุ่ ม ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ที่ ต้ อ ง ท า ก า ร ส อ น
ตลอดภาคเรียนมาสร้างเป็นแผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
การใช้ สื่อ อุป กรณ์ ก ารสอน การวัด แล ะการป ระเมิน ผ ล
สาหรับเนื้อหาสาระและจุดประสงค์การเรียนการสอนย่อยๆ
ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์หรือจุดเน้นของหลักสูตร สภาพผู้เรียน
ค ว า ม พ ร้ อ ม ข อ ง โ ร ง เ รี ย น ใ น ด้ า น วั ส ดุ อุ ป ก ร ณ์
แ ล ะต รงกั บ ชี วิต จ ริงใ น ท้ อ งถิ่ น ซึ่ งถ้ าก ล่ าวอี ก นั ย ห นึ่ ง
แ ผ น ก า ร ส อ น คื อ
การเตรียมการสอนเป็นลายลักษณ์ อักษรไว้ล่วงหน้า หรือ
คือการบันทึกการสอนตามปกตินั่นเอง (กรมวิชาการ. 2545 : 3)
27
นิ ค ม ช ม ภู ห ล ง ( 2545 : 180)
ให้ความหมายของแผนการสอนว่า แผนการสอน หมายถึง
แ ผ น ก า ร ห รื อ โ ค ร ง ก า ร ที่ จั ด ท า เป็ น ล า ย ลั ก ษ ณ์ อั ก ษ ร
เพื่ อ ใ ช้ ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ก าร ส อ น ใ น ร า ย วิ ช า ใ ด วิ ช า ห นึ่ ง
เป็นการเตรียมการสอนอย่างมีระบบและเป็นเครื่องมือช่วยให้ครูพัฒ
นาการจัดการเรียนการสอนไปสู่จุดประสงค์และจุดมุ่งหมายของหลั
กสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ภ พ เ ล า ห ไ พ ฑู ร ย์ ( 2540 : 357)
ใ ห้ ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง แ ผ น ก า ร ส อ น ว่ า แ ผ น ก า ร ส อ น
หมายถึงลาดับขั้นตอนและกิจกรรมทั้งหมดของผู้สอนและผู้เรียน
ที่ผู้สอนกาหนดไว้เป็นแนวทางในการจัดสถานการณ์ให้ผู้เรียนเปลี่
ยนพฤติกรรมไปตามวัตถุประสงค์
ฒ น า พ ร ร ะ งั บ ทุ ก ข์ ( 2542 : 1)
ให้ความหมายของแผนการสอนว่าแผนการสอน หมายถึง
แ ผ น ก า ร ห รื อ โ ค ร ง ก า ร ที่ จั ด ท า เป็ น ล า ย ลั ก ษ ณ์ อั ก ษ ร
เพื่ อ ใ ช้ ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ก าร ส อ น ใ น ร า ย วิ ช า ใ ด วิ ช า ห นึ่ ง
เป็นการเตรียมการสอนอย่างมีระบบและเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ครูพั
ฒ นาการจัดการเรียนการสอนไปสู่จุดประสงค์การเรียนรู้
และจุดหมายของหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2543 : 133)
ใ ห้ ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง แ ผ น ก า ร ส อ น ว่ า ห ม า ย ถึ ง
การวางแผนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อเป็นแนวดาเนินการจั
ดกิจกรรมการเรียนการสอนแต่ละครั้งโดยกาหนดสาระสาคัญ
จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ เนื้ อ ห า กิ จ ก ร ร ม ก า ร เรี ย น ก า ร ส อ น สื่ อ
ตลอดจนการวัดผลและการประเมินผล
ส ถ า บั น พั ฒ น า ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ( 2545 : 69)
ได้ให้ความหมายของแผนการจัดการเรียนรู้ว่าเป็นแผนงานหรือโค
รงการที่ครูผู้สอนได้เตรียมการจัดการเรียนรู้ไว้ล่วงหน้าเป็นลายลัก
ษ ณ์ อั ก ษ ร
28
เพื่อใช้ปฏิบัติการเรียนรู้ในรายวิชาใดวิชาหนึ่งอย่างเป็นระบบระเบี
ย บ
โดยใช้เป็นเครื่องมือสาหรับจัดการเรียนรู้เพื่อนาผู้เรียนไปสู่จุดประส
งค์การเรียนรู้และจุดหมายของหลักสูตรอย่างมีประสิทธิภาพ
ก ร ม วิ ช า ก า ร ( 2545 : 73)
ไ ด้ ใ ห้ ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง แ ผ น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้
คือผลของการเตรียมการวางแผนการจัดการเรียนการสอนอย่างเป็
นระบบโดยนาสาระและมาตรฐานการเรียนรู้คาอธิบายรายวิชา
แ ล ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร เ รี ย น รู้
โดยเขียนเป็นแผนการจัดการเรียนรู้ให้เป็นไปตามศักยภาพของผู้เรี
ยน
ส รุ ป ว่ า แ ผ น ก า ร ส อ น คื อ
การวางแผนการจัดกิจกรรมเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ล่วงหน้าอย่างล
ะเอียด เพื่อเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ซึ่ ง มี เนื้ อ ห า กิ จ ก ร ร ม ก า ร เรี ย น ก า ร ส อ น สื่ อ ก า ร ส อ น
และวิธีวัดผลประเมินผลที่ชัดเจน
2.1 ความสาคัญของแผนการจัดการเรียนรู้
สุพล วังสินธ์ (2536 : 5–6) กล่าวว่า
แผนการจัดการเรียนรู้เป็นกุญแจดอกสาคัญที่ทาให้การเรียนการสอ
นมีประสิทธิภาพมากขึ้นซึ่งสรุปความไว้ ดังนี้
1. ทาให้เกิดการวางแผนวิธีเรียนที่ดี
ผสมผสานความรู้และจิตวิทยาการศึกษา
2.
ช่วยให้ครูมีคู่มือการสอนที่ทาด้วยตนเองล่วงหน้ามีความมั่นใจในก
ารสอน
3. ส่งเสริมให้ครูมีความรู้ความเข้าใจในด้านของหลักสูตร
วิธีสอนการวัดผลและประเมินผล
29
4. เป็นคู่มือสาหรับผู้มาสอนแทน
5. เป็นหลักฐานแสดงข้อมูลที่ถูกต้องเที่ยงตรง
เป็นประโยชน์ต่อวงการศึกษา
6.
เป็นผลงานทางวิชาการแสดงความชานาญความเชี่ยวชาญของผู้
ทา
2.2 ลักษณะที่ดีของแผนการจัดการเรียนรู้
สมนึก ภัททิยธนี (2546 : 5)
ได้กล่าวถึงลักษณะที่ดีของแผนต้องมีขั้นตอน ดังนี้
1. เนื้อหาต้องเขียนเป็นรายคาบ หรือรายชั่วโมงตารางสอน
โดยเขียนให้สอดคล้องกับชื่อเรื่องให้อยู่ในโครงการสอน
แ ล ะ เ ขี ย น เ ฉ พ า ะ เ นื้ อ ห า ส า ร ะ ส า คั ญ พ อ สั ง เ ข ป
(ไ ม่ ค ว ร บั น ทึ ก แ ผ น ก า ร ส อ น อ ย่ า ง ล ะ เอี ย ด ม า ก ๆ
เพราะจะทาให้เกิดความเบื่อหน่าย)
2. ความคิดรวบยอด (Concept) หรือหลักการสาคัญ
ต้องเขียนให้ตรงกับเนื้อหาที่จะสอนส่วนนี้ถือว่าเป็นหัวใจของเรื่องค
รูต้องทาความเข้าใจในเนื้อหาที่จะสอนจนสามารถเขียนความคิดรว
บยอดได้อย่างมีคุณภาพ
3. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ต้องเขียนให้สอดคล้อง
ก ล ม ก ลื น กั บ ค ว า ม คิ ด ร ว บ ย อ ด
มิใช่เขียนตามอาเภอใจไม่ใช่เขียนสอดคล้องเฉพาะเนื้อหาที่จะสอน
เท่านั้นเพราะจะได้เฉพาะพฤติกรรมที่เกี่ยวกับความรู้ความจา
สมองหรือการพัฒนาของนักเรียนจะไม่ได้รับการพัฒนาเท่าที่ควร
4. กิจกรรมการเรียนการสอน โดยยึดเทคนิคการสอนต่างๆ
ที่จะช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้
30
5. สื่ อ ที่ ใ ช้ ค ว ร เลื อ ก ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ เนื้ อ ห า
สื่อดังกล่าวต้องช่วยให้นักเรียนเกิดความเข้าใจในหลักการได้ง่าย
6. วัดผลโดยคานึงถึงเนื้อหา ความคิดรวบยอด
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมและช่วงที่ทาการวัด (ก่อนเรียน
ระหว่างเรียน หลังเรียน)
เพื่อตรวจสอบว่าการสอนของครูบรรลุจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้หรือไม่
2.3 ประโยชน์ของแผนการจัดการเรียนรู้
ถ้าครูได้ทาแผนการสอนและใช้แผนการสอนที่จัดทาขึ้น
เ พื่ อ น า ไ ป ใ ช้ ส อ น ใ น ค ร า ว ต่ อ ไ ป
แ ผ น ก า ร ส อ น ดั ง ก ล่ า ว จ ะ เ กิ ด ป ร ะ โ ย ช น์ ดั ง นี้
(สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. 2544 : 134)
1. ครูรู้วัตถุประสงค์ของการสอน
2. ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยความมั่นใจ
3.
ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน
4. ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพ
5. ถ้าครูประจาชั้นไม่ได้สอน
ครูที่มาทาการสอนแทนสามารถสอนแทนได้ตาม
2.4 จุดประสงค์ที่กาหนด
2.4.1 การวางแผนการจัดการเรียนรู้
ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ห ม า ย ถึ ง
ก า ร ตี ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ห ลั ก สู ต ร
และการกาหนดรายละเอียดของหลักสูตรที่จะต้องนามาจัดการเรียน
ก า ร ส อ น ใ ห้ แ ก่ ผู้ เ รี ย น
ผ ล จ า ก ก า ร ว า ง แ ผ น จ ะ ไ ด้ คู่ มื อ ที่ ใ ช้ เป็ น แ น ว ท า ง
31
เรี ย ก ว่ า ก า ห น ด ก า ร ส อ น ป ร ะก อ บ ด้ ว ย กิ จ ก ร ร ม ดั ง นี้
(สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. 2544 : 2 – 7)
1. ศึกษาวิเคราะห์หลักสูตร ได้แก่ หลักการ จุดหมาย
โ ค ร ง ส ร้ า ง
เวลาเรียนแนวดาเนินการในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ต
อบสนองจุดประสงค์การเรียนรู้ และจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
ก า ร วั ด แ ล ะ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ก า ร เ รี ย น
ค า อ ธิ บ า ย ใ น แ ต่ ล ะ ก ลุ่ ม ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
ซึ่ ง ร ะ บุ เ นื้ อ ห า ที่ ต้ อ ง ใ ห้ นั ก เ รี ย น ไ ด้ เ รี ย น
ตามลาดับขั้นตอนกระบวนการที่ต้องให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติ
และจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ต้องการให้เกิดการเรียนรู้
2.
ศึกษาความสอดคล้องสัมพันธ์กันกับองค์ประกอบแต่ละส่วนของหลัก
สูตร
3.
ลาดับความคิดรวบยอดที่จัดให้นักเรียนแต่ละระดับชั้นได้เรียนรู้ก่อน
ห ลั ง โ ด ย พิ จ า ร ณ า ข อ บ ข่ า ย เ นื้ อ ห า
และกิจกรรมที่กาหนดไว้ในคาอธิบายรายวิชา
4. ก า ห น ด ผ ล ที่ ต้ อ ง ก า ร ใ ห้ เกิ ด กั บ นั ก เรี ย น
เมื่อได้เรียนรู้ความคิดรวบยอดแต่ละเรื่องแล้ว
5.
กาหนดกิจกรรมการเรียนการสอนตามลาดับขั้นตอนที่กาหนดไว้ใน
คาอธิบาย
รายวิชา หรืออาจพิจารณาจากกิจกรรมที่เหมาสมกับเนื้อหาสาระ
6.
กาหนดเวลาเรียนให้เหมาะสมกับขอบข่ายเนื้อหาสาระหรือความคิด
รวบยอดจุดประสงค์การเรียนรู้และกิจกรรมที่กาหนดไว้
32
7. ร ว บ ร ว ม ร า ย ล ะ เอี ย ด ต า ม กิ จ ก ร ร ม ข้ อ 1 - 6
จัดทาเป็นเอกสารที่เรียกว่ากาหนดการสอนหรือแนวการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอน ใช้เป็นแนวทางในการเตรียมแผนการสอนต่อไป
2.4.2 การเตรียมการสอนและการปฏิบัติการสอน
การเตรียมการสอน เริ่มด้วยการจัดทาแผ น การสอน
ซึ่งเป็นผลมาจากการวางแผน มาสร้างเป็นแผนการสอนย่อยๆ
องค์ประกอบที่สาคัญของแผนการสอน ควรมีดังนี้ (สาลี รักสุทธี
และคณะ.2541 : 7)
1. สาระสาคัญ
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
3. เนื้อหา
4. กิจกรรมการเรียนการสอน
5. สื่อการเรียนการสอน
6. การวัดและประเมินผลการเรียน
2.5 รายละเอียดแผนการเรียนรู้
แผนการเรียนรู้ (Lesson Plan) ประกอบด้วย 9 หัวข้อ
โดยการบูรณาการของหน่วยศึกษานิเทศก์ (สาลี รักสุทธี และคณะ.
2541 : 136 – 137)
1. สาระสาคัญ (Concept)
เป็นความคิดรวบยอดหรือหลักการของเรื่องหนึ่งที่ต้องการให้เกิดกั
บนักเรียน เมื่อเรียนตามแผนกาสอนแล้ว
2. จุดประสงค์การเรียนรู้ (Learning Objective)
เป็นการกาหนดจุดประสงค์ที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน
เมื่อเรียนจบตามแผนการสอนแล้ว
3. เนื้อหา (Content)
เป็นเนื้อหาที่จัดกิจกรรมและต้องการให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้
33
4. กิจกรรมการเรียนการสอน (Instructional Activities)
เป็นการสอนขั้นตอนหรือกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ซึ่งนาไปสู่จุดประสงค์ที่กาหนด
5. สื่อและอุปกรณ์ (Instructional Media) เป็นสื่อ
และอุปกรณ์ที่ใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน
ที่กาหนดไว้ในแผนการสอน
6. การวัดผลและประเมินผล (Measurement and
Evaluation) เป็นการกาหนดขั้นตอนหรือวิธีการวัดและประเมินผล
ว่านักเรียนบรรลุจุดประสงค์ตามที่ระบุไว้ในกิจกรรมการเรียนการส
อน แยกเป็นก่อนสอน ระหว่างสอน และหลังสอน
7. กิจกรรมเสนอแนะ
เป็นกิจกรรมที่บันทึกการตรวจแผนการสอน
8. ข้อเสนอแนะของผู้บังคับบัญชา
เป็นการบันทึกตรวจแผนการสอนเพื่อเสนอแนะหลังจากได้ตรวจสอ
บความถูกต้อง การกาหนดรายละเอียดในหัวข้อต่างๆ
ในแผนการสอน
9. บันทึกการสอน เป็นการบันทึกของผู้สอน
หลังจากนาแผนการสอนไปใช้แล้วเพื่อเป็นการปรับปรุงและใช้ในค
ราวต่อไป มี 3 หัวข้อ คือ
9.1 ผลการเรียน
เป็นการบันทึกผลการเรียนด้านสุขภาพและปริมาณทั้ง3 ด้าน
คือด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย
ซึ่งกาหนดในขั้นกิจกรรมการเรียนการสอนและการประเมิน
9.2 ปัญหาและอุปสรรค เป็นการบันทึก
ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในขณะสอน ก่อนสอน
และหลังทาการสอน
34
9.3 ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
เป็นการบันทึกข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไขปรับปรุงการเรียนการสอน
ให้เกิดการเรียนรู้ บรรลุจุดประสงค์ของบทเรียนที่หลักสูตรกาหนด
2.6 รูปแบบของแผนการเรียนรู้
สาลี รักสุทธี และคณะ (2541 : 136 – 137)
ได้เสนอรูปแบบแผนการเรียนรู้ดังตัวอย่าง
ตัวอย่างรูปแบบแผนการเรียนรู้
หน่วยการสอนที่……………………………………………
………………………………….........
หน่วยย่อยที่…………………………………………………
…………………………………........
เรื่อง……………………………………………………….....
………เวลา…………………….คาบ
1. สาระสาคัญ
………………………………………………………………
……………………………………...
2. จุดประสงค์
2.1 จุดประสงค์ปลายทาง
35
………………………………………………………………
…………………………………….....
2.2 จุดประสงค์นาทาง
………………………………………………………………
……………………………………......
3. เนื้อหา
………………………………………………………………
…………………………………………
4. กิจกรรม
………………………………………………………………
…………………………………………
………………………………………………………………
………………………………............
5. สื่อการเรียนการสอน
………………………………………………………………
…………………………………………
36
………………………………………………………………
………………………………............
6. การวัดผลและประเมินผล
………………………………………………………………
…………………………………….......
………………………………………………………………
………………………………………….
7. กิจกรรมเสนอแนะเพิ่มเติม หรือภาคผนวก
………………………………………………………………
……………………………………........
เศวต ไชยโสภาพ (2545 : 42)
ได้ศึกษาค้นคว้าการแบ่งรูปแบบของแผนการเรียนรู้ออกเป็น 3 แบบ
ดังนี้
1. แบบบรรยาย
เป็นแบบฟอร์มที่คณะกรรมการข้าราชการครู เสนอแนะไว้
ดังตัวอย่าง
37
แผนการเรียนรู้ที่ 1
เรื่อง…………………………………………………………
……….………………เวลา……….คาบ
วิชา………………………………………………..ชั้น……
………...............ภาคเรียนที่…………
สอนวันที่………….เดือน…………………พ.ศ………….ชื่อ
ผู้สอน………………………………
1. สาระสาคัญ
………………………………………………………………
…………………………………………
2. เนื้อหา
………………………………………………………………
…………………………………………
………………………………………………………………
…………………………………………
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 จุดประสงค์ปลายทาง
38
………………………………………………………………
…………………………………………
3.2 จุดประสงค์นาทาง (กระบวนการ
………………………………………………………………
…………………………………………
………………………………………………………………
…………………………………………
4. กิจกรรมการเรียนการสอน
………………………………………………………………
…………………………………………
5. สื่อการเรียนการสอน
………………………………………………………………
…………………………………………
6. การวัดผลและประเมินผล
6.1 วิธีการวัดและประเมินผล
………………………………………………………………
…………………………………………
6.2 เกณฑ์การวัดและประเมินผล
39
………………………………………………………………
…………………………………………
6.3 เครื่องมือวัดและประเมินผล
………………………………………………………………
…………………………………………
7. กิจกรรมเสนอแนะ (ถ้ามี)
………………………………………………………………
…………………………………………
8. ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษา
หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
(ตรวจสอบ / นิเทศ / เสนอแนะ / รับรอง)
………………………………………………………………
…………………….……………………
ลงชื่อ……………………………………………….
(…………………………...……………….)
ตาแหน่ง…………………………………………...
40
วันที่………เดือน…………..พ.ศ…….
บันทึกหลังสอน
1. ผลการสอน
………………………………………………………………
…………………………………………
2. ปัญหา / อุปสรรค
………………………………………………………………
…………………………………………
3. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………
…………………………………………
ลงชื่อ………………………………………..
(………………………………………)
ตาแหน่ง…………………………………….
วันที่……….เดือน……………พ.ศ…….
2. แผนการเรียนรู้แบบตาราง ตัวอย่าง เช่น
แผนการเรียนรู้ที่……
41
เรื่อง………………………………………………………….
....…..……………..เวลา…………..คาบ
วิชา……………………………………………..ชั้น………
….......…………….ภาคเรียนที่………….
สอนวันที่…………..เดือน………………………….พ.ศ……
……ชื่อผู้สอน……….......………….
ตาราง 6 แผนการเรียนรู้แบบตาราง
สาระสาคั
ญ
จุดประสงค์
ปลายทาง/นา
ทาง
เนื้อห
า
กิจกรรมการเ
รียน
สื่อ /
อุปกร
ณ์
การวัด
ผล
กิจกรรมเสนอแนะ……………………………………………
…………………………………
42
………………………………………………………………
………………………………...…….…
………………………………………………………………
………………………………...……….
………………………………………………………………
………………………………...…….…
………………………………………………………………
………………………………...……….
………………………………………………………………
………………………………...…….…
3. แผนการเรียนรู้แบบกึ่งตาราง ดังตัวอย่าง
แผนการเรียนรู้ที่…..
เรื่อง……………………………………………...............…
………………เวลา……………….คาบ
วิชา……………………………………...………..ชั้น……
……..........………..ภาคเรียนที่………
43
สอนวันที่……..เดือน………......……..พ.ศ………..ชื่อผู้สอ
น………………........……………
สาระสาคัญ………………………............…………………
…………………………………………
เนื้อหา………………………………............………………
……………………………………………
จุดประสงค์ปลายทาง…………………………………………
……………………………….........
ตาราง 7 แผนการเรียนรู้แบบกึ่งตาราง
จุดประสงค์นา
ทาง
กิจกรรมการเรียนกา
รสอน
สื่อการเรียนการ
สอน
การวัดผ
ล /
ประเมิน
ผล
44
กิจกรรมเสนอแนะ……………………………………………
…………………………………….......
………………………………………………………………
………………….......………………….………
รูปแบบของแผนการสอนทั้ง 3 แบบ ได้แก่ แบบไม่ใช้ตาราง
แบบตาราง และแบบกึ่งตาราง สามารถยึดหยุ่นเรื่อง
การแบ่งช่องและเรียกชื่อ ดังนี้
1. หัวเรื่อง
2. จานวนคาบ / ชั่วโมงของแต่ละหัวข้อ
3. สาระสาคัญโดยสรุป
4. จุดประสงค์การเรียนรู้ (กระบวนการที่ใช้)
5. กิจกรรมการเรียนการสอน
6. การใช้สื่อ/อุปกรณ์การเรียนการสอน
7. การวัดผลประเมินผล
2.7 ขั้นตอนการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
ก า ร เ ขี ย น แ ผ น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ คื อ
การวางแผนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนล่วงหน้าคล้ายกับบันทึกก
า ร ส อ น ที่ ฝึ ก ท า ใ น วิ ช า ค รู
โดยมีวัตถุประสงค์ให้ครูผู้สอนได้ออกแบบและเตรียมการสอนล่วงห
น้าให้เห็นรายละเอียดของกิจกรรมการเรียนการสอนของแต่ละหัวข้
อ ย่ อ ย ข อ ง เนื้ อ ห า วิ ช า ห รื อ ส า ห รั บ ก า ร ส อ น แ ต่ ล ะค รั้ ง
ซึ่งจะต่างจากเอกสารแนวการสอนตรงที่แผนการเรียนรู้มีกิจกรรมที่
45
เป็น รูปธรรมเฉ พ าะเจาะจงว่า แบ่งย่อยตามเนื้ อห าย่อยๆ
ห รื อ จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ย่ อ ย ๆ
ได้มากกว่าลักษณะแสดงลักษณะการสอนที่จัดสรรแล้วให้ตรงกับสภ
า พ แ ว ด ล้ อ ม
ปัญหาความต้องการและปัจจัยอานวยความสะดวกของโรงเรียน ครู
นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนทั้งนี้เพื่อเป็นการจัดเตรียมการสอน
โครงการเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรตามโครงสร้างของรูปแบบแผน
การเรียนรู้ ซึ่งประกอบด้วย สาระสาคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้
เนื้ อหา กิจกรรมการเรียน การสอน สื่อการเรียน การสอน
การวัดและประเมินผลการเขียนแผนการสอนหรือแผนการเรียนรู้
ส า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า แ ห่ ง ช า ติ
ได้เสนอแนะไว้ว่า ควรให้เป็นระบบ ซึ่งเริ่มจากศึกษาหลักสูตร
เ อ ก ส า ร ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม
และตัวผู้เรียนจึงดาเนินการเขียนแผนการเรียนรู้ไปใช้ประกอบการ
สอน เมื่อเสร็จจากการนาแผนการเรียนรู้ไปใช้ประกอบการสอนแล้ว
ควรสรุปผลการใช้และนาข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการพัฒนาแผนการเรี
ยนรู้ต่อไป ตามแผนการเรียนรู้เชิงระบบ ดังนี้ (รุจิร์ ภู่สาระ. 2545 :
147)
46
ภาพที่ 1 แผนการจัดการเรียนรู้เชิงระบบ
2.8 แนวทางการตรวจสอบคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้
แผนการเรียนรู้ที่เขียนเสร็จแล้ว
ผู้เขียนควรตรวจสอบย้อนกลับไปดูอีกครั้งว่าแผนที่เขียนขึ้นนั้นยังมี
ข้อใดที่ยังบกพร่อง ควรปรับปรุง โดยมีหลักการ ดังนี้ (สุวิทย์ มูลคา
และอรทัย มูลคา. 2545 : 108-116)
1. จุดประสงค์การเรียนการสอน
จุดประสงค์ที่ดีนั้นจะต้องมีคุณสมบัติ 3 ประการ
47
ความครอบคลุม หมายถึง ความครอบคลุมมวลพฤติกรรม 3
ด้าน คือ ด้านความรู้ความเข้าใจ ทักษะ เจตคติ เพราะทั้ง 3
ด้านเป็นองค์ประกอบเพื่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเป็นจุดหมา
ยสูงสุด ข องการศึ กษ า อย่างไรก็ตามใน แผ น การเรียน รู้
หรือบันทึกการสอนหนึ่งๆ อาจไม่จาเป็นครบองค์ประกอบ 3
ด้านนี้เสมอไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเวลา เนื้อหา และวัยของผู้เรียน
ค ว า ม ชั ด เ จ น ห ม า ย ถึ ง
จุดประสงค์นั้นมีความเป็นพฤติกรรมมากพอที่จะตรวจสอบว่ามีการบ
รรลุแล้วหรือไม่ เช่น ถ้าเขียนเพื่อให้ “รู้” กับเพื่อให้ “ตอบได้” คาว่า
“รู้”เป็นความคิดรวบยอดมากกว่าพฤติกรรม ถือว่าไม่ชัดเจน
แ ต่ ค า ว่ า “ต อ บ ”
มีลักษณะเป็นพฤติกรรมมากขึ้นโดยผู้เรียนอาจจะพูดตอบ หรือ
เ ขี ย น ต อ บ ก็ ไ ด้ ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม ห ม า ย ถึ ง
จุดประสงค์นั้นไม่สูงหรือต่าเกินไป ทั้งนี้เมื่อคานึงถึงเวลา เนื้อหา
และวัยของผู้เรียน
2. เนื้อหาสาระ
เนื้อหาในแผนการเรียนรู้ หรือบันทึกการสอนที่ดีนั้น
จะต้องมีคุณสมบัติ 3 ประการคือ ความถูกต้อง ความครอบคลุม
และความชัดเจน ดังนี้
2.1 ความถูกต้อง หมายถึง เนื้อหาสาระตรงกับหลักวิชา
โดยทั้งนี้อาจยึดตามคู่มือวิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 3
2.2 ค ว า ม ค ร อ บ ค ลุ ม ห ม า ย ถึ ง
ปริมาณเนื้อหาตามหัวข้อนั้นมีมากพอที่จะก่อให้เกิดความคิดรวบยอ
ดได้หรือไม่
2.3 ความชัดเจน หมายถึง
การที่เนื้อหามีแบบแผนของการนาเสนอสาระที่ไม่สับสนเข้าใจง่าย
48
3. กิจกรรมการเรียนการสอน (เน้นผู้เรียน)
กิจกรรมการเรียนการสอนที่ดีจะต้องมีคุณสมบัติน่าสนใจความเหมา
ะสมและความริเริ่ม ดังนี้
3.1 ความน่าสนใจ หมายถึง
กิจกรรมที่นามาใช้ชวนให้น่าติดตามไม่เบื่อหน่าย
3.2 ความเหมาะสม หมายถึง
กิจกรรมที่นามาใช้จะต้องทาให้เกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ได้จริ
ง
3.3 ความคิดริเริ่ม หมายถึง การที่นาเอากิจกรรมใหม่ๆ
ที่ท้าทายมาสอดแทรกช่วยให้เกิดการเรียนรู้
4. สื่อการเรียนการสอน
สื่อการเรียนการสอนที่ดีจะต้องมีคุณสมบัติของความน่าสนใจ
ความประหยัดและการช่วยให้เกิดการเรียนรู้ได้เร็ว ดังนี้
4.1 ความน่าสนใจ หมายถึง สื่อนั้นช่วยให้น่าติดตาม
ไม่น่าเบื่อ ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ได้เร็ว หมายถึง
สื่อนั้นจะต้องใช้ได้ผลในการทาให้ผู้เรียนรู้ได้จริง
และตรงกับเนื้อหาที่ใช้เรียน
4.2 ความประหยัด หมายถึง สื่อที่ใช้นั้นราคาแพง
อยู่ในระดับสถานศึกษารับผิดชอบได้
5. การวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลที่ระบุไว้ในแผนการเรียนรู้ที่ดีควรมีคุณสมบัติ
ของความเที่ยงตรง ความเชื่อถือได้ และความสามารถประยุกต์ได้
ดังนี้
5.1 ความเที่ยงตรง หมายถึง เครื่องมือ
วิธีการที่ใช้ในการวัดผลของแต่ละแผนนั้นๆต้องสอดคล้องและตรงต
ามจุดประสงค์ที่ระบุไว้ในแผนการเรียนรู้นั้นๆ
และรวมทั้งตรงตามเนื้อหาที่ใช้ประกอบการสอน
49
5.2 ความเชื่อถือได้ หมายถึง เครื่องมือ
วิธีการที่ใช้ในการวัดผลของแต่ละแผนนั้นๆ ต้องสอดคล้อง
และตรงตามจุดประสงค์ที่ระบุไว้ในแผนการเรียนรู้นั้นๆ
และรวมทั้งตรงตามเนื้อหาที่ใช้ประกอบการสอน
5.3 ความสามารถประยุกต์ได้ หมายถึง
การที่ประเมินที่ระบุไว้สามารถประเมินได้จริงมิใช่แต่ระบุไว้เฉย ๆ
6. ค ว า ม ส อ ด ค ล้ อ ง ข อ ง อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ต่ า ง ๆ
ของแผ น การเรียน รู้ความสอด คล้องข องแผ น การเรียน รู้
ให้พิจารณาความสอดคล้องของเรื่องจุดประสงค์การเรียนการสอน
เนื้อหาสาระกิจกรรมการเรียนการสอน สื่อการเรียนการสอน
ป ร ะ เ มิ น ผ ล ต ล อ ด ทั้ ง แ ผ น นั้ น ๆ
แ น ว ท า ง ก า ร ป ร ะ เมิ น แ ผ น ก า ร เรี ย น รู้ ด้ ว ย ต น เอ ง
หลังจากครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ได้เขียนแผนการเรียนรู้เสร็จเรียบร้อ
ย แ ล้ ว ค ว ร มี ก า ร ต ร ว จ ส อ บ แ ผ น ก า ร เ รี ย น รู้
แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น แ ผ น ก า ร เ รี ย น รู้ ด้ ว ย ต น เ อ ง
เพื่อเป็นแนวทางให้ครูผู้เขียนแผนการเรียนรู้นาผลการประเมินไปป
รั บ ป รุ ง
แผนการเรียนรู้ตามแนวทางการตรวจสอบคุณภาพของแผนการเรีย
น รู้ เ พื่ อ ใ ห้ ไ ด้ แ ผ น ก า ร เ รี ย น รู้ มี คุ ณ ภ า พ
อันส่งผลถึงประสิทธิภาพการสอนจากการใช้แผนการเรียนรู้นั้น ๆ
(สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2546 : 98-
101)
3. การพัฒนาบทเรียนออนไลน์
การเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหรือการเรีย
นการสอนผ่านเว็บถือว่าเป็นการจัดการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ที่
50
มีการประยุกต์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นระบบที่มีศักยภาพ
ในด้านการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ใช้งานเข้ามาประกอบในรูปแบบ
การเรียนการสอนที่กระทาผ่านสื่อบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนี้ทาได้โ
ดยผู้สอนจะนาเสนอข้อมูลความรู้ให้ผู้เรียนได้ทาการศึกษาผ่านเว็บ
( Web) ห รื อ เ วิ ล ด์ ไ ว ด์ เ ว็ บ ( Word Wide Web : WWW)
ทาให้เกิดรูปแบบการเรียนการสอนที่ใช้เว็บเป็นพื้นฐานหรือเป็นเครื่
องมือที่สาคัญในการเรียนรู้ทาให้มีคาเรียกที่แตกต่างกันไปเช่นการ
เรี ย น อ ย่ างมี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ ด้ วย เว็ บ (Web-based Interactive
Learning Environment) ก า ร ศึ ก ษ า ผ่ า น เ ว็ บ ( Web-
basedEducation) การนาเสนอมัลติมีเดียผ่านเว็บ (Web-based
Multimedia presentation)หรือการศึกษาที่ช่วยให้มีปฏิสัมพันธ์
(Interactive Education Aid) เป็นต้น 3.1
ความหมายของการเรียนแบบออนไลน์
การเรียนแบบออนไลน์มีผู้ให้ความหมายและคาจากัดความไว้หลาย
ท่านดังที่ได้กล่าวไว้ดังต่อไปนี้
ศุภชัย สุขะนินทร์ กล่าวว่า Online
Learning ห รื อ Web-based Learning ห รื อ Web-based
Instuctionมีความหมายเหมือนกันคือเป็นการเรียนทางไกลผ่านเว็บ
ร ะ บ บ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ( Internet) อิ น ท ร า เ น็ ต
(Intranet)และเอ็กช์ทราเน็ตเป็นการเรียนที่สามารถได้ตอบโต้กันได้
เหมือนการเรียนในห้องเรียนปกติสามารถนาเสนอโดยใช้เทคโนโล
ยีที่เป็นลักษณะมัลติมีเดียหรือลักษณะของการแสดงข้อมูลเป็นรูปภา
พกราฟิกเสียงและภาพเคลื่อนไหวได้
51
ศิ ว ก ร แ ก้ ว รั ต น์
กล่าวว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการใช้โปรแกรมสื่อหลายมิติ
ที่อาศัยประโยชน์จากคุณลักษณะและทรัพยากรของอินเทอร์เน็ตแล
ะเครื่องมือต่างๆของเวิลด์ไวด์เว็บมาออกแบบเป็นเว็บเพื่อการเรียนก
ารสอนสนับสนุนการเรียนการสอนแบบการสร้างโครงสร้างความรู้
(Constructivvism)และการเรียนแบบร่วมมือ
รุ จ โ ร จ น์ แ ก้ ว อุ ไ ร
ได้ให้คาจากัดความของการเรียนการสอนผ่านเว็บไว้ว่าการเรียนก
ารสอนที่ใช้เวิลด์ไวด์เว็บเป็นสื่อหรือตัวกลางในการเรียนการสอนร่
วมกันระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนในลักษณะของบทเรียนที่ประกอบด้ว
ยเนื้อหารูปภาพประกอบเสียงและภาพเคลื่อนไหวผู้สอนและผู้เรียนส
ม า ร ถ ใ ช้ เ ว็ บ เ พ จ
(Webpage)ในการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นสืบค้นตอบปัญ
หาทาแบบฝึกหัด ศ ร า วุ ธ เ รื อ ง ส วั ส ดิ์
ไ ด้ ใ ห้ ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง WBT
ว่าเป็นการสอนผ่านเว็บไชด์โดยใช้คุณลักษณะสาคัญที่มีอยู่ของเวิล
ด์ ไ ว ด์ เ ว็ บ
ในการสร้างรูปแบบหรือสถานการณืจาลองสิ่งแวดล้อมเสมือนของห้
องเรียนเพื่อที่จะช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการการเรียนรู้
ภ า ว น า เ ห็ น แ ก้ ว
กล่าวว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บหมายถึงเว็บเพื่อการเรียนการสอ
นโดยการนาเสนอผ่านทางเวิลด์ไวด์เว็บท่สามารถนาเสนอข้อมูลได้
หลายรูปแบบมีการเสนอระบบการจัดแบ่งประเภทของเว็บเพื่อการเรี
ยนการสอนเป็นหลายลักษณะเช่นการสอนวิชาใดวิชาหนึ่ง
สรุปแล้วบทเรียนออนไลน์คือการจัดกระบวนการเรียนรู้ผ่านเครือข่า
52
ยคอมพิวเตอร์ไม่ว่าจะเป็นอินเทอร์เน็ต (Internet) หรืออินทราเน็ต
( Intranet)
ผู้เรียนและผู้สอนสามารถมีปฏิสัมพันธ์กันได้โดยอาศัยประโยชน์จา
กคุณลักษณะและทรัพยากรของอินเทอร์เน็ตและเครื่องมือต่างๆของ
เวิลด์ไวด์เว็บมาออกแบบเป็นเว็บเพื่อการเรียนการสอน
3.2
องค์ประกอบของการเรียนแบบออนไลน์
ถ น อ ม พ ร เ ล า ห จ รั ส แ ส ง
ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น แ บ บ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ห รื อ E-
Learning มีองค์ประกอบที่สาคัญ 4 ส่วน โดยแต่ละส่วนจะต้องได้รั
บการออกแบบมาเป็นอย่างดีเพราะเมื่อนามาประกอบเข้าด้วยกันแล้
วระบบทั้งหมดจะต้องทางานประสานกันได้อย่างลงตัว ดังต่อไปนี้
3.2.1 เนื้อหาของบทเรียน (Content)
เนื้อหาถือว่าเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดของการเรียนการศึกษาไม่ว่า
ระบบใดก็ตามแม้แต่ E-Learning ก็เช่นกัน แต่เนื่องจาก E-
Learning นั้นถือว่าเป็นการเรียนรู้แบบใหม่สาหรับวงการการศึกษา
ในประเทศไทย ดังนั้นเนื้อหาของการเรียนแบบนี้ที่พัฒนาเสร็จเรีย
บร้อยแล้วจึงมีอยู่น้อยมาก ไม่เพียงพอกับความต้องการที่จะใช้ในก
ารเรียนการสอน การฝึกอบรม เพิ่มพูนความรู้และการพัฒนาศักยภ
าพ ทั้ งข อ ง บุ ค ค ล โ ด ย ส่ ว น ตั ว แ ล ะข อ ง ห น่ ว ย ง า น ต่ า ง ๆ
อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ส ถ า บั น ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง ไ ด้ มี
ความพยายามแก้ไขปัญหานี้อย่างต่อเนื่อง สานักงานพัฒนาวิทยาศ
53
าสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ได้มีการประสานและสร้างเ
ครือข่ายความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยชั้นนาของประเทศ เช่น มหา
วิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เพื่อพัฒนาบทเรียนออนไลน์วิชาภาษา
อังกฤษสาหรับเจ้าหน้าที่สานักงาน นอกจากนั้นยังมีการร่วมมือกับม
หาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีรวมทั้งสถาบันการศึกษา
วิทยาลัยโรงเรียนหน่วยราชการและผู้สนใจทั่วไปที่มีความสนใจจะ
นาเนื้อหาความรู้ที่มีอยู่ มาพัฒนาเป็นบทเรียนออนไลน์ ทั้งนี้ เจ้าข
อ ง เ นื้ อ ห า วิ ช า (Content
Provider) ที่เป็นแหล่งความรู้ทั้งหลายนั้น แต่ละท่านจะเป็นผู้มีควา
มเด่นในเนื้อหาด้านต่างๆทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ ตลอดจนควา
มรู้ที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นด้วย
3.2.2 ร ะ บ บ บ ริ ห า ร ก า ร เรี ย น (E-Learning
Management System: LMS) E-
Learning เป็นการเรียนที่สนับสนุนให้ผู้เรียนได้ศึกษาเรียนรู้ได้ด้ว
ยตัวเอง ดังนั้นระบบบริหารการเรียนจึงทาหน้าที่เป็นศูนย์กลางที่
กาหนดลาดับของเนื้อหาในบทเรียน นาส่งบทเรียนผ่านเครือข่ายค
อมพิวเตอร์ไปยังผู้เรียน รวมทั้งประเมินผลความสาเร็จของบทเรียน
ควบคุมและสนับสนุนการให้บริการทั้งหมดแก่ผู้เรียน LMS จึงถือว่
า เ ป็ น อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ข อ ง E-
Learning ที่สาคัญมาก เพราะจะทาหน้าที่ตั้งแต่ผู้เรียนเริ่มเข้ามาเรี
ยนโดยจัดเตรียมหลักสูตรและบทเรียนทั้งหมดเอาไว้ให้พร้อมที่จะใ
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2

More Related Content

What's hot

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Ninna Natsu
 
แบบเสนอร่างโครงงาน
แบบเสนอร่างโครงงานแบบเสนอร่างโครงงาน
แบบเสนอร่างโครงงานSittaphon Phommahala
 
แบบโครงร่างโครงงาน
แบบโครงร่างโครงงานแบบโครงร่างโครงงาน
แบบโครงร่างโครงงานSirisuda Sirisinha
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์Chuthamani Phromduangdi
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรอภิวัฒน์ ปานกลาง
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์piyaphon502
 

What's hot (12)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอร่างโครงงาน
แบบเสนอร่างโครงงานแบบเสนอร่างโครงงาน
แบบเสนอร่างโครงงาน
 
แบบโครงร่างโครงงาน
แบบโครงร่างโครงงานแบบโครงร่างโครงงาน
แบบโครงร่างโครงงาน
 
She's mammai
She's mammaiShe's mammai
She's mammai
 
นคร อรอนงค์
นคร  อรอนงค์นคร  อรอนงค์
นคร อรอนงค์
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
งาน I pad
งาน I padงาน I pad
งาน I pad
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
งาน I pad
งาน I padงาน I pad
งาน I pad
 
Commmm mm 3
Commmm mm 3Commmm mm 3
Commmm mm 3
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 

Viewers also liked

คู่มือการใช้งาน Word 2007
คู่มือการใช้งาน Word 2007คู่มือการใช้งาน Word 2007
คู่มือการใช้งาน Word 2007chanoncm2555
 
หน่วยที่ 1 รู้จักกับโปรแกรม microsoft office power point 2007
หน่วยที่ 1 รู้จักกับโปรแกรม microsoft  office power point 2007หน่วยที่ 1 รู้จักกับโปรแกรม microsoft  office power point 2007
หน่วยที่ 1 รู้จักกับโปรแกรม microsoft office power point 2007Nu_waew
 
คู่มือการใช้โปรแกรม Power point 2007
คู่มือการใช้โปรแกรม Power point 2007คู่มือการใช้โปรแกรม Power point 2007
คู่มือการใช้โปรแกรม Power point 2007KruJeabja
 
การใช้งาน Microsoft office word 2007
การใช้งาน Microsoft office word 2007การใช้งาน Microsoft office word 2007
การใช้งาน Microsoft office word 2007sirirat khamthanet
 
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft WordSupreeyar philarit
 

Viewers also liked (6)

คู่มือการใช้งาน Word 2007
คู่มือการใช้งาน Word 2007คู่มือการใช้งาน Word 2007
คู่มือการใช้งาน Word 2007
 
หน่วยที่ 1 รู้จักกับโปรแกรม microsoft office power point 2007
หน่วยที่ 1 รู้จักกับโปรแกรม microsoft  office power point 2007หน่วยที่ 1 รู้จักกับโปรแกรม microsoft  office power point 2007
หน่วยที่ 1 รู้จักกับโปรแกรม microsoft office power point 2007
 
คู่มือการใช้โปรแกรม Power point 2007
คู่มือการใช้โปรแกรม Power point 2007คู่มือการใช้โปรแกรม Power point 2007
คู่มือการใช้โปรแกรม Power point 2007
 
การใช้งาน Microsoft office word 2007
การใช้งาน Microsoft office word 2007การใช้งาน Microsoft office word 2007
การใช้งาน Microsoft office word 2007
 
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPointแบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
 
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
 

Similar to บทที่ 2

กำไรทิพย์
กำไรทิพย์กำไรทิพย์
กำไรทิพย์Kumrithit Tana
 
กำไรทิพย์
กำไรทิพย์กำไรทิพย์
กำไรทิพย์Kumrithit Tana
 
เทคโนโลยี 3 g 5 1
เทคโนโลยี 3 g 5 1เทคโนโลยี 3 g 5 1
เทคโนโลยี 3 g 5 1Saranya Butte
 
โครงงานอินเตอร์เน็ต
โครงงานอินเตอร์เน็ตโครงงานอินเตอร์เน็ต
โครงงานอินเตอร์เน็ตPloyko Stawbery
 
เเบบเสนอโครงร่างเรื่องจอ Lcd ม.5.3
เเบบเสนอโครงร่างเรื่องจอ Lcd  ม.5.3เเบบเสนอโครงร่างเรื่องจอ Lcd  ม.5.3
เเบบเสนอโครงร่างเรื่องจอ Lcd ม.5.3commyzaza
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรAumpika Jariya
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8Meaw Sukee
 
งานคอม Wordpress
งานคอม Wordpressงานคอม Wordpress
งานคอม WordpressAdsurdity Master
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์New Tomza
 

Similar to บทที่ 2 (20)

งาน I phone
งาน I phoneงาน I phone
งาน I phone
 
กำไรทิพย์
กำไรทิพย์กำไรทิพย์
กำไรทิพย์
 
กำไรทิพย์
กำไรทิพย์กำไรทิพย์
กำไรทิพย์
 
5++++++555
5++++++5555++++++555
5++++++555
 
งาน I pad
งาน I padงาน I pad
งาน I pad
 
งาน I pad
งาน I padงาน I pad
งาน I pad
 
งาน I pad
งาน I padงาน I pad
งาน I pad
 
งาน I pad
งาน I padงาน I pad
งาน I pad
 
เทคโนโลยี 3 g 5 1
เทคโนโลยี 3 g 5 1เทคโนโลยี 3 g 5 1
เทคโนโลยี 3 g 5 1
 
โครงงานอินเตอร์เน็ต
โครงงานอินเตอร์เน็ตโครงงานอินเตอร์เน็ต
โครงงานอินเตอร์เน็ต
 
ส่วนนำ ทวีชัย
ส่วนนำ  ทวีชัยส่วนนำ  ทวีชัย
ส่วนนำ ทวีชัย
 
เเบบเสนอโครงร่างเรื่องจอ Lcd ม.5.3
เเบบเสนอโครงร่างเรื่องจอ Lcd  ม.5.3เเบบเสนอโครงร่างเรื่องจอ Lcd  ม.5.3
เเบบเสนอโครงร่างเรื่องจอ Lcd ม.5.3
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
งานคอม Wordpress
งานคอม Wordpressงานคอม Wordpress
งานคอม Wordpress
 
She's mammai
She's mammaiShe's mammai
She's mammai
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Power point2010
Power point2010Power point2010
Power point2010
 
กิตติพงษ์
กิตติพงษ์กิตติพงษ์
กิตติพงษ์
 

More from Nu_waew

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1Nu_waew
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4Nu_waew
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3Nu_waew
 
ประว ต
ประว ต ประว ต
ประว ต Nu_waew
 
หน่วยที่ 4 การเเทรกมัลติมีเดียและการเชื่อมโยงหลายมิติ
หน่วยที่  4 การเเทรกมัลติมีเดียและการเชื่อมโยงหลายมิติหน่วยที่  4 การเเทรกมัลติมีเดียและการเชื่อมโยงหลายมิติ
หน่วยที่ 4 การเเทรกมัลติมีเดียและการเชื่อมโยงหลายมิติNu_waew
 
หน่วยที่ 3 การตกเเต่งงานนำเสนอด้วยภาพ
หน่วยที่ 3 การตกเเต่งงานนำเสนอด้วยภาพหน่วยที่ 3 การตกเเต่งงานนำเสนอด้วยภาพ
หน่วยที่ 3 การตกเเต่งงานนำเสนอด้วยภาพNu_waew
 
หน่วยที่ 2 เริ่มต้นสร้างงานนำเสนอ
หน่วยที่ 2 เริ่มต้นสร้างงานนำเสนอหน่วยที่ 2 เริ่มต้นสร้างงานนำเสนอ
หน่วยที่ 2 เริ่มต้นสร้างงานนำเสนอNu_waew
 
แสตก
แสตกแสตก
แสตกNu_waew
 

More from Nu_waew (8)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ประว ต
ประว ต ประว ต
ประว ต
 
หน่วยที่ 4 การเเทรกมัลติมีเดียและการเชื่อมโยงหลายมิติ
หน่วยที่  4 การเเทรกมัลติมีเดียและการเชื่อมโยงหลายมิติหน่วยที่  4 การเเทรกมัลติมีเดียและการเชื่อมโยงหลายมิติ
หน่วยที่ 4 การเเทรกมัลติมีเดียและการเชื่อมโยงหลายมิติ
 
หน่วยที่ 3 การตกเเต่งงานนำเสนอด้วยภาพ
หน่วยที่ 3 การตกเเต่งงานนำเสนอด้วยภาพหน่วยที่ 3 การตกเเต่งงานนำเสนอด้วยภาพ
หน่วยที่ 3 การตกเเต่งงานนำเสนอด้วยภาพ
 
หน่วยที่ 2 เริ่มต้นสร้างงานนำเสนอ
หน่วยที่ 2 เริ่มต้นสร้างงานนำเสนอหน่วยที่ 2 เริ่มต้นสร้างงานนำเสนอ
หน่วยที่ 2 เริ่มต้นสร้างงานนำเสนอ
 
แสตก
แสตกแสตก
แสตก
 

บทที่ 2